หนู | (n) rat, See also: mouse, Example: หนูเป็นสัตว์ที่เกือบไม่มีประโยชน์ต่อมนุษย์เลย, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีฟันแทะ มีอยู่ทั่วไปตามบ้านเรือนและถิ่นธรรมชาติ |
นมหนู | (n) jet nipple, See also: nozzle, jet, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ส่วนของเครื่องใช้เป็นปุ่มมีรูเพื่อให้ฉีดน้ำมันออกมา |
อีหนู | (n) mistress, See also: kept woman, fancy woman, concubine, Syn. ภรรยาน้อย, ภรรยาลับ, เมียน้อย, เมียลับ, Example: เขามี อีหนู ทำนองเมียน้อย หรือเมียเก็บคอยปรนนิบัติอยู่ในที่พำนัก, Count Unit: คน |
คุณหนู | (n) child, Syn. หนูน้อย, พ่อหนู, เจ้าหนู, Example: คุณหนูมักจะผวาเวลาหลับ, Count Unit: คน, Thai Definition: คำเรียกลูกของเจ้านาย |
พ่อหนู | (n) boy, Ant. แม่หนู, Example: ใบหน้าของตรีนับวันจะอ้วนกลมเพราะพ่อหนูกินเก่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: คำนำหน้าที่ใช้เรียกผู้ชายวัยอ่อนกว่าด้วยความเอ็นดู |
ฟันหนู | (n) two strokes placed on the vowel sign ( ), Example: ข้อความที่อยู่ในฟันหนูให้ใช้ตัวเอนแทนตัวธรรมดา, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อเครื่องหมาย 2 ขีดดังนี้ สำหรับเขียนบนสระ ิ ให้เป็น สระ ื |
ลูกหนู | (n) biceps, See also: bulge of a muscle, Thai Definition: ส่วนที่นูนขึ้นบนกล้ามเนื้อเวลาเอามือดึงหรือฟันที่แขน |
ลูกหนู | (n) string-running rocket, See also: kind of firework, Count Unit: ดอก, Thai Definition: ดอกไม้ไฟที่จุดให้แล่นไปตามสายลวด |
สารหนู | (n) arsenic, See also: arsenious acid, white arsenic, ratsbane, Syn. สารหนูขาว, Example: สีผสมอาหารบางชนิดมีสารหนูเป็นส่วนประกอบ ถ้ารับประทานเข้าไปมากๆ อาจมีอันตรายถึงชีวิต, Thai Definition: ธาตุลำดับที่ 33 สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มี 3 อัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดำ และสารหนูสีเหลือง เป็นธาตุที่มีพิษอย่างร้ายแรง |
ไอ้หนู | (pron) boy, Ant. อีหนู |
ผ้าขนหนู | (n) towel, See also: terry cloth, wash cloth, bath towel, Example: วันนี้ฝนตก ผ้าขนหนูที่ตากไว้เลยไม่แห้ง, Count Unit: ผืน, Thai Definition: ผ้าสำหรับใช้ห่มหรือเช็ดตัว |
หนูตะเภา | (n) guinea pig, Example: ชนิดของสัตว์ที่ใช้ทดลองที่สถานเสาวภาเช่นหนูตะเภา, กระต่าย, สุนัข, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อหนูชนิด Cavia porcellus ในวงศ์ Caviidae ขนปุย หางสั้น มีหลายสี เช่น ขาว น้ำตาล ดำ มีถิ่นกำเนิดในประเทศเปรู มักใช้ในการทดลองทางการแพทย์ |
หนูทดลอง | (n) guinea pig, Syn. ตัวทดลอง, Example: พ่อแม่เด็กเหล่านี้ไม่ทราบว่าลูกๆ ของตนได้กลายเป็นหนูทดลองของพี่เลี้ยงมือใหม่เหล่านี้ไปเรียบร้อยแล้ว, Thai Definition: ผู้ที่เป็นเครื่องมือให้ผู้อื่นทดลองทำสิ่งต่างๆ |
