แก้ลำ | ก. ใช้ชั้นเชิงตอบโต้ให้เท่าเทียมกันหรือหนักมือขึ้น. |
เทียมบ่าเทียมไหล่ | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่ญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. |
เทียมหน้าเทียมตา | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมหน้าเทียมตาญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. |
นิติธรรม | น. หลักพื้นฐานแห่งกฎหมายที่บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน (อ. rule of law). |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
โปรเตสแตนต์ | (โปฺร-) น. ชื่อนิกายหนึ่งในคริสต์ศาสนา ไม่ยกย่องบูชาแม่พระและนักบุญ ถือว่าศาสนิกชนทุกคนเป็นพระและเป็นตัวแทนของพระเยซูเท่าเทียมกัน ไม่นิยมประดิษฐานรูปเคารพใด ๆ ไม่มีรูปพระเยซูถูกตรึงไม้กางเขน มีเฉพาะไม้กางเขนเท่านั้นเป็นสัญลักษณ์. |
สมมูล | (สะมะมูน, สมมูน) ว. มีค่าเท่าเทียมกัน, เสมอเหมือนกัน, เปลี่ยนแทนกันได้. |
เสมอบ่าเสมอไหล่ | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเสมอบ่าเสมอไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เทียมหน้าเทียมตา ก็ว่า. |
เสมอภาค | ว. มีส่วนเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น ในปัจจุบันบุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกัน. |
เสมอหน้า | ว. ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน, ทัดเทียม, ไม่โอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, เช่น รักลูกเสมอหน้ากัน. |
เหลื่อมล้ำต่ำสูง | ว. ไม่เท่าเทียมกัน เช่น มีฐานะทางสังคมเหลื่อมล้ำต่ำสูงกว่ากัน. |
Income inequality | ความไม่เท่าเทียมกันทางรายได้ [เศรษฐศาสตร์] |
Equal opportunity | โอกาสเท่าเทียมกัน [เศรษฐศาสตร์] |
Action research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] |
Field research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] |
ASEAN Foundation | มูลนิธิอาเซียน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกของความเป็นอาเซียนในหมู่ประชาชน และเพื่อให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกอาเซียนอย่างเท่าเทียมกัน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงจาการ์ตา [การทูต] |
ASEAN Vision 2020 | วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต] |
equality of treatment | การประติบัติเท่าเทียมกัน [การทูต] |
equitable geographical distribution | การกระจายตัวอย่างเท่าเทียมกันตามเขตภูมิศาสตร์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในกรอบสหประชาชาติ หมายถึง การมีส่วนร่วมและการเป็นตัวแทนของประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ใน ภูมิภาคต่าง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน [การทูต] |
equivalence | ความเท่าเทียมกัน [การทูต] |
United Nations International Research and Training Institute for the Advancement of Women | สถาบันวิจัยและฝึกอบรมระหว่างประเทศเพื่อความก้าวหน้าของสตรีแห่งสหประชา ชาติ เป็นสถาบันที่ได้รับการสนับสนุนจากเงินบริจาคโดยสมัครใจจากประเทศสมาชิก มีเป้าหมายที่จะเร่งรัดและช่วยเหลือให้สตรีสามารถมีบทบาทอย่างแข็งขันและ อย่างเท่าเทียมกันในกระบวนการพัฒนา [การทูต] |
Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] |
Open and Caring Societies | สังคมเปิดและเอื้ออาทร เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 ที่ได้เล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวมในปีดังกล่าวจะมีสังคมเปิดที่ประชาชน ยึดมั่นในเอกสักษณ์แห่งชาติของตนและเข้าถึงโอกาสของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ อย่างสมบูรณ์ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะเป็นสังคมเอื้ออาทรที่ความหิวโหยทุกข์โภชนาการ การสูญเสียและความยากจนจะไม่ใช่ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสังคมที่มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Depressive Equivalence | ความเท่าเทียมกันของอาการซึมเศร้า [การแพทย์] |
Focal | เป็นหย่อมๆ, ไม่เท่าเทียมกัน, เป็นจุด, เฉพาะที่ [การแพทย์] |
across the board | (idm) ให้ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน |
coequality | (n) ความเท่าเทียมกัน, See also: ความเสมอภาค, Syn. coordination |
equalitarian | (adj) เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่าตามหลักการแล้วทุกๆ คนเท่าเทียมกัน, See also: เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่าทุกๆ คนเสมอภาคกัน, Syn. egalitarian |
