เครียด | (adj) serious, See also: tense, strained, stern, nervous, taut, Example: พ่อนั่งสูบบุหรี่มีสีหน้าเครียดอยู่ข้างๆ แม่ |
เครียด | (v) be serious, See also: tense, strain, be nervous, be stern, be taut, Syn. เคร่งเครียด, ตึงเครียด, หนักใจ, วุ่นวายใจ, วิตก, กังวล, Ant. ผ่อนคลาย, Example: สภาพเหตุการณ์ในเมืองพัทยาเริ่มเครียดขึ้นทุกวัน, Thai Definition: อาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป |
ตึงเครียด | (v) be tense, See also: be strained, be serious, be taut, be tight, be critical, be stern, Ant. คลี่คลาย, Example: จิตใจของผู้ที่อพยพด้วยความไม่สมัครใจจะตึงเครียดยิ่งกว่าพวกที่สมัครใจ, Thai Definition: ใกล้จะถึงขั้นแตกหัก |
ตึงเครียด | (adj) tense, See also: strained, serious, taut, tight, critical, stern, Ant. คลี่คลาย, Example: แม้ว่าจะต้องเผชิญปัญหาหรือเหตุการณ์ตึงเครียดมากมายขนาดไหน เขาก็สามารถผ่านพ้นมาได้, Thai Definition: ใกล้จะถึงขั้นแตกหัก |
ตรึงเครียด | (v) be serious, See also: be sober, look grave, Example: เขาตึงเครียดเกินไปไม่ปล่อยวางเสียบ้าง, Thai Definition: มีอาการไม่ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งมากเกินไป |
คลายเครียด | (v) relax, See also: release, give rest to, Syn. ผ่อนคลาย, Example: งานการ์ตูนส่วนใหญ่ผมเขียนเพื่อให้คลายเครียด หรือเอาไว้ถ่ายทอดบุคลิกของเพื่อนๆ, Thai Definition: ทำให้ความเครียดลดน้อยลง |
ความเครียด | (n) strain, See also: tension, stress, pressure, Syn. ความตึงเครียด, ความเคร่งเครียด, Ant. ความผ่อนคลาย, ความสบาย, Example: พ่อแม่เริ่มทะเลาะกันอันเกิดมาจากความเครียดเรื่องเงินๆ ทองๆ |
เคร่งเครียด | (v) be serious, See also: be strict, tense, strain, be stern, be earnest, Syn. เครียด, คร่ำเคร่ง, Ant. ผ่อนคลาย, Example: บรรยากาศของพิพิธภัณฑ์ไม่เคร่งเครียดแต่ในทางกลับกันจะมีชีวิตชีวามากขึ้น, Thai Definition: เคร่งมากไม่หย่อนคลาย, อาการที่สมองไม่ได้พักผ่อนเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป |
เคร่งเครียด | (adv) seriously, See also: strictly, tensely, strainedly, sternly, earnestly, Example: ในภาวะเช่นนี้เราอาจจะเห็นบางคนหัวเราะอย่างขมขื่นหรือหัวเราะอย่างเคร่งเครียด |
เคร่งเครียด | (adj) serious, See also: strict, tense, strained, stern, earnest, Example: สีหน้าของเขาหดหู่เหมือนกำลังคุยเรื่องเคร่งเครียดมากกว่าจะเป็นการพูดคุยเรื่องการแต่งงาน |
การคลายเครียด | (n) relaxation, See also: amusement, Example: การคลายเครียดด้วยวิธีเล่นกีฬาถือเป็นวิธีที่ดีอีกวิธีหนึ่ง |
ความตึงเครียด | (n) tension, See also: strain, stress, pressure, Syn. ความเครียด, Ant. ความผ่อนคลาย, ความสบาย, Example: การทำงานหนักจนเกินไปอาจทำให้เกิดความตึงเครียดได้ |
