กฎกระทรวง | น. ข้อกำหนดที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายที่ให้ออกกฎกระทรวง, เดิมเรียกว่า กฎเสนาบดี ถ้าเป็นข้อกำหนดที่นายกรัฐมนตรีออก เรียกว่า กฎสำนักนายกรัฐมนตรี. |
กฎทบวง | น. ข้อกำหนดที่รัฐมนตรีว่าการทบวงออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายที่ให้ออกกฎทบวง. |
คำสั่งทางปกครอง | น. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ. |
มนู | น. ชื่อพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก มี ๑๔ องค์ เรียงกันเป็นยุค ๆ ไป, ยุคหนึ่งเรียกว่า มนวันดร นานกว่า ๔, ๐๐๐, ๐๐๐ ปี องค์แรก คือ พระสวายมภูวะ พระมนูองค์นี้ถือกันว่าเป็นผู้ทรงออกกฎหมายหรือธรรมศาสตร์ซึ่งยังมีอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้เรียกว่า มนุสัมหิตา หรือ มนุสมฺฤติ, เพราะฉะนั้น คำ มนู จึงหมายถึงกฎหมายก็ได้ เช่น มนูกิจ. |
ออก ๓ | ทำให้เกิดขึ้น มีขึ้น เช่น ออกกฎหมาย |
power, rule-making | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legislation | ๑. การออกกฎหมาย, การตรากฎหมาย๒. กฎหมาย, บทบัญญัติแห่งกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legislation, direct | การออกกฎหมายโดยทางตรง, การออกกฎหมายโดยประชามติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lobbying | การวิ่งเต้นหาเสียงในการออกกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legislation, reciprocal | การออกกฎหมายต่างตอบแทน (ระหว่างมลรัฐ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legislative blackmail | การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reciprocal legislation | การออกกฎหมายต่างตอบแทน (ระหว่างมลรัฐ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rule-making power | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
blackmail, legislative | การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constitutional limitations | ข้อจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยรัฐธรรมนูญ (ในการออกกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
direct legislation | การออกกฎหมายโดยทางตรง, การออกกฎหมายโดยประชามติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
direct initiative | การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางตรง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
indirect initiative; initiative, indirect | การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางอ้อม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
initiative | ๑. การริเริ่ม๒. การริเริ่มออกกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
initiative, direct | การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางตรง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
initiative, indirect; indirect initiative | การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางอ้อม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
War and emergency legislation | การออกกฎหมายในภาวะสงครามและภาวะฉุกเฉิน [TU Subject Heading] |
Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] |
International Civil Aviation Organization | องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2490 โดยอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (Convention on International Civil Aviation) มีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นหน่วยงานกลางระหว่างประเทศสมาชิก ในการออกกฎ ระเบียบ และ ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการบินพลเรือน ปัจจุบันมีสมาชิก 185 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา " [การทูต] |
prescriptive power | อำนาจในการออกกฎหมาย [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
enact | (vt) ออกกฎหมาย, See also: ออกพระราชบัญญัติ, ออกพระราชกำหนด, Syn. decree, legislate, ordain |
enactment | (n) การประกาศใช้เป็นกฎหมาย, See also: การบัญญัติ, การออกกฎหมาย |
legislate against | (phrv) ออกกฎหมายต่อต้าน, See also: บัญญัติกฎหมายคัดค้าน |
legislate | (vt) ออกกฎหมาย |
legislate | (vi) ออกกฎหมาย |
legislation | (n) การออกกฎหมาย, See also: การออกพระราชบัญญัติ, การบัญญัติกฎหมาย, Syn. legislating, lawmaking |
legislative | (adj) เกี่ยวกับการออกกฎหมาย, See also: เกี่ยวกับการบัญญัติกฎหมาย |
lobby | (vi) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง, See also: วิ่งเต้น, Syn. solicit, beg |
lobby | (vt) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง, See also: วิ่งเต้น |
legislate | (เลจ'จิสเลท) vi. ออกกฎหมาย, บัญญัติกฎหมาย., Syn. ordain, enact |
lobby | (ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb |
ordain | (ออร์เดน') vt. บวช, ทำให้เป็นพระ, บัญญัติ, ออกคำสั่ง, ออกกฎหมาย, กำหนด, ลิขิต, ดลบันดาล. vi. ออกคำสั่ง, บัญญัติ., See also: ordainable adj. ordainment n. |
formulation | (n) การบัญญัติ, การกำหนด, การวางหลักเกณฑ์, การออกกฎ |
lawgiver | (n) ผู้ออกกฎ, ผู้บัญญัติกฎ |
lawmaker | (n) ผู้บัญญัติกฎหมาย, ผู้ออกกฎ, ผู้ร่างกฎหมาย |
legislate | (vi) ออกกฎหมาย, ออกพระราชบัญญัติ, ตรากฎหมาย |
legislation | (n) นิติบัญญัติ, การออกกฎหมาย, การบัญญัติกฎหมาย |
legislator | (n) สมาชิกสภานิติบัญญัติ, ผู้ออกกฎหมาย, ผู้แทนราษฎร, ผู้บัญญัติกฎหมาย |
regulate | (vt) วางระเบียบ, ออกกฎ, บังคับ, กำหนด, ตั้ง |