พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, ยืมจมูกคนอื่นหายใจ หรือ เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ ก็ว่า. |
ยืมจมูกคนอื่นหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ ก็ว่า. |
สระอื้น | (สฺระ-) ก. สะอื้น. |
สะอึกสะอื้น | ก. ร้องไห้ร่ำไรมีเสียงสะอื้นเป็นห้วง ๆ เช่น เด็กถูกตี หลังจากหยุดร้องไห้แล้วก็ยังสะอึกสะอื้นอยู่. |
สะอึกสะอื้น | ว. อาการที่ร้องไห้รํ่าไรมีเสียงสะอื้นเป็นห้วง ๆ เช่น แม่ตีทีเดียว ร้องไห้สะอึกสะอื้นไปตั้งชั่วโมง. |
สะอื้น | ก. ถอนใจสะท้อนเป็นระยะ ๆ เพราะร้องไห้มากเนื่องจากเสียใจระทมใจเป็นต้น, ถอนใจสะท้อนเป็นระยะ ๆ. |
อื่น | ว. นอกออกไป, ต่างออกไป. |
อื้น | ก. พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคำ, เอิ้น หรือ เอื้อน ก็ว่า. |
เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ ยืมจมูกคนอื่นหายใจ ก็ว่า. |
กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). |
กบทูด | น. ชื่อกบภูเขาขนาดใหญ่ที่สุดชนิด Rana blythii Boulenger ในวงศ์ Ranidae ปากค่อนข้างแหลมเมื่อเทียบกับชนิดอื่น กระดูกขากรรไกรบนยาวแหลมออกมาคล้ายเขี้ยว ขนาดลำตัวอาจยาวถึง ๓๐ เซนติเมตร อาศัยในป่าดงดิบชื้นตามลำธารบนภูเขา, พายัพเรียก เขียดแลว. |
ก้มหน้าก้มตา | ก. ทำโดยไม่มองดูสิ่งอื่น, ทำโดยตั้งใจ, เช่น ก้มหน้าก้มตาทำไปจนกว่าจะสำเร็จ. |
กรด ๑ | (กฺรด) น. สารอย่างหนึ่ง มีรสเปรี้ยว โดยปรกติกัดหรือทำให้สิ่งอื่นแปรไป |
กรด ๑ | สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายโปรตอนให้แก่สารอื่นได้ |
กรด ๑ | สารเคมีที่มีสมบัติรับอิเล็กตรอนคู่หนึ่งมาจากสารอื่นได้. |
กรมนา | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาเกษตราธิบดีฯ หรือเจ้าพระยาพลเทพฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือตราพระพิรุณทรงนาคและตราอื่น ๆ รวม ๙ ดวง. |
กรรโชก | (กัน-) น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
กรรมสิทธิ์ | สิทธิทั้งปวงที่ผู้เป็นเจ้าของมีอยู่เหนือทรัพย์สิน ในอันที่จะใช้สอย จำหน่าย ได้ดอกผล ติดตามและเอาคืน รวมทั้งขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. |
กรอง ๓ | (กฺรอง) น. กำไล, โดยมากใช้ประกอบกับคำอื่น ๆ เช่น กรองเชิง = กำไลเท้า กรองได = กำไลมือ กรองศอ = เครื่องประดับคอ, นวมคอ, เช่น กรองศอซ้อนสลับทับอังศา (อิเหนา). [ ข. กง (กอง) ว่า กำไล, วงกลม ]. |
กระ ๓ | น. จุดดำ ๆ หรือจุดน้ำตาลขึ้นประปรายที่ผิวกายคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ, ประ ก็ว่า. |
กระจัง ๑ | น. ชื่อลายอย่างหนึ่ง อยู่ในรูปทรงสามเหลี่ยม ใช้เป็นลวดลายสำหรับเครื่องประดับที่อยู่บนชั้นหรือตามขอบของสิ่งบางอย่าง เช่น ชั้นฐานธรรมาสน์ กระจังมีหลายแบบ เช่น กระจังตาอ้อย กระจังเจิม กระจังปฏิญาณ, เครื่องประดับที่มีลวดลายชนิดนี้ เรียกว่า ตัวกระจัง ใช้ประดับบนลับแลและอื่น ๆ. |