สารหนูขาว | (n) arsenic, See also: arsenious acid, white arsenic, ratsbane, Syn. สารหนู, Example: อาการของผู้ที่กินสารหนูขาวเข้าไปจะอาเจียนและช็อกหมดสติได้, Thai Definition: สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีบางประเภทและยาฆ่าแมลง |
แปรงหูหนู | (n) Dendrolobiam lanceolatum Schindi, Syn. ต้นแปรงหูหนู, กระดูกเขียด, แกลบหนู, แกลบหูหนู, กระดูกอึ่ง, ขมิ้นยา, ขมิ้นลิง, ลูกประคำผี, หน้านวล, อีเหนียว, เหนียวหมา, Example: แปรงหูหนูเป็นชื่อไม้พุ่มชนิดหนึ่งที่ใช้ทำยาสมุนไพรได้, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้พุ่มที่มักขึ้นในที่โล่งต่ำซึ่งชุ่มแฉะในฤดูฝน ฝักเล็กแบนคอดกิ่วเป็นข้อๆ ใช้ทำยาได้ |
พริกขี้หนู | (n) guinea-pepper, See also: bird-chilli, Syn. พริกแกว, Example: ข้าวมันส้มตำไม่น่าจะเผ็ด หากเขาไม่เผลอเคี้ยวพริกขี้หนูเข้าไป, Count Unit: เม็ด, Thai Definition: ชื่อพันธุ์พริกเม็ดเล็กที่มีรสเผ็ดร้อน |
กะเพียด, กะเพียดช้าง, กะเพียดหนู | ดู หนอนตายหยาก (๑). |
แกลบหนู, แกลบหูหนู | (แกฺลบ-) ดู กระดูกอึ่ง. |
ขนหนู | น. เรียกผ้าที่มีลักษณะเป็นขนขดใช้ห่มหรือเช็ดตัวเป็นต้น ว่า ผ้าขนหนู. |
ขี้หนู ๑ | น. ชื่อพริกชนิด Capsicum frutescens L. ในวงศ์ Solanaceae เม็ดเล็ก, พริกแกว ก็เรียก. |
ขี้หนู ๑ | ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Plectranthus rotundifolius (Poir.) Spreng. ในวงศ์ Labiatae หัวกินได้ เรียกว่า มันขี้หนู. |
ขี้หนู ๒ | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งข้าวเจ้าโม่ทับน้ำ ยีให้ร่วนแล้วนึ่งให้สุก ใส่น้ำเชื่อม เคล้าให้ฟูเป็นเม็ดเล็ก ๆ คล้ายเม็ดทราย โรยด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด. |
แขยงหนู | (ขะแหฺยง-) น. ชื่อปลาแขยงชนิดหนึ่ง, แขยงวัง ก็เรียก. (ดู แขยง ๑). |
แขยงหนู | ดู มังกง. |
จอกหูหนู | น. ชื่อผักกูดหรือเฟินนํ้า ชนิด Salvinia cucullata Roxb. ex Bory ในวงศ์ Salviniaceae ลอยอยู่บนผิวนํ้า มีรากเป็นฝอยยาวคล้ายจอก ที่ต่างกับจอก คือ มีใบ ๒ ใบอยู่ตรงข้ามกัน ก้านใบสั้น ตัวใบกลม สีเขียวแก่ โคนใบเว้าเข้าเล็กน้อย ตั้งชูขึ้นคล้ายหูหนู. |
ชบาหนู | น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิด ในสกุล Malvaviscus วงศ์ Malvaceae ลักษณะคล้ายดอกชบาแต่ดอกเล็กกว่าและไม่บาน ชนิด M. arboreus Cav. ดอกตั้ง, ชบาแคระ ก็เรียก, ชนิด M. penduliflorusDC . ดอกห้อยลง, ชบาร่ม ก็เรียก. |
ตะพานหนู | น. สะพานหนู. |
ตาหนู ๑ | น. มะกลํ่าตาหนู. (ดู มะกลํ่า). |
ตาหนู ๒ | ลักษณะของสิ่งของที่อยู่ภายในแพลมออกมาข้างนอกแต่เล็กน้อย. |
นมหนู | น. ส่วนของปืนที่สวมแก๊ปเพื่อให้ประกายเข้าไปเผาดินปืนข้างใน |
