Federal funds market | ตลาดเงินกู้ยืมระหว่างธนาคาร (ของสหรัฐ) [เศรษฐศาสตร์] |
Financial leverage | การใช้เงินกู้ดำเนินธุรกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Front end fee | ค่าธรรมเนียมในการจัดหาเงินกู้ [เศรษฐศาสตร์] |
Gearing ratio (financial) | อัตราส่วนเงินกู้ยืมต่อหุ้นทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Bank loan | เงินกู้จากธนาคาร [เศรษฐศาสตร์] |
Enclave project | โครงการที่กำหนดเงื่อนไข (ในการชำระเงินกู้) [เศรษฐศาสตร์] |
Mortgage loan | เงินกู้โดยมีการจำนอง [เศรษฐศาสตร์] |
Equity-loan target ratio | เป้าหมายอัตราส่วนของทุนต่อเงินกู้ [เศรษฐศาสตร์] |
Student loan | เงินกู้สำหรับนักศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Credit balance | ระบบบัญชีลูกค้าเงินกู้เพื่อหลักทรัพย์, Example: เป็นระบบบัญชีลูกค้าเงินกู้เพื่อหลักทรัพย์ (margin account) ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้นำมาใช้แทนระบบ margin account ที่ใช้กันมาแต่เดิม ตามระบบ credit balance ผู้ลงทุนที่ต้องการกู้เงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์จะต้องนำเงินสดจำนวนหนึ่งมาวางไว้กับบริษัทนายหน้าของตน เช่น 1, 000, 000 บาท จากนั้นบริษัทนายหน้าก็จะกำหนดวงเงินให้ซื้อหลักทรัพย์ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับระดับ initial margin rate ที่กำหนดไว้ หาก initial margin เท่ากับ 50% วงเงินให้ซื้อหลักทรัพย์จะเท่ากับ 1, 000, 000 / 50% = 2, 000, 000 บาท ซึ่งความหมายว่า 1, 000, 000 บาทแรกซื้อด้วยเงินสดของผู้ลงทุนส่วนที่เกินจากนั้นอีก 1, 000, 000 บาทเป็นเงินที่บริษัทสมาชิกให้กู้หากผู้ลงทุนซื้อหุ้นน้อยกว่า 1, 000, 000 บาทที่วางไว้ เช่นซื้อหุ้นเพียง 400, 000 บาท เงินสดส่วนที่เหลืออีก 600, 000 บาท จะได้รับดอกเบี้ยทำนองเดียวกับการฝากเงิน หากซื้อหุ้น 1, 700, 000 บาท ส่วน 700, 000 บาทที่เกินจากเงินสดของตน ผู้ลงทุนต้องเสียดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่บริษัทสมาชิกผู้ให้กู้นอกจากนี้หลักทรัพย์ที่ผู้ลงทุนซื้อไว้ในบัญชี credit balance จะต้องมีการ mark to market (ปรับมูลค่าตามราคาตลาด) ทุกวัน เพื่อให้สะท้อนถึงมูลค่าที่เป็นจริงตามราคาตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป หากราคาของหลักทรัพย์ที่ซื้อไว้ปรับตัวสูงขึ้นจะมีผลให้กำลังซื้อของผู้ลงทุนรายนี้เพิ่มสูงขึ้นเท่ากับมูลค่าที่สูงขึ้นของหลักทรัพย์ แต่ถ้าหลักทรัพย์ที่ซื้อไว้นั้นมีราคาลดลง กำลังซื้อของผู้ลงทุนนั้นก็จะลดลงตามมูลค่าหลักทรัพย์ที่ลดลง [ตลาดทุน] |
Collateral | หลักประกันเงินกู้, Example: สิ่งที่ผู้กู้ใช้ในการค้ำประกันเงินกู้ ตามปกติผู้ให้กู้มีสิทธิยึดหลักประกันเงินกู้หรือดำเนินการอื่นใดตามที่ระบุไว้ในสัญญากู้ยืม เมื่อผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนเงินกู้ หลักประกันเงินกู้อาจแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. อสังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ เช่น ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น หลักประกันเงินกู้ประเภทนี้เป็นที่นิยมกันทั่วไปทั้งในการกู้ยืมจากสถาบันการเงินในระบบและนอกระบบ 2.สังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์สินมีค่าต่าง ๆ ที่เคลื่อนย้ายได้ อาทิ เครื่องจักร สินค้า รถยนต์ ทองคำ เงินเดือน บัญชีเงินฝาก และหลักทรัพย์ทางการเงินอื่น ๆ [ตลาดทุน] |