กระซิบ | ก. พูดเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระซุบ เป็น กระซุบกระซิบ. |
กระซู่ | น. ชื่อแรดชนิด Dicerorhinus sumatrensis (Fischer) ในวงศ์ Rhinocerotidae เป็นแรดขนาดเล็กที่สุด มี ๒ นอ ขนดกกว่าแรดชนิดอื่น อาศัยอยู่ในแถบเอเชีย เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย. |
กระดาษ | น. วัตถุเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมากทำจากใยเปลือกไม้ ฟาง หญ้า หรือ เศษผ้า เป็นต้น ใช้เขียนหรือพิมพ์หนังสือหรือห่อของและอื่น ๆ. |
กระดาษเพลา | (-เพฺลา) น. กระดาษสาชนิดบาง โบราณใช้ร่างหนังสือด้วยดินสอดำหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ใช้ปิดหุ่นหัวโขนและหุ่นอื่น ๆ. |
กระดี่ ๔ | ก. เคลื่อนย้ายวัตถุที่มีน้ำหนักมากซึ่งเคลื่อนย้ายยาก เช่นเสา เสาเข็ม หรืออื่น ๆ วิธีคือนำไม้หรือวัตถุอื่นที่มีความยาวและแข็งแรงพอ มาปักลงบนพื้นให้ปลายไม้ล้ำเข้าไปใต้วัตถุด้านตรงข้ามกับทิศทางที่ต้องการจะเคลื่อนย้าย แล้วงัดวัตถุนั้นให้เคลื่อนที่. |
กระติ๊ด ๑ | น. ชื่อนกขนาดเล็ก ในวงศ์ Estrildidae ปากสั้นหนารูปกรวยปลายแหลม หัวกลม ลำตัวอ้วนป้อม มีหลายสี ปลายหางแหลม ใช้หญ้าทำรังเป็นรูปกลมอยู่บนพุ่มไม้เตี้ย ๆ หรือกอหญ้า ปากรังอยู่ทางด้านข้าง กินเมล็ดพืช มีหลายชนิด ที่พบมาก คือ กระติ๊ดขี้หมู [ Lonchura punctulata (Linn.) ] ชนิดอื่น ๆ เช่น กระติ๊ดเขียวหรือไผ่ [ Erythrura prasina (Sparrman) ] กระติ๊ดแดงหรือสีชมพูดง [ Amandava amandava (Linn.) ] กระติ๊ดท้องขาว[ Lonchura leucogastra (Blyth) ], กะทิ ก็เรียก. |
กระถาง | น. ภาชนะปากกว้าง มีรูปต่าง ๆ สำหรับปลูกต้นไม้ หรือใส่ของอื่น ๆ เช่น กระถางต้นไม้ กระถางธูป. |
กระโถนท้องพระโรง | น. ผู้ที่ต้องรองรับภาระงานหรืออารมณ์ของผู้อื่นอยู่คนเดียว. |
กระทบ | ก. โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย), หรือ ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย), พูดหรือทำให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด. |
กระทิงโทน | น. กระทิงที่ชอบแยกออกจากฝูงโดยสมัครใจหรือถูกตัวผู้อื่นไล่ออกจากฝูงให้อยู่โดดเดี่ยว. |
กระบอก ๑ | น. ไม้ไผ่ที่ตัดเป็นท่อน, ของอื่น ๆ ที่มีรูปคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กระบอกปืน กระบอกตา |
กระเบื้อง ๑ | น. วัสดุใช้มุงหลังคา ทำผนังหรือปูพื้น เป็นต้น ทำด้วยดินเผาหรือซีเมนต์ หรือวัสดุอื่น ๆ มักทำเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม มีขนาดต่าง ๆ อาจมีสีหรือลวดลายก็ได้, เครื่องถ้วยชามที่ปั้นด้วยดินประสมอย่างดี เนื้อมีลักษณะแข็งและขาว เคลือบผิวเป็นมัน มีพื้นหรือลวดลายเป็นสีต่าง ๆ เรียกรวมว่า เครื่องกระเบื้อง, ชิ้นของเครื่องกระเบื้องที่แตกออก, กระทะแบน ๆ สำหรับละเลงขนมเบื้องเป็นต้น เดิมทำด้วยดินเผา แต่ปัจจุบันทำด้วยโลหะ |