นมหนู | ส่วนของเครื่องใช้เป็นปุ่มมีรูเพื่อให้ฉีดน้ำมันออกมา เช่น นมหนูตะเกียง นมหนูเครื่องยนต์. |
เบญจมาศหนู | ดู เก๊กฮวย. |
แปรงหูหนู | ดู กระดูกอึ่ง. |
ผ้าขนหนู | น. ผ้าที่มีลักษณะเป็นขนขด ใช้ห่มหรือเช็ดตัวเป็นต้น. |
ฟันหนู | น. ชื่อเครื่องหมาย ๒ ขีด รูปดังนี้ ' สำหรับเขียนบนสระ ิ ให้เป็น สระ ื , มูสิกทันต์ ก็ว่า. |
มันขี้หนู | ดู ขี้หนู ๑ (๒). |
ไม้เสียบหนู ๑ | น. ไม้ที่เสียบขัดกับไม้ข้างควายที่ขนาบจากหลบหลังคาเรือน. |
ไม้เสียบหนู ๒ | น. เครื่องหมายสระ รูปดังนี้ ่ สำหรับเขียนบนพินทุ อิ เป็น สระอี, ไม้ฝนทอง ก็เรียก. |
ยี่หุบหนู | ดู ยี่หุบ. |
ลำเจียกหนู | ดู การะเกด. |
ลูกหนู ๑ | น. ดอกไม้ไฟที่จุดให้แล่นไปตามสายลวด. |
ลูกหนู ๒ | น. ส่วนที่นูนขึ้นบนกล้ามเนื้อเวลาเอามือดึงหรือฟันที่แขน, ต่อมนํ้าเหลืองที่โตขึ้นและคลำได้เป็นก้อนบริเวณใต้หูใต้ขากรรไกรล่างและใต้คาง. |
ลูกหนู ๓ | น. เครื่องมือช่างชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับตัดและขัดกระเบื้องปูพื้น. |
เล็กพริกขี้หนู | ว. เล็กแต่เก่งกล้าสามารถมาก, เล็กแต่มีพิษสง. |
เลื่อยหางหนู | น. เครื่องมือสำหรับฉลุหรือโกรกไม้ ใบเลื่อยมีลักษณะเป็นแถบยาวปลายเรียวแหลม ที่โคนมีด้ามทำด้วยไม้เป็นรูปขอสำหรับจับ. |
สะพานหนู | น. ไม้กระดานเล็กตรึงทับบนไม้เชิงกลอน, ตะพานหนู ก็ว่า. |
สารหนู | น. ธาตุลำดับที่ ๓๓ สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มี ๓ อัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดำ และสารหนูสีเหลือง เป็นธาตุที่มีพิษอย่างร้ายแรง. |
สารหนูขาว | น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู. |
เสียบหนู | น. ไม้ที่เสียบขัดกับไม้ข้างควายที่ขนาบจากหลบหลังคาเรือน |
เสียบหนู | ไม้ฝนทองที่เขียนบนพินทุอิ เป็น สระอี. |
หนู ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายสกุล ในวงศ์ Muridae หัวอาจยาว หรือกลมและสั้น มีฟันแทะ ตีนคู่หน้าและคู่หลังมีข้างละ ๕ นิ้ว ไม่ซ่อนเล็บ หางยาวหรือสั้น มีอยู่ทั่วไปตามบ้านเรือนและในถิ่นธรรมชาติ มีหลายชนิด เช่น หนูพุกใหญ่ [ Bandicota indica (Bechstein) ] หนูท้องขาว [ Rattus rattus (Linn.) ] บางชนิดเป็นพาหะนำโรค เช่น กาฬโรค โรคฉี่หนู. |
หนู ๑ | ว. เล็ก (ใช้เฉพาะพรรณไม้บางอย่างที่มีพันธุ์เล็กหรือของบางอย่างชนิดเล็ก) เช่น กุหลาบหนู แตงหนู หม้อหนู. |
หนูตกถังข้าวสาร | น. ผู้ชายที่มีฐานะไม่ค่อยดีได้แต่งงานกับผู้หญิงที่รุ่มรวย, ตกถังข้าวสาร ก็ว่า. |
หนูตะเภา ๑ | ดู ตะเภา ๓. |
หนูตะเภา ๒ | น. คำเปรียบคนที่ถูกใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์เป็นต้น. |
หนูติดจั่น | ว. จนปัญญา, หาทางออกไม่ได้. |
หนู ๒ | สรรพนามบุรุษที่ ๑ ผู้น้อยใช้พูดกับผู้ใหญ่, สรรพนามบุรุษที่ ๒ ผู้ใหญ่ใช้เรียกผู้น้อย, คำสำหรับเรียกเด็ก มีความหมายไปในทางเอ็นดู เช่น หนูแดง หนูน้อย. |
