กรรภิรมย์ | (กัน-) น. ฉัตร ๕ ชั้นและ ๗ ชั้น สำรับหนึ่งมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ทำด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นเขียนทอง เป็นเครื่องสูงอันเป็นสิริมงคลยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ และใช้เข้าพิธีคชกรรมนำช้างสำคัญขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี. |
ขันสู้ | ก. แข่งเข้าสู้, กล้าสู้. |
คืน ๒ | ก. กลับเข้าสู่ภาวะหรือฐานะเดิม. |
ชนมาพิธี, ชนมายุพิธี | (ชนมา-) น. อายุ, กำหนดอายุ, เช่น ครั้นว่าจะสิ้นชนมาพิธีแล้วก็เสด็จเข้าสู่นฤพานแล (ไตรภูมิ), ก็อยู่จนสิ้นชนมายุพิธี ในธรณีดลน้นน (ม. คำหลวง ทศพร). |
เชื้อโรค | น. สิ่งที่มีชีวิต เมื่อเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์แล้ว ทำให้เกิดโรคได้. |
ญัตติ | ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่ |
ตกศึก | ก. เข้าสู่ภาวะสงคราม, มีสงคราม. |
ตะล่อม ๑ | ว. ลักษณะการพูดหว่านล้อมหรือรวบรัดให้เข้าสู่จุดหมายหรือเข้าประเด็น เช่น พูดตะล่อม. |
ติดเชื้อ | ก. รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย และเชื้อนั้นเจริญในร่างกาย มักแสดงอาการเจ็บป่วย เช่น เขาติดเชื้อมาจากผู้อื่น |
เต้ารับ | น. อุปกรณ์ไฟฟ้า มีรู ๒ รู สำหรับรับเต้าเสียบ เพื่อให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านเข้าสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ครบวงจร. |
เต้าเสียบ | น. อุปกรณ์ไฟฟ้ามีขาโลหะ ๒ ขา (บางแบบมี ๓ ขา) ปลายข้างหนึ่งของแต่ละขาตรึงอยู่กับวัตถุหุ้ม ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า ใช้เสียบเข้ากับเต้ารับเพื่อให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านเข้าสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ครบวงจร, ปลั๊ก หรือ ปลั๊กไฟ ก็เรียก. |
ทอนซิล | น. ปุ่มเนื้อเยื่อนํ้าเหลือง อยู่ในบริเวณลำคอข้างละปุ่ม มีหน้าที่ช่วยป้องกันการแผ่กระจายของแบคทีเรียที่เข้าสู่ร่างกายผ่านทางลำคอ. |
ทะยาน | ก. พุ่งขึ้นไป เช่น เครื่องบินทะยานขึ้นสู่ฟ้า, โผนเข้าใส่ เช่น ทะยานเข้าสู้. |
น้ำเหลือง | น. ของเหลวที่ไหลออกมาจากหลอดเลือดฝอย เข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อของร่างกาย แล้วไหลเข้าสู่หลอดน้ำเหลืองซึ่งจะส่งต่อไปยังหลอดเลือดดำ, ของเหลวสีเหลืองใสที่เยิ้มออกมาทางแผล. |
นิโรธสมาบัติ | (นิโรดทะสะมาบัด, นิโรดสะมาบัด) น. การเข้าสู่นิโรธ เป็นวิธีพักผ่อนของพระอรหันต์. |
บทนำ | น. ข้อเขียนเบื้องต้นที่นำเข้าสู่เนื้อหา. |
บาดทะยัก | น. โรคที่เกิดจากตัวเชื้อโรคบาดทะยัก (Clostridium tetani) เข้าสู่แผล ทำให้มีอาการกระตุก และชักแข็ง หลังแอ่น โดยมากถึงตาย. |
เบิกแว่นเวียนเทียน | ก. เริ่มทำพิธีเวียนเทียนทำขวัญ โดยจุดเทียนที่ติดบนแว่นเทียน วักแว่นเทียนเข้าหาตัว ๓ ครั้ง ใช้มือขวาปัดควันออกไปข้างหน้า เพื่อให้สิริมงคลเข้าสู่บุคคลหรือสิ่งที่รับการเวียนเทียน แล้วส่งแว่นเทียนให้คนที่อยู่ถัดไปทางซ้ายต่อ ๆ ไปให้ครบรอบ. |
ประตูป่า | น. ปากทางที่จะเข้าสู่ป่า, ประตูที่สะด้วยใบไม้กิ่งไม้สำหรับพิธีเทศน์มหาชาติ, ประตูเรือนที่ปักกิ่งไม้ไว้เวลานำศพออกจากบ้าน. |
ประเวศ, ประเวศน์ | น. การเข้ามา, การเข้าถึง, การเข้าสู่. |
ปลั๊ก, ปลั๊กไฟ | (ปฺลั๊ก) น. อุปกรณ์ไฟฟ้ามีขาโลหะ ๒ ขา (บางแบบมี ๓ ขา) ปลายข้างหนึ่งของแต่ละขาตรึงอยู่กับวัตถุหุ้ม ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า ใช้เสียบเข้ากับเต้ารับเพื่อให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านเข้าสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ครบวงจร, เต้าเสียบ ก็เรียก. |
ปลูกฝี | ก. นำวัคซีนเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังตรงรอยที่กรีดไว้ เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันโรคฝีดาษ. |
เปิดบริสุทธิ์ | ก. ร่วมประเวณีกับหญิงที่ยังไม่เคยมีประสบการณ์ในการร่วมเพศมาก่อน เดิมเป็นประเพณีของชาวเขาบางเผ่า เช่น อีก้อ เมื่อเด็กหญิงมีอายุย่างเข้าสู่วัยสาวต้องไปศึกษาเรื่องกามกิจโดยร่วมประเวณีเป็นครั้งแรกกับผู้ที่ชุมชนในเผ่านั้นคัดเลือกให้ทำหน้าที่นี้. |
พรรษประเวศ | (พันสะปฺระเวด) น. การเข้าสู่ปีใหม่, เถลิงศก. |