Loans, Personal | เงินกู้ส่วนบุคคล [TU Subject Heading] |
Syndicated loans | เงินกู้จากกลุ่มธนาคาร [TU Subject Heading] |
Tied Loan | เงินกู้ที่มีเงื่อนไข, Example: เงินกู้ที่ประเทศหนึ่งให้แก่อีกประเทศหนึ่ง หรือองค์กรหนึ่งให้กับอีกองค์กรหนึ่ง โดยมีเงื่อนไขว่า เงินที่ให้กู้นี้จะใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการส่วนหนึ่ง จากต่างประเทศหรือองค์กรผู้ให้กู้กำหนด เงินกู้ที่เป็นเงินช่วยเหลือ ระหว่างประเทศมักจะมีเงื่อนไข ให้ซื้อเครื่องจักรอุปกรณ์หรือบริการที่ใช้ในโครงการช่วยเหลือนั้นๆ จากประเทศผู้ให้กู้เป็นส่วนใหญ่ [สิ่งแวดล้อม] |
Soft Loan | เงินกู้ผ่อนปรน, Example: เงินกู้ที่มีเงื่อนไขในการให้กู้ยืมที่ดีกว่า เงินกู้ทั่วไปในท้องตลาด กล่าวคือ อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าหรือไม่มีอัตราดอกเบี้ยเลย ระยะเวลาให้กู้ยาวกว่ารวมทั้งมีระยะเวลาผ่อนผัน ไม่ต้องจ่ายเงินต้นและดอกเบี้ยเป็นเวลานานกว่า (ดู Grace Period) เงินกู้ผ่อนปรนมักเป็นเงินให้กู้จากองค์การระหว่างประเทศหรือรัฐบาล เช่น เงินกู้จากธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพื่อการพัฒนาหรือเพื่อแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงินระหว่างประเทศของประเทศนั้น เงินให้กู้จากรัฐบาลเพื่อการพัฒนาชนบทหรือเพื่อการลงทุนในกจิการที่รัฐส่ง เสริม มักจะเป็นเงินกู้ผ่อนปรนด้วย [สิ่งแวดล้อม] |
Crowding Out | การแย่งเงินกู้จากเอกชน, Example: กระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อการเพิ่มขึ้นในการ กู้ยืม ของรัฐบาลจากประชาชนมีผลทำให้เอกชนในประเทศต้องลดการกู้ยืม และการใช้จ่ายลง จำนวนของการแย่งเงินกู้ยืมจากเอกชน จะมีมากน้อยแค่ไหน ขึ้นกับว่าการเพิ่มขึ้นในการกู้ยืมเงินของรัฐส่งผลกระทบต่อการเพิ่มขึ้นของ อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดเพียงใด หากส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดสูงขึ้นมาก การใช้จ่ายในโครงการต่างๆ ของภาคเอกชนก็จะลดลงมาก หากการเพิ่มขึ้นในการกู้ยืมเงินของรัฐไม่ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มขึ้นของอัตรา ดอกเบี้ย ก็จะไม่มีผลกระทบต่อการใช้จ่ายของภาคเอกชน [สิ่งแวดล้อม] |
Refinancing | การสร้างเงินกู้ใหม่แทนเงินกู้เดิม, Example: การทำสัญญากู้ยืมเงินใหม่ที่มีเงื่อนไขดีกว่า เก่า เช่น การขยายเวลาของเงินกู้ที่มีอยุ่ในปัจจุบัน หรือการกู้ยืมเพื่อชดใช้เงินกู้ปัจจุบันโดยที่เงินกู้ใหม่จะเสีย ค่าใช้จ่ายด้านอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่า อาจแบ่งการพิจารณาออกได้ตามลักษณะของการกู้ยืม คือหากเป็นการกู้ยืม ยืมจากธนาคาร หมายถึง การขยายเวลาการสิ้นสุดของการกู้หรือการเพิ่มจำนวนเงินกู้ หรือทั้งสองกรณี หากเป็นการจำหน่ายพันธบัตร หมายถึง การไถ่ถอนหนี้สิ้นที่เป็นพันธบัตรหรือหุ้นกู้ด้วยการออกตราสารใหม่ เพื่อลดภาระดอกเบี้ยหรือขยายเวลาการใช้คืนทั้งสองกรณี หากเป็นการกู้ยืมส่วนบุคคลหมายถึงการเปลี่ยนแปลงตารางการชำระคืนหนี้ เพื่อลดการชำระเงินงวดรายเดือน ซึ่งมักจะกระทำเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย [สิ่งแวดล้อม] |
