เชิงกลอน | น. ตัวไม้หน้าสี่เหลี่ยมแบนยาวติดกับปลายเต้ายาวไปตลอดชายคาเรือนทรงไทย. |
เชิงกล | ว. เกี่ยวกับเครื่องกล. |
กระเปาะ ๒ | น. ลักษณะที่ยื่นออกมาจากฝาผนังกำแพง ฐาน หรือเชิงกลอน เช่น ยกเก็จเป็นรูปเหมือนกระเปาะ. |
กลอุปกรณ์ | (กนอุปะกอน, กนอุบปะกอน) น. อุปกรณ์เชิงกลที่ออกแบบหรือผลิตขึ้นเพื่อใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง. |
เก็จ ๒ | น. ส่วนที่ยื่นออกมาจากหรือลึกเข้าไปในฝาผนัง กำแพง ฐาน หรือเชิงกลอน. |
ขื่อหมู่ | น. ขื่อไม่น้อยกว่า ๒ ตัว เจาะฝังเข้าไปในเสาร่วมในซึ่งเป็นมุมแล้วทอดไปหาเสาหรือผนังของระเบียงคล้ายเต้าที่รับเชิงกลอน. |
เชิง ๑ | น. ตีนซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่งบางอย่าง เช่น เชิงสะพาน เชิงเขา เชิงกำแพง, ชายหรือปลายของบางสิ่งบางอย่างที่ยื่นออกมา เช่น เชิงตะพาบนํ้า เชิงปลากราย เชิงเลน เชิงกลอน, ริมหรือชายด้านล่างของผ้าที่มีลวดลายเช่น เชิงผ้า เชิงผ้าซิ่น. |
ตีนผี | น. ไม้ซึ่งอยู่ใต้หางหงส์ สอดอยู่ในช่องว่างระหว่างแปหัวเสากับเชิงกลอน. |
เต้า ๑ | น. เครื่องบนของเรือนลักษณะเป็นไม้ท่อนสี่เหลี่ยมแบน สอดโคนไว้ที่ช่องต่ำกว่าปลายเสาเรือน ตอนปลายใช้รับเชิงกลอน, ถ้าอยู่ตามเสารายข้างเรือน เรียกว่า เต้าราย, ถ้าอยู่ที่เสามุมเรือน มีเต้ายื่นออกไปอย่างน้อย ๒ ตัว เรียกว่า เต้ารุม. |
มณฑป | (มนดบ) น. เรือนเครื่องยอดขนาดใหญ่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส หลังคาเป็นทรงจอมแห ประกอบด้วยชั้นเชิงกลอนหลายชั้นเป็นต้น, ใช้ว่า มรฑป ก็มี. (ป., ส.) |
ยกเก็จ | ก. ทำเก็จให้ยื่นออกมาจากฝาผนัง กำแพง ฐาน หรือเชิงกลอน, คู่กับ ย่อเก็จ. |
ย่อเก็จ | ก. ทำเก็จให้ลึกเข้าไปในฝาผนัง กำแพง ฐาน หรือเชิงกลอน, คู่กับ ยกเก็จ. |
สะพานหนู | น. ไม้กระดานเล็กตรึงทับบนไม้เชิงกลอน, ตะพานหนู ก็ว่า. |
Mechanical vibration | การสั่นสะเทือนเชิงกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mechanical movements | การเคลื่อนไหวเชิงกล [TU Subject Heading] |
Mechanical properties | คุณสมบัติเชิงกล [TU Subject Heading] |
Mechatronics | อิเล็กทรอนิกส์เชิงกล [TU Subject Heading] |
Strategic planning | การวางแผนเชิงกลยุทธ์ [TU Subject Heading] |
Mechanically Sorting of Waste Materials | การคัดแยกขยะด้วยอุปกรณ์เชิงกล, Example: การคัดแยกขยะ โดยใช้อุปกรณ์ เช่น แยกขยะด้วยแม่เหล็ก เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
Mechanically Volume Reduction | การลดปริมาตรด้วยอุปกรณ์เชิงกล, Example: การลดปริมาณขยะด้วยอุปกรณ์เชิงกล เพื่อทำให้ปริมาตรของขยะลดลง เช่น ใช้เครื่องบีบอัด [สิ่งแวดล้อม] |
Acrylic rubber or Polyacrylate rubber (ACM) | ยาง ACM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างมอนอเมอร์ของอะ ไครเลต (acrylic ester) และมอนอเมอร์ที่ว่องไวต่อปฏิกิริยาคงรูป (cure site monomer) มีหลายเกรดขึ้นกับชนิดของอะไครเลตที่ใช้ในการสังเคราะห์ สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้สูงเพียงพอสำหรับการใช้งานส่วนใหญ่โดยเฉพาะเมื่อ เติมสารเสริมแรง เช่น เขม่าดำ ซิลิกา ยางชนิดนี้ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากออกซิเจน โอโซน และความร้อนได้เป็นอย่างดี ทนต่อน้ำมันส่วนใหญ่ได้ดี แต่ไม่ทนต่อน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่ทนต่อน้ำและสารเคมีต่างๆ ยางชนิดนี้นำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทั้งความทนทานต่อความร้อนและ น้ำมัน โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น ยางโอริง ปะเก็นท่อน้ำมัน วาวล์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Chlorosulfonated polyethlene rubber | ยาง