ความเคร่งเครียด | (n) seriousness, See also: tension, earnestness, Syn. ความตึงเครียด, ความเครียด, Ant. ความผ่อนคลาย, ความสบาย, Example: ความเคร่งเครียดปรากฏอยู่ในสีหน้าของพวกเขาทุกคน, Thai Definition: ความไม่ผ่อนคลาย |
ความเครียด | น. อัตราส่วนระหว่างขนาดที่เปลี่ยนไปเนื่องจากความเค้นกับขนาดเดิมของเทหวัตถุ. (อ. strain) |
ความเครียด | ลักษณะอาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป, ลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณ์บางอย่างมากดดันความรู้สึกอย่างรุนแรง. |
เคร่งเครียด | ก. เคร่งมากไม่หย่อนคลาย, อาการที่สมองไม่ได้พักผ่อนเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป. |
เครียด | (เคฺรียด) ว. จัด เช่น ตึงเครียด, อาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะครํ่าเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป เช่น หน้าเครียด อารมณ์เครียด. |
ตึงเครียด | ว. ใกล้จะถึงขั้นแตกหัก เช่น สถานการณ์ตึงเครียด. |
หน้าดำคร่ำเครียด, หน้าดำคล้ำเครียด | น. ใบหน้าหมองคล้ำเพราะต้องคร่ำเครียดหมกมุ่นอยู่กับงานหรือต้องใช้ความคิดอย่างหนัก. |
กีฬา | น. กิจกรรมหรือการเล่นที่มีกฎกติกากำหนด เพื่อความสนุกเพลิดเพลินผ่อนคลายความเครียด หรือเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็นการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศ เช่น ฟุตบอล ว่ายน้ำ หมากรุก ปีนเขา ล่าสัตว์. (ป.). (ดู กรีฑา ๑). |
เขม็ง | (ขะเหฺม็ง) ว. ตึงเครียด |
ความเค้น | น. แรงที่กระทำต่อ ๑ หน่วยพื้นที่ของเทหวัตถุ เมื่อเทหวัตถุใดถูกความเค้นมากระทำจะเกิดความเครียดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้น. |
ตากสมอง | ก. พักผ่อนเพื่อคลายความเคร่งเครียดโดยไปอยู่ในที่สงบหรือที่มีอากาศปลอดโปร่ง. |
นันทนาการ | (นันทะ-) น. กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด, การสราญใจ. |
ผ่อนคลาย | ก. ลดความตึงเครียด เช่น เหตุการณ์ผ่อนคลาย. |
หน้าเข้ม | ว. มีสีหน้าเครียดหรือขุ่นเคือง, หน้าตึง ก็ว่า. |
หน้าตึง | ว. มีสีหน้าเครียดหรือขุ่นเคือง, หน้าเข้ม ก็ว่า |
Strains and stresse | ความเครียดและความเค้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Job stress | ความเครียดในการทำงาน [TU Subject Heading] |
Strain gages | อุปกรณ์วัดความเครียดของวัสดุ [TU Subject Heading] |
Strains and stresses | ความเครียดและความเค้น [TU Subject Heading] |
Stress (Psychology) | ความเครียด (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Stress disorders, Post-traumatic | ความเครียดจากเหตุการณ์วินาศภัย [TU Subject Heading] |
Stress management | การจัดการความเครียด [TU Subject Heading] |