Neighbouring Countries Economic Development Cooperation Fund | กองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน " ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุนให้ความช่วย เหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน พ.ศ. 2539 โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ มีวัตถุประสงค์ให้เงินกู้ผ่อนปรนแก่รัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินของรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม เพื่อลงทุนในโครงการพัฒนาประเทศ โดยเงินกู้ที่ รัฐบาลไทยปล่อยให้กู้นี้ จะต้องเป็นเงินสกุลบาท และส่วนหนึ่งของ เงินกู้จะต้องนำไปซื้อสินค้าและบริการจากภาคเอกชนไทย " [การทูต] |
Official Development Assistance | ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ " เป็นความช่วยเหลือของภาครัฐบาลที่ประเทศพัฒนาแล้วให้กับประเทศกำลังพัฒนา เพื่อการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจ มาตรฐานความ เป็นอยู่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสถาบันต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาประกอบด้วยความช่วยเหลือ 3 ด้านหลัก คือ ความช่วยเหลือให้เปล่า ความร่วมมือทางวิชาการ และเงินกู้ " [การทูต] |
Bank loan | เงินกู้ธนาคาร [การบัญชี] |
Loan payable | เจ้าหนี้เงินกู้ [การบัญชี] |
บริษัทซึ่งให้เงินกู้ | [børisat seung hai ngoenkū] (n, exp) EN: loan company |
ดอกเบี้ยเงินกู้ | [døkbīa ngoenkū] (n, exp) EN: lending rate |
หลักประกันเงินกู้ | [lakprakan ngoenkū] (n, exp) EN: security |
เงินกู้ | [ngoenkū] (n) EN: loan : money lent FR: prêt [ m ] |
เงินกู้โดยไม่มีเงื่อนไข | [ngoenkū dōi mai mī ngeūoenkhai] (n, exp) EN: untied loan |
เงินกู้โดยมีเงื่อนไข | [ngoenkū dōi mī ngeūoenkhai] (n, exp) EN: tied loan |
เงินกู้โดยตรง | [ngoenkū dōitrong] (n, exp) EN: direct loan |
เงินกู้จากธนาคาร | [ngoenkū jāk thanākhān] (n, exp) EN: bank loan FR: prêt bancaire [ m ] |
เงินกู้จำนอง | [ngoenkū jamnøng] (n, exp) EN: mortgage loan FR: prêt hypothécaire [ m ] |
เงินกู้ค้างชำระ | [ngoenkū khāng chamra] (n, exp) EN: overdue loan |
เงินกู้ที่ใช้หลักทรัพย์ | [ngoenkū thī chai laksap] (n, exp) EN: collateral loan ; loan against collateral ; loan on collateral |
เงินกู้ที่ไม่มีหลักประกัน | [ngoenkū thī mai mī lakprakan] (n, exp) EN: unsecured loan |
เงินกู้ยืม | [ngoen kūyeūm] (n, exp) EN: borrowings ; loan |
เงินกู้ยืมโดยการรับจำนอง | [ngoen kūyeūm dōi kān rap jamnøng] (n, exp) EN: mortgage loan |
เงินกู้ยืมจากธนาคาร | [ngoen kūyeūm jāk thanākhān] (n, exp) EN: bank loan |
เงินกู้ยืมระยะสั้น | [ngoen kūyeūm raya san] (n, exp) EN: short-term loan |
เงินกู้ยืมระยะยาว | [ngoen kūyeūm raya yāo] (n, exp) EN: long-term loan |
ผู้ให้เงินกู้โดยรับจำนอง | [phū hai ngoen kū dōi rap jamnøng] (n, exp) EN: mortgage lender |
เปลี่ยนเงินกู้ | [plīen ngoenkū] (v, exp) EN: convert a loan |
ปล่อยเงินกู้ | [plǿi ngoenkū] (v, exp) FR: émettre un emprunt |
ประกันเงินกู้ | [prakan ngoenkū] (v, exp) EN: secure a loan |