หนูผี | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Soricidae รูปร่างคล้ายหนูในวงศ์ Muridae แต่ตัวเล็กมาก ขาสั้น มีนิ้วตีนข้างละ ๕ นิ้ว หางยาว ขนนุ่มสั้น ใบหูเล็ก จมูกยื่นยาวออกมาเห็นได้ชัด ตาหรี่เล็ก มุดหาแมลงกินตามกองไม้และใบไม้ที่กองทับถมกันนาน ๆ มีหลายชนิด เช่น หนูผีนา [ Crocidura fuliginosa (Blyth) ] หนูผีบ้าน [ C. murina (Linn.) ] หนูผีจิ๋ว [ C. etrusca (Savi) ]. |
หม้อหนู | น. หม้อดินขนาดเล็กสำหรับต้มน้ำกระสายยาเป็นต้น. |
หางหนู | น. หางเปียขนาดเล็กและสั้นที่บริเวณท้ายทอยโดยโกนผมที่เหลือออกทั้งหมด |
หางหนู | เรียกตะไบเล็ก ๆ ที่มีลักษณะกลมเรียว ว่า ตะไบหางหนู |
หางหนู | ส่วนของแขนงช่อดอกของหมากและมะพร้าวที่ดอกเพศผู้ร่วงหมดแล้ว. |
หูหนู | น. ชื่อเห็ดหลายชนิดในสกุล Auricularia วงศ์ Auriculariaceae ขึ้นบนขอนไม้ ดอกเห็ดเป็นแผ่นวุ้น สีนํ้าตาลอ่อนถึงนํ้าตาลดำ กินได้ เช่น ชนิด A. polytricha (Mont.) Sacc. สีนํ้าตาลอมม่วง นิยมเพาะเลี้ยงกันมาก, ชนิด A. delicata (Fr.) Henn. สีนํ้าตาลอ่อนอมเหลือง เนื้อบางนิ่มยืดหยุ่น, ชนิด A. fuscosuccinea (Mont.) Henn. สีนํ้าตาลดำ เนื้อกรอบกรุบ. |
หูหนู | จอกหูหนู. |
อังกาบหนู | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Barleria prionitis L. ในวงศ์ Acanthaceae ลำต้นมีหนาม ดอกสีเหลือง. |
อาหนู | (-หฺนู) น. ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้ |
Tsutsugamushi disease | ไข้ไรหนู [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Abrus precatorius | มะกล่ำตาหนู [TU Subject Heading] |
Arsenic | สารหนู [TU Subject Heading] |
Arsenic content | ปริมาณสารหนู [TU Subject Heading] |
Arsenic removal | การกำจัดสารหนู [TU Subject Heading] |
Auricularia auricula-judae | เห็ดหูหนู [TU Subject Heading] |
Rats | หนู [TU Subject Heading] |
Short-tailed bandicoot rat | หนูพุกใหญ่ [TU Subject Heading] |
Towel industry | อุตสาหกรมผ้าขนหนู [TU Subject Heading] |
Towels | ผ้าขนหนู [TU Subject Heading] |
Rodenticides | สารป้องกันกำจัดสัตว์กัดแทะ , สารกำจัดหนู, Example: สารที่ใช้ในการกำจัดหนูหรือสัตว์ฟันคู่ ที่เป็นศัตรูของพืชและมนุษย์ เช่น วาร์ฟาริน (Warfarin) ซิงค์ฟอสไซด์วาร์ฟาริน เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
Arsenic (As) | สารหนู, Example: เป็นธาตุกึ่งโลหะ มีพิษ มีหลายอัญรูป รูปที่เสถียรเป็นโลหะสีเทาเปราะ เป็นส่วนผสมของอุตสาหกรรมแก้ว เซรามิค และสีทาบ้าน รวมทั้ง ยาปราบศัตรูพืชและสัตว์ สารหนูมีพิษต่อระบบทางเดินหายใจ ระบบย่อยอาหาร และระบบประสาท [สิ่งแวดล้อม] |