CSM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิลีนและ ของผสมของก๊าซคลอรีน (Cl2) กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีหลายเกรดขึ้นกับปริมาณคลอรีนในโมเลกุล สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้ค่อนข้างดี ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซนและสภาพอากาศได้อย่างดีเยี่ยม ทนต่อการเปลี่ยนสี (discoloration) อันเนื่องมาจากแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ได้ดีอีกด้วย แต่สามารถทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี ทนต่อกรดและสารเคมีต่างๆ ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ดีเยี่ยม และยังทนต่อน้ำร้อนได้ดี แต่มีข้อจำกัดคือ มีค่า compression set ที่ต่ำ และการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำขึ้นกับปริมาณของคลอรีน ถ้าปริมาณของคลอรีนสูงสมบัติการหักงอของยางที่อุณหภูมิต่ำจะด้อยลง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางชนิดนี้ ได้แก่ ปลอกหุ้มสายเคเบิล ท่อยาง ยางหุ้มลูกกลิ้ง ยงบุผนัง ท่อที่ต้องทนต่อกรด แผ่นยางมุงหลังคา แผ่นยางรองสระน้ำ เรือยาง เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Isoprene rubber or Polyisoprene | ยางพอลิไอโซพรีนหรือยาง IR เป็นยางสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างทางเคมีเหมือนกับยางธรรมชาติ จึงมีสมบัติต่างๆ ใกล้เคียงกับยางธรรมชาติมาก และสามารถใช้แทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติแล้ว ยาง IR มีสมบัติเชิงกล เช่น ความทนต่อแรงดึง และความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายางธรรมชาติเล็กน้อย เนื่องจากยาง IR มีสัดส่วนของโครงสร้างแบบ cis- ที่ต่ำกว่ายางธรรมชาติจึงมีแนวโน้มที่จะตกผลึกได้น้อยกว่า แต่มีข้อดีคือ ยางมีคุณภาพสม่ำเสมอมากกว่ายางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และมีสีขาวสวย [เทคโนโลยียาง] |
Mechanical stability time | ความเสถียรเชิงกลของน้ำยาง หมายถึง ความเสถียรของน้ำยางต่ออิทธิพลทางกล เช่น การกวน การปั๊ม การเคลื่อนย้าย หรือการกระทำทางกลโดยวิธีอื่นๆ สามารถทำได้โดยวัดระยะเวลาที่เริ่มปั่นกวนน้ำยางจนกระทั่งสังเกตเห็นน้ำยาง เริ่มจับตัวเป็นเม็ดเล็กๆ ในหน่วยของวินาที ค่า MST สูงจะบ่งชี้ว่า น้ำยางมีความเสถียรต่ออิทธิพลทางกลได้สูง แต่ถ้าค่า MST ต่ำแสดงว่าน้ำยางนั้นจะสูญเสียความเสถียร สามารถจะจับเป็นเม็ดได้ง่าย เมื่อน้ำยางถูกกระทบกับอิทธิพลทางกล [เทคโนโลยียาง] |
Natural rubber | ยางธรรมชาติมีโครงสร้างโมเลกุลเป็น ซิส-1, 4-พอลิไอโซพรีน (cis-1, 4-polyisoprene)ได้มาจากต้นยาง Hevea brasiliensis เมื่อผ่านกระบวนการวัลคาไนเซชันแล้วให้สมบัติเชิงกลดีมาก แข็งแรง ทนต่อการขัดถูและการฉีกขาดดีเยี่ยม แต่ไม่ทนน้ำมันและการเกิดออกซิเดชัน [เทคโนโลยียาง] |
Non-reinforcing or inert filler | สารตัวเติมไม่เสริมแรงหรือสารตัวเติมเฉื่อย คือ สารตัวเติมที่เติมลงไปในยางแล้วทำให้ความหนืดของยางเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ทำให้สมบัติเชิงกลต่างๆ ของยางคงรูปด้อยลงหรือเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย ตัวอย่างสารตัวเติมไม่เสริมแรง ได้แก่ ทัลคัม แคลเซียมคาร์บอเนต และดินขาว [เทคโนโลยียาง] |
Polynorbornene | ยางพอลินอร์บอนีนเป็นยางที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก สามารถเติมสารทำให้ยางนิ่มได้ถึง 150-300 phr ในขณะที่ยางยังคงรักษาสมบัติเชิงกลต่างๆ ได้ดี มีสมบัติเด่นคือ ทนต่อแรงดึงได้ดีแม้ว่ายางจะมีค่าความแข็งต่ำมาก เช่น 15 Shore A นิยมใช้ในการผลิตลูกกลิ้งป้อนกระดาษแบบอ่อนสำหรับเครื่องถ่ายเอกสาร เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Reinforcement | ความสามารถของสารตัวเติมในการเพิ่มประสิทธิภาพสมบัติเชิงกลเช่น มอดุลัส ความทนต่อแรงดึง ของยางให้สูงขึ้น โดยสารตัวเติมที่เติมลงไปนี้ไม่มีส่วนเข้าไปทำปฏิกิริยาในกระบวนการวัลคาไน ซ์ [เทคโนโลยียาง] |