Strain | ความเครียด, Example: อัตราส่วนของส่วนยืดหรือส่วนหด ของวัสดุที่รับแจ้งต่อความยาวเดิมของวัสดุนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Modulus | อัตราส่วนระหว่างความเค้นต่อความเครียดในช่วงเส้นตรงของกราฟจากการ ทดสอบแรงดึงหรือแรงอัด รู้จักกันในชื่อของ Young's modulus [เทคโนโลยียาง] |
Stress relaxation | การลดลงของความเค้นเป็นฟังก์ชันกับเวลา ณ จุดที่ยางได้รับความเครียดคงที่ ยางที่มี stress relaxation ต่ำ แสดงถึงความยืดหยุ่น (elastic) ที่ค่อนข้างมากของยางนั้น [เทคโนโลยียาง] |
Viscoelasticity | สมบัติหยุ่นหนืด คือ พฤติกรรมการตอบสนองต่อความเค้นที่กระทำของวัสดุ เช่น พลาสติก ยาง เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะแสดงสมบัติของแข็งที่ยืดหยุ่น (elastic) และของเหลวหนืด (viscous) โดยที่สมบัติทางด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างดังกล่าวนี้ขึ้นอยู่กับเวลา อุณหภูมิ ความเค้น (stress) และอัตราความเครียด (strain rate) [เทคโนโลยียาง] |
Alarm Function | ภาวะตึงเครียด [การแพทย์] |
Antistress Effect | ช่วยต้านความเครียด [การแพทย์] |
Anxiety Attacks, Acute | ความกระวนกระวายใจอย่างมากเพราะประสาทเครียด [การแพทย์] |
Emotional Tension | ความเครียดทางอารมณ์, ความตึงเครียดทางอารมณ์ [การแพทย์] |
Emotional Tension, Release of | การระบายความเครียดทางอารมณ์ [การแพทย์] |
ความเครียด | ความเครียด, สภาพร่างกายและจิตใจที่เกิดการตื่นตัวเตรียมรับกับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนึ่ง ซึ่งบุคคลคิดว่าไม่น่าพอใจ เป็นเรื่องที่หนักหนา เกินกำลังหรือทรัพยากรที่ตนมีอยู่ หรือเกินความสามารถของตนที่จะแก้ไขได้ ทำให้รู้สึกหนักใจเป็นทุกข์ หรืออาจพลอยทำให้เกิดอาการผิดปกติทางร [สุขภาพจิต] |
ตัวกระตุ้นทางใจ | ตัวกระตุ้นทางใจ, สิ่งที่ไปเร้าจิตใจให้เกิดการกระทำจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สิ่งนั้นอาจสร้างผลดีหรือผลเสียได้หลายรูปแบบ เช่น ความสับสน (Confusion) ความกดดัน (Pressure) ความเครียด (Stress) ความคับข้องใจ (Frustration) ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ย้ [สุขภาพจิต] |
adrenaline [ epinephrine ] | อะดรีนาลีน, ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนัลเมดัลลาของต่อมหมวกไต ฮอร์โมนนี้จะถูกระต้นให้หลั่งออกมาเมื่อร่างกายเกิดอารมณ์เครียด เช่น โกรธ ดีใจ ตื่นเต้น เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
strain | ความเครียด, ผลที่เกิดกับวัสดุเมื่อวัสดุนั้นได้รับความเค้น เช่น ความยาว ปริมาตร เปลี่ยนไปจากเดิม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
longitudinal strain | ความเครียดตามยาว, อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม (ดู strain ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Young' s modulus | มอดุลัสของยัง, อัตราส่วนระหว่างความเค้นตามยาวและความเครียดตามยาว วัสดุชนิดหนึ่ง ๆ จะมีมอดุลัสของยังคงตัว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