พิษ, พิษ- | สิ่งที่ร้ายเป็นอันตราย เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะทำให้ตาย เจ็บปวด หรือพิการได้ บางอย่างเกิดจากแร่ เช่นสารหนู, บางอย่างเกิดจากต้นไม้ เช่นต้นแสลงใจ, บางอย่างเกิดจากสัตว์ เช่นงู. |
ภูมิคุ้มกัน | (พูม-) น. สภาพที่ร่างกายมีแรงต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย, ภูมิต้านทาน ก็เรียก. |
ภูมิแพ้ | (พูม-) น. สภาพที่ร่างกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติต่อสิ่งที่ตามธรรมดาเมื่อเข้าสู่ร่างกายคนทั่ว ๆ ไปแล้วจะไม่มีอันตรายใด ๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพ้สิ่งนั้นเท่านั้น. |
ยาเสพติด | น. ยาหรือสารเคมีซึ่งเมื่อเสพหรือฉีดเข้าสู่ร่างกายติดต่อกันชั่วระยะเวลาหนึ่งก็จะติด ก่อให้เกิดพิษเรื้อรัง ทำให้ร่างกายและจิตใจเสื่อมโทรม เช่น ฝิ่น กัญชา เฮโรอีน ยานอนหลับ สุรา. |
ยาเสพติดให้โทษ | น. สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ รวมทั้งพืช ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่นต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา. |
ย่าง ๒ | เคลื่อนเข้าสู่ เช่น ย่างเข้าหน้าหนาว อายุย่าง ๒๐ ปี. |
ย่างเหยียบ | ก. เข้าไปสู่, เดินเข้าไป, ย่างเข้าสู่, เหยียบย่าง ก็ว่า. |
แรก | ว. ก่อนเพื่อน, ก่อนผู้อื่นหรือสิ่งอื่นทั้งหมด, เช่น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ มาถึงเป็นคนแรก ลูกคนแรก วันแรกของเดือน, เริ่ม เช่น แรกนา คือ เริ่มลงมือทำนา แรกรุ่น คือ เริ่มย่างเข้าสู่วัยรุ่น, หัวที เช่น แรกเกิด แรกพบ แรกเห็น, เดิมที เช่น แต่แรกเริ่ม, เพิ่งมีเป็นครั้งแรก เช่น มะม่วงแรกออกผล. |
แรงสู่ศูนย์กลาง | น. แรงที่กระทำต่อเทหวัตถุในขณะที่เทหวัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นทางวงกลม แรงนี้มีแนวทิศเข้าสู่จุดศูนย์กลางของทางวงกลมนั้น และมีขนาดเท่ากับแรงหนีศูนย์กลาง. |
ลงโรง | เข้าสู่โรงพิธีซัดนํ้า. |
ลิ้น ๒ | น. อุปกรณ์ชนิดหนึ่งในเครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน ทำหน้าที่เป็นวาล์วปิดเปิดเป็นจังหวะ ชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอดี สำหรับให้อากาศหรืออากาศผสมน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ อีกชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอเสีย สำหรับให้แก๊สต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ออกจากห้องเผาไหม้ไปสู่ท่อไอเสีย, วาล์ว ก็เรียก. |
ลูกเลื่อน | น. อุปกรณ์ในปืนชนิดมีแหนบกระสุน อยู่ในลำกล้อง มีหน้าที่กดกระสุนปืนไม่ให้ตรงลำกล้อง เมื่อขึ้นไกจะดันกระสุนปืนให้เลื่อนขึ้นและเข้าสู่ลำกล้อง. |
วัคซีน | น. ผลิตผลที่ประกอบด้วยเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ถูกฆ่าหรือทำให้มีฤทธิ์อ่อนแรงจนไม่เป็นอันตราย สำหรับฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ. |
วาล์ว | น. อุปกรณ์ชนิดหนึ่งในเครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน ทำหน้าที่เป็นลิ้นปิดเปิดเป็นจังหวะ ชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอดี สำหรับให้อากาศหรืออากาศผสมนํ้ามันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ อีกชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอเสีย สำหรับให้แก๊สต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ออกจากห้องเผาไหม้ไปสู่ท่อไอเสีย, ลิ้น ก็เรียก. |
วิด | ก. อาการที่ทำให้นํ้าพร่องหรือหมดไปด้วยวิธีวัก สาด หรือด้วยเครื่องวิดมีระหัดเป็นต้น เช่น วิดน้ำออกจากเรือ วิดน้ำออกจากบ้าน, ถ้าใช้วิธีอย่างเดียวกันนั้นถ่ายเทนํ้าจากที่หนึ่งเข้าสู่อีกที่หนึ่ง ใช้ว่า วิดเข้า เช่น วิดนํ้าเข้านา. |
เวเลนซี | น. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนย้ายออกจากอะตอมของธาตุหนึ่งเข้าสู่อะตอมอื่น หรือที่ใช้ร่วมกับอะตอมอื่น. |
สาว ๑ | น. หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕-๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว โตเป็นสาวแล้วยังซุกซนเหมือนเด็ก ๆ. |
หัวนกกระจอก | น. กลอุปกรณ์ชนิดหนึ่งสวมอยู่ตรงกลางจานจ่ายไฟ ทำหน้าที่หมุนจ่ายกระแสไฟแรงสูงให้เข้าสู่หัวเทียนเพื่อให้เกิดประกายไฟฟ้าที่เขี้ยวหัวเทียน. |
หายใจ | ก. กิริยาที่ทำให้อากาศเข้าสู่และออกจากปอด, ยังมีชีวิตอยู่ เช่น คนเจ็บยังมีชีวิตอยู่ |