Reinforcing agent or reinforcing filler | สารตัวเติมเสริมแรง คือ สารตัวเติมที่เติมลงไปในยางแล้วช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสมบัติเชิงกล เช่น มอดุลัส ความทนต่อแรงดึง ของยางให้สูงขึ้น ตัวอย่างสารตัวเติมเสริมแรง ได้แก่ เขม่าดำ และซิลิกา [เทคโนโลยียาง] |
Silica | ซิลิกาเป็นสารตัวเติมเสริมแรงอีกชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมากใน อุตสาหกรรมยางนอกเหนือจากเขม่าดำ มีสีขาวและมีขนาดอนุภาคเล็กมาก เมื่อเติมลงไปในยางจะทำให้ยางมีสมบัติเชิงกลต่าง ๆ ดีขึ้น แต่เนื่องจากซิลิกามีราคาแพงกว่าเขม่าดำ จึงมักใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางที่มีสี เช่น พื้นรองเท้ากีฬา เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Tensile tester | เป็นเครื่องมือวัดสมบัติความทนต่อแรงดึงของยางคงรูป ซึ่งสมบัติความทนต่อแรงดึงเป็นสมบัติเชิงกลพื้นฐานที่โรงงานอุตสาหกรรมยาง ส่วนใหญ่นิยมใช้เป็นตัวกำหนดคุณภาพหรือสเปคของผลิตภัณฑ์ วิธีการวัด คือ จะให้แรงดึงกับชิ้นงานตัวอย่างจนกระทั่งชิ้นงานขาด วัดความทนต่อแรงดึงสูงสุด ณ จุดขาด (tensile strength) และสามารถระบุได้ว่าชิ้นงานเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโดยยืดไปกี่ เปอร์เซ็นต์ (elongation at break) วิธีการวัดและชิ้นงานที่ใช้จะต้องทำตามมาตรฐานที่กำหนด เช่น ISO 37 หรือ ASTM D412 [เทคโนโลยียาง] |
mechanical advantage | การได้เปรียบเชิงกล, อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักที่ยกได้โดยเครื่องกลกับแรงที่กระทำต่อเครื่องกล การได้เปรียบเชิงกลทางทฤษฎีหาได้จากกรณีเครื่องกลไม่มีความเสียดทาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
theoretical mechanical advantage | การได้เปรียบเชิงกลทางทฤษฎี, อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักที่ยกได้โดยเครื่องกลกับแรงที่กระทำต่อเครื่องกลโดยไม่คิดแรงเสียดทาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mechanical digestion | การย่อยเชิงกล, กระบวนการย่อยอาหารขั้นแรกที่ทำให้อาหารชิ้นใหญ่มีขนาดเล็กลงพอที่เอนไซม์จะทำการย่อยได้ทั่วถึง เช่น การเคี้ยว การบดในกระเพาะ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Interference, Mechanical | การรบกวนทางเชิงกล [การแพทย์] |
Mechanical Force | แรงเชิงกล [การแพทย์] |
Mechanics | แรงเชิงกล [การแพทย์] |
เชิงกล | [choēngkøn] (adj) EN: mechanical FR: mécanique |
เชิงกลยุทธ์ | [choēng konlayut] (adj) EN: strategic FR: stratégique |
การบริหารเชิงกลยุทธ์ | [kān børihān choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic management |
การได้เปรียบเชิงกล | [kān dāi prīep choēngkøn] (n, exp) EN: mechanical advantage |
การคิดเชิงกลยุทธ์ | [kān khit choēng konlayut] (n, exp) FR: pensée stratégique [ f ] |
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ | [kān tatsinjai choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic decision |
ความคิดเชิงกลยุทธ์ | [khwāmkhit choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic thinking FR: pensée stratégique [ f ] |
พลังงานเชิงกล | [phalang-ngān choēngkøn] (n, exp) EN: mechanical energy |
ประสิทธิผลเชิงกล | [prasitthiphon choēngkøn] (n, exp) EN: mechanical efficiency |
อุปกรณ์เชิงกล | [uppakøn choēngkøn] (n, exp) EN: device ; apparatus ; appliance ; gadget FR: appareil [ m ] |