กระสอบ | น. เครื่องสานหรือทอด้วยต้นกระจูดหรือป่านปอเป็นต้น สำหรับบรรจุข้าวและของอื่น ๆ. |
กราน ๒ | (กฺราน) ใช้เข้าคู่กับคำอื่น หมายความว่า ทอดตัว หรือ ล้มตัวลงราบ เช่น ก้มกราน หมอบกราน, หมายความว่า คํ้า, ยัน, เช่น ยันกราน ยืนกราน, ในบทกลอนใช้โดยลำพังก็มี เช่น ก็กรานในกลางรณภู (สมุทรโฆษ), พระรามตัดตีนสินมือเสีย กรานคอไปไว้ที่นอกเมือง (มโนห์รา), โบราณเขียนเป็น กราล ก็มี. |
กราฟ | น. แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพ เป็นต้น เพื่อแสดงความเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรตัวหนึ่งเทียบกับความเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรตัวอื่น |
กริยานุเคราะห์ | น. กริยาที่ใช้ช่วยกริยาอื่น เช่น คง จะ ถูก น่า, กริยาช่วย ก็ว่า. |
กรุ ๑ | (กฺรุ) น. ห้องที่ทำไว้ใต้ดิน ใต้พระเจดีย์ เป็นต้น สำหรับเก็บพระพุทธรูปและสิ่งมีค่าอื่น ๆ, โดยปริยายหมายถึงกระทรวง ทบวง กรม ที่ข้าราชการในสังกัดถูกเรียกตัวเข้ามาอยู่ประจำ โดยมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ใด ๆ เพื่อเป็นการลงโทษหรือก่อนเกษียณอายุราชการ ในความว่า เรียกเก็บเข้ากรุ. |
กรุ่ม | (กฺรุ่ม) ก. ขันบ่อย ๆ (ปรกติใช้แก่นกเขา แต่ใช้แก่นกอื่นก็มีบ้าง) เช่น บางพวกจับเป็นคู่คูขันกันโดยธรรมดา เวลากรุ่มกำลังที่ตั้งขึ้นตามฤดู (ม. ร. ๔ วนปเวสน์) |
กลฉ้อฉล | (กน-) น. การใช้อุบายหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือการจงใจปิดบังซ่อนเร้นข้อความจริงเพื่อให้ผู้อื่นหลงผิดจนเข้าทำนิติกรรม หรือจนคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันเป็นภาระอันหนักขึ้นกว่าที่คู่กรณีฝ่ายนั้นจะยอมรับโดยปรกติ. |
กลบ | (กฺลบ) ก. เอาสิ่งซึ่งเป็นผงโรยทับข้างบนเพื่อปิดบัง เช่น เอาขี้เถ้าไปกลบขี้แมว, เอาดินหรือสิ่งอื่น ๆ ใส่ลงไปในที่เป็นหลุมเป็นบ่อ หรือเป็นแอ่งเพื่อให้เต็มหรือไม่ให้เห็นร่องรอย, โดยปริยายหมายความว่า ปิดบัง เช่น กลบความ, ทดแทน เช่น ให้เอาสินไหมมากลบทรัพย์นั้นเสีย (กฎ. ราชบุรี). |
กลอง | (กฺลอง) น. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ขึงด้วยหนัง ใช้ตีบอกสัญญาณ กำกับจังหวะ หรือใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่น ๆ ตัวกลองเรียกว่า “หุ่น” ลักษณะกลมกลวงทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่นไม้ชิงชัน ไม้มะริด ไม้มะม่วง มีทั้งหน้าเดียวและ ๒ หน้า ที่ขึ้นหนังหน้าเดียว เช่น โทน กลองยาว รำมะนา ที่ขึ้นหนัง ๒ หน้า เช่น กลองทัด ตะโพน เปิงมาง กลองแขก กลองมลายู กลองชนะ การขึ้นหนังมีทั้งที่ใช้หมุดตรึงให้แน่น และใช้โยงเร่งเสียงด้วยสายหนัง เรียกว่า หนังเรียด หรือใช้หวายหรือลวด ยังมีกลองที่หล่อด้วยโลหะทั้งลูก แต่มิได้ขึงด้วยหนัง ก็มี เช่น มโหระทึก และกลองที่ทำด้วยดินเผา การตีกลองอาจใช้ไม้ตี มือ (ฝ่ามือ) หรือนิ้ว เพื่อให้เกิดเสียงดังก้อง, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก. |