เหยียบย่าง | ก. เข้าไปสู่, เดินเข้าไป, ย่างเข้าสู่, ย่างเหยียบ ก็ว่า. |
อนุมูล | น. หมู่ธาตุซึ่งเมื่อเข้าสู่ปฏิกิริยาเคมีแล้ว ทั้งหมู่จะเข้าทำปฏิกิริยาด้วยกัน โดยไม่แตกแยกออกจากกัน เช่น อนุมูลไฮดรอกซิล (-OH) อนุมูลไนเทรต (-NO3). |
อยู่ไฟ | ก. นอนใกล้ไฟโดยเชื่อว่าความร้อนจะทำให้มดลูกเข้าสู่ภาวะปรกติได้เร็วหลังคลอดลูกแล้ว. |
ฮอร์โมน | น. สารที่สร้างขึ้นโดยต่อมไร้ท่อของมนุษย์และสัตว์ชั้นสูงอื่น ๆ แล้วหลั่งเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงเพื่อนำไปยังส่วนต่าง ๆ มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของร่างกาย มีหลายชนิด บางชนิดเป็นโปรตีน เช่น อินซูลิน บางชนิดเป็นสารเคมีธรรมดา เช่น อะดรีนาลิน. |
Electroporation | วิธีหนึ่งของการส่งถ่ายพลาสมิดเข้าสู่เซลล์ E. coli, Example: ส่วนใหญ่วิธี transformation นิยมใช้เพื่อส่งถ่ายพลาสมิดเข้าสู่เซลล์ E. coli แต่มีอีกวิธีหนึ่งซึ่งให้ผลสำเร็จมากกว่าคือวิธี electroporation เป็นวิธีที่อาศัยการผ่านกระแสไฟฟ้าด้วยขนาดและเวลาที่เหมาะสมไปยังเซลล์ E. coli เพื่อทำให้ผนังเซลล์เกิดรูรั่วพร้อมรับพลาสมิด แต่ถ้าใช้กระแสไฟฟ้าสูงหรือเวลานานเกินไปเซลล์จะตาย ข้อดีของวิธีนี้คือ ดีเอ็นเอที่จะนำเข้าเซลล์ไม่จำกัดด้วยขนาด <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. “การโคลนยีน” ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 106-125. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Kick | ปรากฏการณ์ที่ของไหลจากชั้นหินทะลักเข้าสู่หลุมเจาะ, ปรากฏการณ์ที่ของไหลจากชั้นหินทะลักเข้าสู่หลุมเจาะเนื่องจากการเสียสภาพสมดุลย์ความดันที่ก้นหลุมเจาะ เนื่องจาก Hydrostatic pressure ของน้ำโคลนในหลุมเจาะมีค่าความดันน้อยกว่าความดันของไหลในชั้นหิน (formation pore pressure), Example: การเรียกชื่อ kick สามารถเรียกได้ตามลักษณะของไหลที่ไหลเข้าหลุม เช่น เป็นก๊าซ ก็เรียกว่า gas kick เป็นต้น [ปิโตรเลี่ยม] |
Kill Well | การปรับสภาพความดันหลุมให้เข้าสู่สมดุลย์ความดันและการกำจัดของไหลออกจากหลุม, การปรับสภาพความดันหลุมให้เข้าสู่สมดุลย์ความดันและการกำจัดของไหลออกจากหลุมโดยไม่ทำให้เกิดความเสียหายกับหลุมเจาะ (หรือหากมีก็ให้น้อยที่สุด) [ปิโตรเลี่ยม] |
Acute intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเฉียบพลัน, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายภายในระยะเวลาสั้น ซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียว [นิวเคลียร์] |
Annual dose | ปริมาณรังสีรอบปี, ปริมาณรังสีรวมในรอบปีที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย และจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย, Example: [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Chronic intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีต่อเนื่อง, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ การกิน หรือ การซึมผ่านผิวหนังหรือบาดแผล อย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลานาน ดังนั้น ปริมาณรังสีผูกพันจึงเป็นผลรวมของปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียวของแต่ละช่วง [นิวเคลียร์] |
Committed dose | ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต [นิวเคลียร์] |
Cosmic radiation | รังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์] |
Derived Air Concentration | ค่ากำหนดความเข้มข้นนิวไคลด์กัมมันตรังสีในอากาศ, ดีเอซี, ขีดจำกัดความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิดในอากาศ ที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณนั้นตลอดระยะเวลาทำงานใน 1 ปี ได้รับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายเท่ากับขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี โดยคำนวณจากแบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) (ดู annual limit on intake (ALI) ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Van de Graaff generator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474, Example: [นิวเคลียร์] |