equalitarian | (n) ผู้ที่เชื่อว่าทุกๆ คนเท่าเทียมกัน, See also: ผู้ที่เชื่อว่าทุกๆ คนเสมอภาคกัน, Syn. egalitarian, leveler |
equalize | (vt) ทำให้เท่ากัน, See also: ทำให้เท่าเทียมกัน, Syn. equate |
equally | (adv) อย่างเท่าเทียมกัน, See also: อย่างเท่ากัน, อย่างเสมอกัน, อย่างทัดเทียมกัน, อย่างทัดเทียม, อย่างเท่าๆ กัน, Syn. evenly, identically, uniformly |
equate | (vt) แสดงให้เห็นว่าเท่ากัน, See also: กระทำโดยเท่าเทียมกัน, Syn. equalize |
equation | (n) ความเท่าเทียมกัน, See also: ความสมดุล, Syn. balance, equality, equivalence |
even up | (phrv) ทำให้เสมอกัน, See also: ทำให้เท่าเทียมกัน, Syn. balance, equalize |
split something fifty-fifty | (idm) ครึ่งต่อครึ่ง, See also: เท่าเทียมกัน, ยุติธรรม |
isodynamic | (adj) เกี่ยวกับความเท่าเทียมกันทางกำลังอำนาจ |
level out | (phrv) ทำให้เท่าเทียมกัน |
like | (adj) เท่ากัน, See also: เท่าเทียมกัน, เสมอกัน, Syn. equal, equivalent, same, Ant. unlike, unequal |
match | (n) คู่ที่เหมือนกัน, See also: คนที่เท่าเทียมกัน, ผู้ที่คล้ายกัน, Syn. counterpart, mate |
match | (vt) เท่ากันกับ, See also: เท่าเทียมกันกับ, Syn. equal |
matchable | (adj) ซึ่งเข้ากัน, See also: ซึ่งเท่าเทียมกัน |
nonequivalence | (n) ความไม่เท่าเทียมกัน, See also: ความไม่เสมอภาค |
parity | (n) ความเท่าเทียมกัน, See also: ความเสมอภาค, Syn. equivalence, equality, eventness |
peer | (n) ผู้เท่าเทียมกัน (ด้านความสามารถ คุณสมบัติ อายุ สถานภาพ), Syn. associate, colleague, comrade |
quits | (adj) เท่าเทียมกัน, See also: ไม่แพ้ชนะกัน, เสมอกัน |
roundtable | (n) การนั่งประชุมโต๊ะกลม (ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันหมด) |
unequal | (adj) ซึ่งไม่เท่ากัน, See also: เหลื่อมล้ำ, ซึ่งไม่เท่าเทียมกัน, ซึ่งไม่สมดุล, Syn. unequalized, unbalanced, nonequivalent, Ant. fair, balanced, equivalent |
counterbalance | (เคา'เทอะแบลเลินซฺ) n. น้ำหนักถ่วง, เครื่องถ่วง, ความเท่าเทียมกัน, ดุลยภาพ vt., vi. ถ่วงให้เท่ากัน, Syn. counterpoise |
counterpoise | (เคา'เทอะพอยซฺ) n. น้ำหนักสำหรับถ่วง, เครื่องถ่วง, อำนาจหรือแรงถ่วงที่เท่าเทียมกัน, ดุลยภาพ, ภาวะทรงตัว, คาน, เครื่องคาน, สติ. vt. ถ่วงด้วยน้ำหนัก, ถ่วงให้สมดุล, ทำให้ทรงตัว, พิจารณาอย่างละเอียด, Syn. compensate, offset, equalize |
equal | (อี'ควอล) adj. เท่ากัน, เสมอกัน, ราบ, เรียบ n. ผู้ที่เท่าเทียมกัน, สิ่งที่เท่าเทียมกัน vt. เท่ากัน, เสมอกับ, พอกับ, ได้เท่ากัน, ขึ้นทัน, พอ. vt. ทำให้เท่ากับ, ทำให้เสมอภาค, จัดแบ่งให้เท่ากัน, Syn. even, equable |
equation | (อีเคว'เชิน) n. สมการ, การทำให้เท่ากัน, ความเท่าเทียมกัน, ความสมดุล, Syn. equality |
pari passu | (พา'ร'พาส'ซู) L. เจริญหรือก้าวหน้าเท่ากัน, ไปด้วยกัน, เท่าเทียมกัน, ไม่ลำเอียง, ในขณะเดียวกัน |
peer-to-peer | เพียทูเพียหมายถึง วิธีการจัดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายทุกเครื่องเหมือนกันหรือเท่าเทียมกัน หมายความว่า แต่ละเครื่องต่างมีโปรแกรมหรือมีแฟ้มข้อมูลเก็บไว้เอง การจัดแบบนี้ทำให้สามารถใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ แทนที่จะต้องใช้จากเครื่องบริการแฟ้ม (file server) เท่านั้น วิธีการจัดอีกลักษณะหนึ่ง ที่เรียกว่า client-server นั้น คือการกำหนดให้คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเครื่องบริการแฟ้ม หรือเป็นที่เก็บโปรแกรมและแฟ้มทั้งหมด คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากกันไม่ได้ ต้องเรียกจากเครื่องบริการแฟ้มเท่านั้น ดู file server ประกอบ |
quits | (ควิทซ) adj. เท่าเทียมกัน, ไม่แพ้ชนะกัน, เสมอกัน, ชดเชยหมดกัน, ชดเชยหายกัน -Id. (call it quits หยุดชั่วคราว, หยุดทำ) |
round table | (เรานดฺ'เท'เบิล) adj. เกี่ยวกับการประชุมที่ผู้เข้าร่วมประชุมมีสิทธิเท่าเทียมกัน |
counterbalance | (n) เครื่องถ่วง, น้ำหนักถ่วง, ความเท่าเทียมกัน, ความถ่วงดุล, ดุลยภาพ |
equal | (n) สิ่งที่เท่ากัน, ผู้ที่เท่าเทียมกัน |
equality | (n) ความเท่าเทียมกัน, ความสมมาตร, ความเสมอภาค |
equalization | (n) การทำให้เท่ากัน, การทำให้เท่าเทียมกัน, การทำให้เสมอกัน |
equally | (adv) โดยเท่ากัน, โดยเสมอภาคกัน, โดยเท่าเทียมกัน |
equate | (vt) ทำให้เท่าเทียมกัน, แบ่งให้เท่ากัน |
equation | (n) สมการ, ความสมดุล, ความเท่าเทียมกัน |
parallel | (adj) ขนาน, เสมอ, เท่าเทียมกัน |
parity | (n) ความเท่าเทียมกัน, ความคล้ายคลึงกัน, ความเสมอกัน, ดุลยภาพ |
peer | (n) ขุนนาง, ผู้เท่าเทียมกัน, ผู้เสมอกัน |