กลองจีน | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง ได้แบบมาจากจีน ใช้บรรเลงเพลงสำเนียงจีน มักทำด้วยไม้แผ่นประกอบกันเข้าเป็นรูปกลม ไม่ได้ขุดให้กลวงเหมือนกลองอย่างอื่น. |
กลับกลาย | ก. เปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นไป. |
กล้า ๑ | (กฺล้า) น. ต้นข้าวอ่อนที่เพาะจากข้าวเปลือกสำหรับย้ายไปปลูกที่อื่น, โดยอนุโลมเรียกพืชที่เพาะไว้สำหรับย้ายไปปลูกในที่อื่น ว่า กล้า เช่น กล้าพริก กล้ามะเขือ. |
กลาย | (กฺลาย) ก. เปลี่ยนไป, แปรปรวนไป, เช่น หน้าหนาวกลายเป็นหน้าร้อน, เป็นอื่นไป, แปลงไป, เช่น ศรกลายเป็นทิพย์กระยาหาร เปรี้ยวหวานตกลงตรงหน้า (รามเกียรติ์ ร. ๒), (โบ; กลอน) ใช้ในความว่า กราย ก็มี เช่น ไปกลายบ๋านชองตนกดี (จารึกสยาม), จักเจริญสวัสดิภาพศักดิศรี ศัตรูไพรี บห่อนจะใกล้กลายตน (โชค–โบราณ). |
กล่าวขวัญ | ก. พูดถึง, พูดออกชื่อและการกระทำของคนอื่น. |
กลิ่น ๑ | (กฺลิ่น) น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยจมูก คือ เหม็น หอม และอื่น ๆ, บางทีใช้หมายความว่า เหม็น เช่น แกงหม้อนี้เริ่มมีกลิ่น, โดยปริยายหมายความว่า ลักษณะไม่น่าไว้วางใจ เช่น เรื่องนี้ชักมีกลิ่น การประมูลครั้งนี้เริ่มส่งกลิ่น. |
กลีบ | (กฺลีบ) น. ส่วนของสิ่งเช่นดอกไม้ ผลไม้ที่เรียงชิดกันหรือซ้อนกัน เช่น กลีบดอก กลีบมะเฟือง กลีบกระเทียม, ใช้เรียกของอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น กลีบตา กลีบผ้า กลีบเมฆ |
กลืน | (กฺลืน) ก. อาการที่ทำให้อาหารหรือสิ่งอื่น ๆ ที่อยู่ในปากล่วงลำคอลงไป, โดยปริยายใช้หมายถึงอาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น ก็ใช้ว่า กลืน ได้ ในความหมายเช่นทำให้หายหรือให้สูญไป เช่น ถูกกลืนชาติ, อดกลั้นไม่สำแดงให้ปรากฏออกมา เช่น กลืนทุกข์ กลืนโศก, ประสานกันหรือเข้ากันได้สนิทดี เช่น สีกลืนกัน. |
บุคคลอื่น | [bukkhon eūn] (pr) EN: others |
อื่น | [eūn] (x) EN: other ; else ; another FR: autre ; différent ; distinct |
อื่น ๆ | [eūn-eūn] (x) EN: others FR: autres ; divers ; d'autres |
ค่าใช้จ่ายอื่น | [khāchaijāi eūn] (n, exp) EN: sundries FR: autres dépenses [ fpl ] |
คนอื่น | [khon eūn] (n, exp) EN: others ; the others ; other ones ; other people FR: quelqu'un d'autre ; autrui ; les autres (personnes) |
ความรับผิดในการกระทำของผู้อื่น | [khwām rapphit nai kān kratham khøng phū eūn] (n, exp) EN: vicarious liability |
ก่อนอื่น | [køn eūn] (adv) EN: firstly ; first and foremost ; first of all FR: tout d'abord ; avant tout ; avant toute chose |