Van de Graaff accelerator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474 [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radioecology | นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ [นิวเคลียร์] |
Intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสี, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ การกิน หรือ การซึมผ่านผิวหนังหรือบาดแผล [นิวเคลียร์] |
Free radical | อนุมูลเสรี, อนุมูลอิสระ, ธาตุ หรือ หมู่ธาตุที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (unpaired electron) อยู่ในโครงสร้าง เกิดขึ้นจากการกระตุ้นโมเลกุลของสารด้วยปฏิกิริยาเคมีหรือพลังงานบางชนิด ส่วนใหญ่มีความไวในการทำปฏิกิริยาเคมี เนื่องจากต้องการจับคู่กับอิเล็กตรอนอื่นเพื่อเข้าสู่สถานะเสถียร อนุมูลเสรีใช้จุดทึบเป็นสัญลักษณ์ เช่น H•, Example: [นิวเคลียร์] |
Gaseous diffusion plant | โรงงานแบบแพร่แก๊ส, <font color="#8b0000"><em>โรงงานเสริมสมรรถนะยูเรเนียม</em></font>แบบหนึ่ง โดยการแยกไอโซโทปยูเรเนียม-238 และยูเรเนียม-235 ในรูปแก๊สเฮกซะฟลูออไรด์ออกจากกัน ภายในเครื่องแพร่แก๊สที่มีตัวกั้นเป็นรูพรุน ยูเรเนียม – 235 ซึ่งเบากว่าจะแพร่ผ่านเข้าสู่เครื่องแพร่แก๊สถัดๆ ไปในอัตราที่เร็วกว่า จนกว่าจะได้ยูเรเนียม-235 ที่มีสมรรถนะตามต้องการ โรงงานชนิดนี้มีขนาดใหญ่และใช้กำลังไฟฟ้ามาก จึงไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Put-through | วิธีซื้อขายหลักทรัพย์แบบแจ้งรายการเข้าสู่ระบบ, Example: วิธีซื้อขายแบบหนึ่งในระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยบริษัทหลักทรัพย์ที่เป็นนายหน้าผู้ซื้อกับบริษัทหลักทรัพย์ที่เป็นนายหน้าผู้ขาย ทำการตกลงซื้อขายหลักทรัพย์ใด หลักทรัพย์หนึ่งเป็นที่เรียบร้อยแล้ว บริษัทนายหน้าผู้ขายก็จะบันทึกรายการซื้อขายเข้ามาในระบบการซื้อขาย [ตลาดทุน] |
European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Servicio Nacional de Sanidad y Calidad Agroalimentaria | สำนักงานตรวจสอบสุขอนามัยพืชและสัตว์ของ อาร์เจนตินา เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการตรวจสอบมาตรฐานการส่งออก และนำเข้าสินค้าเกษตรและสัตว์ ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเศรษฐกิจและการผลิตของอาร์เจนตินา โรงงานผลิตสัตว์น้ำของไทยที่ส่งออกสินค้าไปยังอาร์เจนตินาจะต้องได้รับใบ รับรองมาตรฐานการผลิตจาก SENASA ก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้นำสินค้าเข้าสู่อาร์เจนตินา [การทูต] |
radiopharmaceutics , radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน] |
Van de Graaff Generator (accelerator) | เครื่องแวนเดอกราฟ, เป็นเครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตย์ศักดาสูง ซึ่งประจุไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพาน ซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักดาไฟฟ้าสูง ระบบทั้งหมดนี้อยู่ในถังความดันที่บรรจุแก๊สเฉื่อยทางไฟฟ้า เช่น ฟรีออนความดันสูงไม่น้อยกว่า 15 บรรยากาศ จะสามารถเก็บประจุซึ่งมีศักดาไฟฟ้าสูงถึงประมาณ 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้นำมาใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าได้ และมักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น เรียกชื่อตาม Robert Van de Graaff ชาวเนเธอร์แลนด์ ซึ่งประดิษฐ์เครื่องมิอนี้ ในปี พ.ศ. 2474 [พลังงาน] |
Adolescent, Delayed | การเข้าสู่วัยหนุ่มสาวช้าเกินไป [การแพทย์] |
Adulthood, Early | วัยผู้ใหญ่ระยะแรก, เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ [การแพทย์] |
Aeroembolism | การมีฟองก๊าซเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด [การแพทย์] |
Afferent Pathways | เส้นประสาทนำกระแสประสาทเข้าสู่ภายใน [การแพทย์] |
Approach, Avila | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อซาโคอิลิแลคทางด้านหน้า [การแพทย์] |
Approach, Bailey and Badgley | วิธีผ่าตัดเข้าสู่กระดูกสันหลังระดับคอทางด้านหน้า [การแพทย์] |
Approach, Banks and Laufman | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อเข่าทางด้านหลังเฉียงใน [การแพทย์] |
Approach, Bennett | วิธีผ่าตัดเข้าสู่ข้อไหล่ทางด้านหลัง [การแพทย์] |