modulus of elasticity | มอดุลัสสภาพยืดหยุ่น, อัตราส่วนระหว่างความเค้นและความเครียด มอดุลัสสภาพยืดหยุ่น สำหรับวัสดุชนิดหนึ่ง ๆ มีค่าคงตัว มอดุลัสสภาพยืดหยุ่น มีหลายแบบ ได้แก่ มอดุลัสของยัง มอดุลัสเฉือน มอดุลัสเชิงปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Intrauterine Distress | ภาวะเครียดระหว่างอยู่ในมดลูก [การแพทย์] |
Myositis, Tension | กล้ามเนื้ออักเสบจากความเครียด [การแพทย์] |
aeroneurosis | (n) ความผิดปกติของระบบประสาทที่เกิดกับนักบินเนื่องจากความเครียดในการบิน |
breathe | (vi) หายใจ, See also: พักเหนื่อย, หยุดชั่วหายเหนื่อย, พักผ่อน, คลายเครียด |
defuse | (vt) ทำให้มีอันตรายน้อยลง, See also: ทำให้ตึงเครียดน้อยลง, Ant. neutralize |
discourse | (n) การบรรยายที่เคร่งเครียด, See also: การสนทนา, การปาฐกถา, การกล่าวสุนทรพจน์, Syn. speech, verbalization, address, monoloque |
electric | (n) ตื่นเต้น, See also: ตึงเครียด, Syn. excited, tense |
electricity | (n) อารมณ์ตื่นเต้น, See also: อารมณ์ตึงเครียด |
epinephrine | (n) ฮอร์โมนอะดรีนาลีน, See also: ฮอร์โมนชนิดหนึ่งของร่างกายจะหลั่งเมื่อรู้สึกอันตรายหรือตกอยู่ในความเครียด ฮอร์โมนชนิ, Syn. adrenaline |
equanimity | (n) จิตใจที่สงบแม้ว่าจะอยู่ภายใต้ความตึงเครียด (คำทางการ), Syn. unexcitability |
get on one's nerves | (idm) ทำให้ประสาท, See also: ทำให้เครียด |
grave | (adj) ร้ายแรง, See also: รุนแรง, อันตราย, เคร่งเครียด, เอาจริงเอาจัง, สำคัญ, เศร้าซึม, ถมึงทึง, ขรึม, เสียงต่ำ, เสียงเค, Syn. critical, serious, Ant. safe, secure |
grin and bear it | (idm) อดทนต่อบางสิ่งอย่างไม่เครียด |
joking apart | (idm) เครียดอยู่ชั่วขณะ |
keyed up | (idm) เครียด, See also: วิตกกังวล |
sweat blood | (idm) สุดเครียด, See also: เครียดมาก, กังวลมาก |
light | (adj) ไม่เคร่งเครียด, See also: ผ่อนคลาย, Syn. amusing |
nerves | (n) ความเครียด, See also: ความวิตกกังวล, ความตื่นกลัว |
overstrain | (vi) เคร่งเครียดเกินไป |
overstrain | (vt) ทำให้เคร่งเครียดเกินไป |
relax | (vt) ทำให้ผ่อนคลาย, See also: คลายเครียด, คลายอารมณ์, Syn. ease, loosen, slacken |
chill pill | (sl) สิ่งที่ทำให้คลายเครียด |
shell shocked | (n) โรคเครียดจากการรบในสงคราม, Syn. combat fatigue |
shellshocked | (adj) ซึ่งเป็นโรคเครียดจากการรบสงคราม |
strain | (vi) ทำให้เครียด, See also: ทำให้เครียด, ทำให้เคล็ด, Syn. distort, sprain |
strain | (vt) ทำให้เครียด, See also: ทำให้เครียด, ทำให้เคล็ด, Syn. distort, sprain |
strain | (n) ความตึงเครียด, Syn. pressure, stress, tension |
stress | (n) ความตึงเครียด, See also: ความเครียด, Syn. pressure, strain, tension |