และอื่น ๆ | [lae eūn-eūn] (x) FR: etc. (abrév.) ; et cetera = et caetera ; et le reste ; et ainsi de suite |
แหล่งข้อมูลอื่น | [laēng khømūn eūn] (n, exp) EN: external link [ m ] FR: lien externe [ m ] |
ไม่มีที่อื่น | [mai mī thī eūn] (xp) EN: nowhere else ; not found anywhere else FR: nulle part ailleurs ; il n'y a aps d'autre endroit |
เป็ดน้ำที่ทำรังในโพรงไม้สูงและอื่นๆ | [pet nām thī tham rang nai phrōng māi sūng lae eūn eūn] (n, prop) EN: perching duck |
ผู้อื่น | [phū eūn] (pr) EN: others ; stranger ; someone else ; another FR: autre ; autres |
ผู้อื่น | [phū eūn] (x) EN: stranger FR: tiers |
รายได้อื่น ๆ | [rāidāi eūn-eūn] (pref, (n)) EN: other income FR: autres revenus |
ร้องสะอื้น | [røng sa eūn] (v) EN: sob FR: sangloter |
สะอึกสะอื้น | [sa-euk sa-eūn] (v) EN: sob ; weep ; wail ; mourn FR: larmoyer ; sangloter |
สะอื้น | [sa-eūn] (v) EN: sob FR: sangloter |
ทำตัวให้เหนือกว่าผู้อื่น | [thamtūa hai neūa kwā phū eūn] (v, exp) EN: give oneself airs FR: se donner un genre ; prendre de grands airs ; faire l'important ; frimer |
ที่อื่น | [thī eūn] (x) EN: elsewhere ; other place FR: ailleurs ; autre part |
อย่างอื่น | [yāng eūn] (x) FR: autrement ; d'une autre manière ; d'une autre façon |
bemoan | (บิโมน') { bemoaned, bemoaning, bemoans } v. คร่ำครวญ, ร้องไห้สะอึกสะอื้น แสดงความสงสารต่อ, Syn. weep, Ant. rejoice |
blubber | (บลับ'เบอะ) n. เปลวไขมันระหว่างผิวหนังและกล้ามเนื้อของปลาวาฬ, การร้องไห้สะอึกสะอื้น vi. ร้องไห้สะอึกสะอื้น adj. บวม, โป่งออก, เป็นมัน, See also: blubberer n., Syn. weep |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
maudlin | (มอด'ลิน) adj. สะอึกสะอื้น, ซึ่งทำให้เศร้า, ชวนให้เศร้าหรือเร้าอารมณ์., See also: maudlinism n. maudlinly adv. -maudlinness n., Syn. sentimental |
sob | (ชอบ) vi., vt., n. (การ) ร้องไห้สะอึกสะอื้น, ร่ำไห้, สะอื้น, ทำเสียงสะอื้น, เสียงสะอึกสะอื้น, เสียงร่ำไห้, Syn. cry, weep, keen, wail |
sobbingly | (ซอบ'บิงลี่) adv. อย่างสะอึกสะอื้น |
wail | (เวล) vi. vt., n. (การ, เสียง) คร่ำครวญ, ร้องคร่ำครวญ, ร่ำไห้, ร้องโหยหวน, (ลม) พัดเสียงดังโหยหวน, ร้องสะอึกสะอื้น, See also: wailer n. wailingly adv., Syn. mourn, grieve, cry |
whine | (ไวน์) vi. vt. (สุนัข) คราง, ร้องเสียงต่ำ, หอน, บ่นอู้อี้, ส่งเสียงครวญคราง, พูดเสียงสะอื้น, พูดอย่างหงุดหงิด, บ่นพึมพำ, n. การส่งเสียงดังกล่าว, เสียงดังกล่าว, See also: whiner n. |
yammer | (แยม'เมอะ) vi., vt., n. (การ) คราง, บ่น, สะอื้น, พูดอย่างสะอื้น, พูดเสียงดังและยืดยาว |