Approach, Broomhead | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อเท้าด้านในและหลังเฉียงใต้ [การแพทย์] |
Approach, Bruser Lateral | วิธีผ่าตัดเข้าสู่ข้อเข่าทางด้านขวา [การแพทย์] |
Approach, Callahan | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อตะโพกด้านหน้าเฉียงข้าง [การแพทย์] |
Approach, Cubbins | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อไหล่ทางด้านหน้าแบบคับบินส์ [การแพทย์] |
Approach, Gatellier and Chaslang | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อเท้าทางด้านนอกหรือด้านหลัง [การแพทย์] |
Approach, Gibson | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อตะโพกทางด้านหลังเฉียงนอก [การแพทย์] |
Approach, Gordon | วิธีผ่าตัดเข้าสู่ปลายแขนทางด้านหลังแบบกอร์ดอน [การแพทย์] |
Approach, Gritti-Stokes | วิธีผ่าตัดเข้าสู่ข้อตะโพกหลังด้านหลังแบบคริตตี้ [การแพทย์] |
Approach, Henderson | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อเข่าทางด้านหน้าเฉียงข้าง [การแพทย์] |
Approach, Henry | การผ่าตัดเข้าสู่กระดูกต้นแขนหลังเข่าและปลายขา [การแพทย์] |
Approach, Hibbs | การผ่าตัดเข้าสู่กระดูกสันหลังทางด้านหลัง [การแพทย์] |
Approach, Hodgson | วิธีการผ่าตัดเข้าสู่กระดูกสันหลังทางด้านหน้า [การแพทย์] |
Approach, Huntington | การผ่าตัดเข้าสู่ขาใต้เข่าทางด้านหลังเฉียงนอก [การแพทย์] |
Approach, Langenback | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อเข่าทางด้านหน้าเฉียงใน [การแพทย์] |
Approach, Murphy | การผ่าตัดเข้าสู่ข้อตะโพกด้านข้างแบบเมอร์ฟีย์ [การแพทย์] |
Approach, Surgical | การผ่าตัดเข้าสู่ [การแพทย์] |
Autotransfusion | การถ่ายเลือดของผู้ป่วยเองกลับเข้าสู่ตัวผู้ป่วย [การแพทย์] |
Bacteremia | เชื้อเข้ากระแสเลือด, เชื้อแบคทีเรียชนิดกรัมลบอยู่ในกระแสเลือด, ภาวะมีเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด, เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่กระแสเลือด, เชื้อบัคเตรี, เชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด, เชื้อเข้าสู่กระแสเลือด, เชื้อแบคทีเรีย, จำนวนเชื้อในกระแสเลือด, เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อแบคทีเรียกระจายทั่วไปในเลือด, เชื้อในกระแสเลือด, มีเชื้อในเลือด [การแพทย์] |
adduct | (vt) เคลื่อนหรือดึงเข้าสู่แกนร่างกาย |
adductor | (n) กล้ามเนื้อที่ดึงเข้าสู่แกนร่างกาย |
aerobics | (n) การออกกำลังที่ช่วยให้หายใจเอาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้มากขึ้น |
absorb into | (phrv) ดูดซึม, See also: ดูดซับ, ซึมซับ, ซึมเข้าสู่ |
advance towards | (phrv) เริ่มเข้าสู่สภาพ, See also: กลายเป็น |
at the end of the day | (idm) เมื่อไตร่ตรองทุกอย่างแล้ว (ใช้กล่าวก่อนเข้าสู่สิ่งสำคัญ), See also: เมื่อพิจารณาทุกอย่างแล้ว |
balance | (vt) ทำให้สมดุล, See also: ทำให้เข้าสู่ดุลยภาพ, Syn. equilibrate, equalize, Ant. upset, turn over |
back in circulation | (idm) เข้าสู่สังคมอีกครั้ง |
bring matters to a head | (idm) ทำให้ต้องตัดสินใจเข้าสู่ (บางอย่าง), Syn. come to |
bring to | (phrv) ทำให้เข้าสู่สภาพบางอย่าง, Syn. get into |
burst into | (phrv) เข้าสู่(สภาพ)ทันที, See also: เริ่มทันที, Syn. break into |
draw into | (phrv) แล่นเข้าสู่สถานี (รถไฟ, รถโดยสาร) |
drift towards | (phrv) เข้าสู่ทีละน้อย, See also: เคลื่อนเข้าหาทีละน้อย |
enter into | (phrv) เริ่มตรวจสอบ, See also: เริ่มเข้าสู่รายละเอียด |
fall into | (phrv) เริ่มตกอยู่ในสภาพ, See also: เริ่มเข้าสู่สภาวะ, Syn. get into |
feed into | (phrv) ป้อนเข้าไปใน (เครื่องจักร, โรงเรียน, มหาวิทยาลัย), See also: ป้อนเข้าสู่, หยอดเข้าไปใน |
fly into | (phrv) บินเข้าไปใน, See also: บินเข้าสู่, บินชน |
enter | (vi) เข้า, See also: เข้ามา, เข้าสู่, Syn. come in, get in, go in |
enter | (vt) เข้า, See also: เข้ามา, เข้าสู่, Syn. come in, get in, go in |
get in | (phrv) ได้รับ (สิ่งที่ไม่ต้องการ) เข้าสู่ |
go into | (phrv) เข้าร่วม (กลุ่ม), See also: เริ่มเข้าสู่ ธุรกิจ, วิชาชีพ, Syn. be in |