stress | (vt) ทำให้ตึงเครียด, Syn. constrain, strain |
stressful | (adj) ตึงเครียด, See also: เครียด, Syn. tense |
stressor | (n) สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความตึงเครียด |
sweat | (n) ความวิตกกังวล, See also: ความกังวล, ความตึงเครียด, Syn. anxiety, worry, strain |
taut | (adj) ตึงเครียด, See also: เครียด, เคร่งเครียด, Syn. tense |
tense | (adj) ตึงเครียด, See also: เคร่งเครียด, เครียด, Syn. stretched, tight, Ant. relaxed |
tensile | (adj) เกี่ยวกับความตึงเครียด |
tension | (n) ความเครียด, See also: ความเครียดทางจิตใจ, สภาพตึงเครียด, Syn. anxiety, pressure, stress |
tear one's hair out | (idm) ตื่นเต้นมาก, See also: เครียดมาก, กังวลมาก |
tense for | (phrv) ทำให้เกร็ง, See also: ทำให้ตึงเครียด |
tense up | (phrv) ปั่นป่วน, See also: ตึงเครียด, วิตก, Syn. screw up |
unwind | (vi) ผ่อนคลาย, See also: คลายเครียด, Syn. relax |
uptight | (adj) ตึงเครียด (คำไม่เป็นทางการ), Syn. worried, tense, Ant. relax |
uptightness | (n) ความตึงเครียด |
adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด |
aeroneurosis | (แอโรนิวโร'ซิส) n. โรคประสาทที่เป็นกับนักขับเครื่องบิน เนื่องจากจิตเคร่งเครียดเกินไป (a psychoneurotic condition) |
detente | (เดทานทฺ') n. ความผ่อนคลายของวิกฤติการณ์ (ความตึงเครียด) ทางการเมืองระหว่างประเทศ |
electricity | (อีเลคทริส'ซิที) n. ไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, วิชาไฟฟ้า, การไฟฟ้า, ประจุไฟฟ้า, ไฟฟ้าสถิต, อารมณ์หรือความรู้สึกที่ตื่นเต้น, เร่าร้อนตึงเครียด |
fray | (เฟร) { frayed, fraying, frayes } n. การทะเลาะวิวาทอึกทึก, การต่อสู้, ความตกตะลึง. vt. ทำให้ตกตะลึง, ทำให้หลุดลุ่ย, ทำให้เป็นฝอย, ทำให้ตึงเครียด, ทำให้ผิดหวัง, เสียดสี vi. ต่อสู้, ลุดลุ่ย, เป็นปุยยุ่ย, เป็นฝอย |
frazzle | (แฟรซ'เชิล) vt., vt. ทำให้หลุดลุ่ย, ทำให้ตึงเครียด, ทำให้ผิดหวัง, เสียดสี, ถู vi. หลุดลุ่ย |
high-strung | adj. ตึงเครียด, กระสับกระส่าย |
high-wrought | (ไฮ'รอท) adj. ตื่นเต้นอย่างมาก, เร่าร้อน, ตึงเครียดมาก |
icebreaker | (ไอซฺ'เบรเคอะ) n. เรือฝ่าน้ำแข็ง, สิ่งที่ลดความตึงเครียดหรือพิธีรีตองทั้งหลาย |
jittery | (จิท'เทอรี) adj. เครียด, กระวนกระวายใจ, กระสับกระส่าย -S., skittery, fidgety |
overwrought | (โอ'เวอะรอท) adj. เหน็ดเหนื่อยเกินไป, พิถีพิถันเกินไป, ประณีตเกินไป, เคร่งเครียดเกินไป, ตกใจง่าย, ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ vi. กริยาช่อง 3 ของ overwork |
re-strain | (รีสเทรน') vt., vi. รัดอีก, ทำให้ตึงเครียดอีก, เค้นอีก, กรองอีก, บีบอีก |