go to | (phrv) เข้าสู่สภาพของ (บางสิ่ง), Syn. put to |
inject into | (phrv) ฉีดของเหลวเข้าสู่, See also: ฉีดเข้าสู่, พ่นเข้าไปใน, Syn. inject with |
inject with | (phrv) ฉีดของเหลวเข้าสู่, See also: ฉีดเข้าสู่, พ่นเข้าไปใน, Syn. inject into |
get one's foot in the door | (idm) เข้าสู่วงการ, See also: ได้ร่วมงาน |
have one's foot in the door | (idm) เริ่มก้าวแรกของการเข้าสู่วงการ, Syn. get one's foot in the door, Ant. get one's foot in the door |
ileum | (n) ลำไส้เล็กส่วนปลายที่เปิดเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ |
Industrial Revolution | (n) การปฏิวัติอุตสาหกรรม, See also: เริ่มในประเทศอังกฤษช่วงตอนกลางของศตวรรษที่ 18 ก่อนแพร่หลายเข้าสู่ทวีปยุโรปและสหรัฐอเมร |
ingest | (vt) นำเข้าสู่ร่างกายทางปาก, See also: รับประทาน, กิน, Syn. take in, absorb, dine, eat, Ant. fast |
input | (n) ข้อมูล, See also: ข้อมูลซึ่งป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์, Syn. data, Ant. output |
lapse into | (phrv) จมอยู่ใน, See also: ค่อยๆเข้าสู่สภาวะอย่างหนึ่งทีละน้อย, Syn. relapse into |
lapse into | (phrv) ตกลงสู่, See also: เข้าสู่ |
launch into | (phrv) ปล่อย (เรือ) ลง (น้ำ), See also: ส่งเข้าสู่, ปล่อยเข้าสู่ |
lead into | (phrv) นำเข้าสู่ (พูด, เล่นดนตรีฯลฯ), See also: เริ่มเข้าสู่, แนะนำเข้าสู่ |
lead into | (phrv) กระตุ้น, See also: ชักนำเข้าสู่, บังคับให้เข้าสู่ |
let through | (phrv) ยอมรับเข้าสู่, See also: ปล่อยให้ผ่านไปสู่ |
level off | (phrv) เข้าสู่ระดับคงที่ (เครื่องบิน), See also: รักษาระดับ |
level off | (phrv) เข้าสู่ระดับปกติ (ไม่ขึ้นไม่ลง) |
marquee | (n) ที่กำบังคล้ายหลังคาเหนือทางเดินเข้าสู่อาคารขนาดใหญ่, Syn. marquise |
millstream | (n) กระแสน้ำที่ไหลเข้าสู่กังหัน |
mineshaft | (n) ทางแคบและลึกเข้าสู่เหมือง |
multiaccess | (adj) ซึ่งเข้าสู่ระบบพร้อมกันได้ |
pylorus | (n) กระเพาะอาหารส่วนท้ายที่เปิดเข้าสู่ส่วน duodenum |
pass into | (phrv) เข้าสู่สภาพหรือสภาวะ, Syn. get into |
phase in | (phrv) เริ่มดำเนินการ, See also: เข้าเข้าสู่ |
plunge into | (phrv) รีบเข้าสู่ (กิจกรรม, สภาพ), Syn. precipitate into, thrust into |
put in | (phrv) ส่งผู้เล่นเข้าสู่สนาม (กีฬา), Syn. go in |
put on | (phrv) บอกให้ขึ้น (เวที), See also: บอกให้เข้าสู่สนามกีฬา |
put to | (phrv) ทำให้เข้าสู่ / มาถึงสภาพบางอย่าง |
reduce to | (phrv) ทำให้เข้าสู่สภาพ |
adduct | (อะดัคทฺ') vt. เคลื่อนหรือดึงเข้าสู่แกนร่างกาย-addductive adj., -adduction n. |
assembly | (อะเซม'บลี) n. ชุมนุมชน, การชุมนุม, การมั่วสุม, ที่ประชุมสภา, สมัชชา, สัญญาณรวมพล, การเคลื่อน (รถถังหรือทหาร) , เข้าสู่บริเวณหนึ่ง, ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องจักร, Syn. collection, meeting, Ant. dispersal, separation |
autoexec.bat | ชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis : |
avalanche | (แอฟ'วะลานชฺ) n. ก้อนหิมะ (น้ำแข็ง, ดิน, หิน) ที่พังทลายลงมา, สิ่งที่พังทลายลงมา. -vi. พังทลายลงมา -vt. ทะลัก, ทะลักเข้าสู่ |
belligerency | (บะลิจ'เจอเรินซี) n. ภาวะสงคราม, ภาวะเข้าสู่การทำสงคราม, Syn. aggression, Ant. peace |
blowpipe | (โบล'ไพพฺ) n. ท่ออากาศหรือแก๊สที่พุ่งเข้าสู่เปลวไฟ, หลอดเป่ากระสุนอาวุธ, เครื่องทำความสะอาดโพรง |
card feed | ส่วนป้อนบัตรหมายถึง กลไกของเครื่องเจาะบัตร (keypunch) ที่ทำหน้าที่เลื่อนหรือป้อนบัตรเข้าสู่ตำแหน่งที่ต้องการ เช่น เพื่อให้เจาะรูดู keypunch ประกอบ |
chyme | (ไคมฺ) n. อาหารย่อยแล้วในกระเพาะอาหารต่อมาจะเข้าสู่ลำไส้เล็ก, See also: chymous adj. |
commitment | (คะมิท'เมินทฺ) n. การมอบ, การมอบหมาย (หน้าที่ความไว้วางใจ) , การส่งให้พิจารณา, การกักตัวไว้ในโรงพยาบาลโรคจิต, การส่งเข้าคุก, การให้คำมั่นสัญญา, คำสั่งศาลให้กักหรือเข้าคุก, การกระทำความผิด, การพัวพัน, การเข้าสู่สงคราม., Syn. committal, delive |
common user access | การเข้าถึงผู้ใช้ร่วมกันใช้ตัวย่อว่า CUA หมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ |
connivent | (คะไน'เวนท) adj. ซึ่งรวมเข้าสู่จุดเดียวกัน |
cua | (ซียูเอ) ย่อมาจาก คำว่า Common User Access ซึ่งหมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ |
debutante | (เดบ'ยุทานทฺ) n. ผู้ออกโรงครั้งแรกที่เป็นหญิง, หญิงที่เข้าสู่วงสังคมเป็นครั้งแรก, Syn. debutante |
drip | (ดริพ) { dripped, dripping, drips } vi., vt. ไหลเป็นหยด, ออกเป็นหยด, สาดไปทั่ว. n. การไหลออกเป็นหยด, ของเหลวที่หยด, การให้น้ำเกลือหรือของเหลวเข้าสู่ร่างกายทางเส้นเลือดอย่างช้า ๆ ทีละหยด, , Syn. drop, dribble |
facsimile | (แฟคซิม'มะลี) n. สำเนา, vt. อัดสำเนา, ถอดแบบ โทรสารโทรภาพใช้ตัวย่อว่า FAX เป็นระบบสื่อสารข้อมูล ที่เป็น เอกสารและภาพที่ส่งมาในรูปของสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายโทรศัพท์ เครื่องรับ/ส่งแฟกซ์หรือโทรสารนั้น หมายถึง อุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายเครื่องโทรศัพท์ ใช้ส่งและรับข้อความหรือภาพ ผู้รับและผู้ส่งจะต้องใช้กระดาษเป็นสื่อ ปัจจุบัน เราอาจจะต่อสายแฟกซ์ผ่านโมเด็มเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะเป็นการส่งหรือรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เลย ไม่ต้องใช้กระดาษ คล้ายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ |
fax | (แฟคซฺ) n. การถอดแบบหรือทำสำเนาด้วยวิทยุหรือโทรเลข แฟกซ์ (โทรสาร) ย่อมาจากคำว่า facsimile เป็นระบบสื่อสารข้อมูล ที่เป็น เอกสารและภาพที่ส่งมาในรูปของสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายโทรศัพท์ เครื่องรับ/ส่งแฟกซ์หรือโทรสารนั้น หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ ส่งและรับข้อความหรือภาพ ผู้รับและผู้ส่งจะต้องใช้กระดาษ เป็นสื่อ ปัจจุบัน เราอาจจะต่อสายแฟกซ์ผ่านโมเด็มเข้าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะเป็นการส่งหรือรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เลย ไม่ต้องใช้กระดาษ คล้ายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ |
fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) |
file handle | รหัสเข้าสู่แฟ้มหมายถึง รหัสลับที่ใช้เป็นทางเข้าสู่แฟ้มข้อมูลในระบบดอส โดยปกติ เรา เพียงบอกแต่ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการเปิด คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการให้ แต่ถ้าเป็นเรื่องลับ เราอาจสั่งให้ คอมพิวเตอร์นำชื่อไปแปลงเป็นตัวเลขก่อน ตัวเลขเหล่านี้ เรียกว่า " file handle" การเข้าสู่แฟ้มข้อมูล ต้องใช้รหัส เหล่านั้นเท่านั้น |
footing | (ฟุท'ทิง) n. จุดยึดมั่น, รากฐาน, ที่วางเท้า, การเดินเท้า, ความมั่นคง, การลงเท้าอย่างมั่นคง, การย่างเข้าสู่ตำแหน่ง, การเข้ามีความสัมพันธ์, การเพิ่มเข้า, Syn. foundation, basis |
form feed | ป้อนกระดาษหมายถึงอุปกรณ์ส่วนที่ใช้ป้อนกระดาษเข้าสู่จุดสัมผัสของเครื่องพิมพ์ มักใช้กับกระดาษที่ต่อกันเป็นม้วนหรือพับ เช่นกระดาษต่อเนื่อง (continuous paper) |
http | คำย่อ hypertext transfer protocol โปรโตคอลหลังฉากที่ส่งข้อมูลโดยทาง WWW (World Wide Web) โปรโตคอลนี้ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงโปรแกรมลูกค้าเข้าสู่ URL หรือเข้าหาไฮเพอเทกซ์ |
ibm card | บัตรไอบีเอ็มหมายถึงบัตรคอมพิวเตอร์ที่ฮอลเลอริท (Hollerith) เป็นผู้ออกแบบ นำมาใช้เจาะเป็นรู เพื่อสื่อสารนำข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเลิกใช้แล้วดุ card ประกอบ |
introduce | (อินทระดูซ') vt. แนะนำ, นำเข้า, นำสู่, เข้าสู่, เริ่มนำ, อรัมภบท, เกริ่น, เผยแพร่., See also: introducer n. introducible adj., Syn. present |
main line | เส้นสำคัญของถนน, หลอดโลหิตดำหลอดสำคัญที่ผู้ติดยาใช้เป็นทางฉีดยาเสพติดเข้าสู่ร่างกาย |
multifinder | มัลติไฟน์เดอร์หมายถึง ส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ (operating system) ของเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชในการเข้าสู่แฟ้มข้อมูล |