strain | (สเทรน) vt., vi., n. (การ) ทำให้ตึง, ขึงให้แน่น, ทำให้เครียด, ทำให้เคล็ด, ทำให้ตึงเครียด, ขยายเกินไป, ต้องการมากเกินไป, เทของเหลวผ่านที่กรอง, กรองออก, ใช้อำนาจหน้าที่ไปในทางที่ผิด, กอดรัด, ยับยั้ง, รูปงอคดเนื่องจากถูกดึง, ความตึงเครียด, พันธุ์, ชนิด, เชื้อชาติ, วงศ์, สกุล, บรรพบุรุษ |
strained | (สเทรนดฺ) adj. ใช้กำลัง, ออกแรง, ฝืน, ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ, เครียด., See also: strainedness n. |
strait | (สเทรท) n. ช่องแคบ, ทางผ่านที่แคบ, ที่คับแคบ, สภาพที่ลำบาก, ความเคร่งเครียด, ภาวะจนตรอก, ความคับแค้น. adj. แคบ, คับ-แค้น, เคร่งครัดในระเบียบ., See also: straitness n. |
straiten | (สเทรท'เทิน) vt. ทำให้ลำบาก, ทำให้เคร่งเครียด, จำกัด, ทำให้คับแคบ, เคร่งครัดในระเบียบ, Syn. restrict |
stress | (สเทรส) n. ความตึงเครียด, ความบังคับ, การบีบคั้น, ความฉุกละหุก, เสียงหนัก, การกด, การดัน, แรงกดดัน, ตัวกระตุ้น, สิ่งกระตุ้น. vt. เน้นเสียง, เน้นหนัก, ออกเสียงหนัก, See also: stressness n., Syn. emphasis |
swelter | (สเวล'เทอะ) vi., vt. ร้อนอบอ้าว, ร้อนระอุ, ได้รับความทุกข์จากความร้อน, ไหลออก, ซึมออก. n. ความร้อนอบอ้าว, ความร้อนระอุ, เหงื่อโชก, อารมณ์เครียด |
taut | (ทอท) adj. ตึง, พันแน่น, เกร็ง, ตึงเครียด, เข้มงวด, เคร่งครัด, เรียบร้อย, เป็นระเบียบเรียบร้อย., See also: tautly adv. tautness n., Syn. tense |
tense | (เทนซฺ) n. กาล (ในไวยากรณ์) , กริยาแสดงเวลา, กลุ่มของกริยาหรือกาลดังกล่าว adj. ตึง, ตรึงแน่น, รัดแน่น, เครียด, See also: tenseness n., Syn. stretched, taut |
tension | (เทน'เชิน) n. ความตึง, ความตึงเครียด, แรงเบ่งหรือแก๊สหรือไอ, เครื่องยึด, เครื่องดึง., See also: tensional adj., Syn. tightness, tautness |
unbrace | (อันเบรสฺ') vt. ปลดสายออก, คลายออก, แก้ออก, คลายกังวล, ทำให้คลายความตึงเครียด |
uncomfortable | (อันคัม'เฟิร์ททะเบิล) adj. ไม่สะดวกสบาย, ไม่สบายใจ, เจ็บปวด, ระคายเคือง, กระสับกระส่าย, เคร่งเครียด |
HIGH-high-strung | (adj) ประสาทไม่ดี, หงุดหงิด, เครียด, กระสับกระส่าย |
serious | (adj) สำคัญ, จริงจัง, เคร่งเครียด, เอาจริงเอาจัง, สาหัส, ร้ายแรง |
seriousness | (n) ความเครียด, ความเคร่งเครียด, ความร้ายแรง, ความสาหัส, ความสำคัญ |
strain | (n) ความเครียด, ความเคล็ด, ความหักโหม, วงศ์ตระกูล, ร่องรอย |
strain | (vt) รัด, ขึงตึง, ทำให้เคล็ด, ทำให้ตึง, ทำให้เครียด |
strait | (adj) เคร่งครัด, แคบ, เคร่งเครียด, คับแค้น |
strait | (n) ความเคร่งเครียด, ช่องแคบ, ความคับแค้น |
straiten | (vt) ทำให้แคบ, จำกัด, ทำให้เคร่งเครียด |
stress | (n) ความตึงเครียด, น้ำหนัก, เสียงหนัก, การบีบคั้น, การเน้น |
taut | (adj) เรียบร้อย, เคร่งครัด, ตึงเครียด, เข้มงวด |
tense | (adj) ตึง, เครียด, ตรึง, แน่น |
tension | (n) ความตึงเครียด, การดึง, แรงเบ่ง, เครื่องยึด |