on line processing | การประมวลผลแบบเชื่อมตรงหมายถึง การประมวลผลที่ทำโดยอุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของตัวเครื่อง (เช่นเครื่องอ่านบัตร) หรืออุปกรณ์นั้นจะอยู่ห่างออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับเครื่องได้ เช่น การประมวลผลโดยมีการสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัล (terminal) และหน่วยประมวลผลกลางโดยทางโทรศัพท์ หรือวิธีอื่น ๆ การทำเช่นนี้เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูล ซึ่งจะเข้าสู่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา เช่น ที่ใช้ในการส่งยานอากาศไปนอกโลก การถอนเงินในระบบเงินด่วน เป็นต้น ดู batch processing เปรียบเทียบ |
paseo | (พาเซ'โอ) n. การเดินเล่น, พิธีเข้าสู่สนามวัวของนักสู้ วัวกระทิง |
pineal body | เป็นต่อมเล็ก ๆ ยังไม่ทราบหน้าที่แน่นอน แต่จะหดหายไปเมื่ออายุมากกว่า 7 ปี แต่เชื่อว่าต่อมนี้มีหน้าที่ในการยับยั้งการเจริญเติบโต ช่วยกระตุ้น ACTH ทำให้เข้าสู่วัยรุ่นช้าออกไป |
precipitate | (พรีซิพ'พิเทท) vt. เร่งให้เกิดขึ้น, ทำให้ตกตะกอน, ทำให้ฝนตก, ผลัก, ส่ง, ทุ่ม, โยน. vi. ตกตะกอน, (ฝน) ตก, ถลำเข้าสู่. adj. พุ่งลง, รีบด่วน, หุนหัน, ใจร้อน. n. ตะกอน, See also: precipitateness n. precipitative adj. precipitator n. |
precipitation | (พรีซิพ'พิเท'เชิน) n. การเร่งให้เกิดขึ้น, การตกตะกอน, การถลำเข้าสู่, การพุ่ง, การถลำ, ความใจร้อน, ความเร่งรีบ, ความหุนหันพลันแล่น, ตะกอน, ผลิตผลการรวมตัวกันของไอน้ำในอากาศ (ฝน, หิมะ, ลูกเห็บ, น้ำค้าง) , ปริมาณที่รวมตัวกันดังกล่าว |
pubescent | (พิวเบส'เซินทฺ) adj. ย่างเข้าสู่วัยหนุ่มวัยสาว, เกี่ยวกับpuberty (ดู) ., See also: pubescence, pubescency n. |
punched card | บัตรเจาะรูหมายถึง บัตรที่นำมาเจาะเป็นรู เพื่อเป็นข้อมูลที่จะส่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม การเจาะบัตรให้เป็นรูนี้ต้องเจาะด้วยเครื่องเจาะบัตร (keypunch) ซึ่งมีลักษณะคล้ายพิมพ์ดีด เช่น ถ้าเจาะตัวอักษร A ก็จะมีรูที่คอลัมน์ 1 และ 12 รูต่าง ๆ เหล่านี้ จะเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ (โดยใช้แปรงไฟฟ้าปัดผ่าน) แล้วนำไปเก็บในหน่วยความจำ วิธีส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์แบบนี้ เกือบจะเป็นแบบแรกที่ใช้กัน เดี๋ยวนี้ถือว่าล้าสมัยไปเสียแล้วเพราะไม่สะดวกในการเก็บรักษา กับทั้งสิ้นเปลืองมาก จุข้อมูลน้อยถ้าเทียบกับจานบันทึก นอกจากนั้น ใช้แล้วนำมาใช้อีกไม่ได้ เจาะผิดก็แก้ไขไม่ได้ ต้องทิ้งไป แล้วทำใหม่ ทำให้สิ้นเปลืองดู card ประกอบ |
raster | แรสเตอร์ <คำอ่าน>หมายถึง การที่ลำแสงอิเล็กตรอนผ่านวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วส่งเข้าสู่จอภาพเช่นเดียวกับที่ใช้ในการกราดภาพ (scan) คือการยิงลำแสงอิเล็กตรอนให้ผ่านภาพไปอย่างต่อเนื่องทีละเส้น แล้วส่งขึ้นบนจอภาพ ตั้งแต่บรรทัดบนสุดจนถึงล่างสุด เราจะมองเห็นเส้นใหม่ก่อนที่เส้นเก่าจะหายไป เส้นที่มองเห็นนี้จะรวมกันเป็นภาพที่เราต้องการ เรียกว่าภาพ "แรสเตอร์" |
start button | ปุ่มเริ่มต้นในระบบวินโดว์ 95 และ 98 ปุ่มเริ่มต้นจะอยู่บนแถบงาน (task bar) ที่ด้านล่างซ้ายสุดของจอภาพ จะมองเห็นได้ทันทีที่คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบวินโดว์เรียบร้อยแล้ว ถ้ากดเมาส์ที่ปุ่มนี้ จะมีเมนูให้เลือกสั่งงานได้หลายอย่างดู Start menu ประกอบ |
teleprocessing | การประมวลผลทางไกลหมายถึง การประมวลผลที่มีการส่งข้อมูลมาจากเครื่องปลายทาง (terminal) ที่อยู่ไกลออกไป เข้าสู่คอมพิวเตอร์ที่ศูนย์กลาง การส่งข้อมูลอาจใช้ผ่านสายโทรศัพท์ สายเคเบิล ใยแก้ว ดาวเทียม ฯ ก็ได้ ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นทั่วไป คือการเบิกเงินจากตู้เอทีเอ็ม (ATM) แต่ละตู้จะทำหน้าที่เป็นเครื่องปลายทางส่งข้อมูลเข้าไปยังศูนย์ที่สำนักงานใหญ่เพื่อทำการประมวลผล |
touch pad | แผ่นสัมผัสหมายถึง อุปกรณ์การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่ง ที่สามารถป้อนข้อมูลเข้าได้โดยเพียงสัมผัสที่จุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นสัมผัสนั้น ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นสัญญาณป้อน เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ |
verge | (เวิร์จฺ) n. ร่ม, ซอย, ปาก, คทา, กระเบื้องเหนือขั้ว. vi. ใกล้จะ, เกือบจะ, ย่างเข้าสู่, คล้อย, มีแนวโน้ม, โน้มเอียง, เอียง, ลาด, Syn. edge, brink, limit, border |