Leptospirosis | โรคฉี่หนู, Example: <p>โรคฉี่หนู (Leptospirosis) เป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน มีสัตว์เป็นพาหะ เช่น หนู กระรอก แมว สุนัข สุกร ควาย วัว กวาง พบโรคนี้ได้ทั่วโลก เกิดจากเชื้อแบคทีเรียสกุล (genus) เลปโทสไปรา (Leptospira) เป็นโรคที่ไม่ติดต่อจากคนสู่คน แต่เชื้ออาจผ่านไปยังทารกในครรภ์หรือติดเชื้อจากการที่ทารกได้รับน้ำนมจากแม่ที่เป็นโรค มักพบโรคนี้ในคนวัยทำงาน เพศชายจะป่วยได้มากกว่าเพศหญิง สาเหตุที่เรียกโรคนี้ว่าฉี่หนูเพราะส่วนใหญ่คนเกิดเป็นโรคนี้เนื่องจากไปสัมผัสเชื้อก่อโรคที่ปนเปื้อนมากับปัสสาวะของหนู โรคนี้พบสูงสุดในฤดูฝนระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงตุลาคมของทุกปีเพราะหนูอพยพหนีน้ำท่วมเข้ามาในนาข้าวหรือเข้ามาในเมืองจึงทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคในแหล่งน้ำต่างๆ <p> <p>การติดต่อของโรคมี 2 รูปแบบ คือ<br/> 1. การติดต่อโดยตรง คือ เกิดจากได้สัมผัสโดยตรงกับของเหลวที่เกิดจากสัตว์ที่เป็นพาหะ เช่น ปัสสาวะ เลือด น้ำลาย น้ำนม หรือถูกสัตว์ที่เป็นพาหะกัด<br/> 2. การติดต่อโดยอ้อม คือ เกิดจากได้สัมผัสกับแหล่งน้ำหรือดินที่เปียกชื้นที่มีการปนเปื้อนปัสสาวะและของเหลวที่มีเชื้อก่อโรค <p> <p>กลไกการเกิดโรค<br/> ขณะที่คนไปสัมผัสกับปัสสาวะ ของเหลว ดิน หรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้อก็จะผ่านเข้าไปตามผิวหนังหรือเยื่อบุที่มีแผล ต่อมาเชื้อจะเข้าสู่กระแสโลหิตและอวัยวะต่างๆ เมื่อเข้าสู่ร่างกายเชื้อจะทำปฏิกิริยากับร่างกาย ผลคือทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะต่างๆ และหลอดเลือด ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดรุนแรงมากก็จะทำให้อวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่บกพร่องจนล้มเหลวในที่สุด <p> <p>อาการของโรค<br/> หลังจากได้รับเชื้อบางคนไม่แสดงอาการ บางคนมีอาการไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ตาแดง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง บางคนที่ป่วยรุนแรงจะมีอาการเกิดขึ้นกับระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร รวมถึงความผิดปกติในการทำงานของไต ตับ ถ้าผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงและได้รับการรักษาไม่ทันส่วนใหญ่จะเสียชีวิต โดยสาเหตุของการเสียชีวิต คือ ไตวายเฉียบพลัน ระบบการหายใจล้มเหลว การล้มเหลวของอวัยวะหลายอย่าง <p> <p>การรักษา<br/> มีทั้งการรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะเพื่อทำลายเชื้อและการรักษาตามอาการ การให้ยาปฏิชีวนะจะทำให้กำจัดเชื้อได้เร็ว ไข้ลดลงเร็วและมีภาวะแทรกซ้อนน้อย การรักษาตามอาการ เช่น เมื่อมีไข้สูงก็รักษาด้วยการเช็ดตัวหรือให้ยาลดไข้ ถ้ามีภาวะการหายใจล้มเหลวก็ใส่เครื่องช่วยหายใจ <p> <p>วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคมีดังนี้<br/> 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค<br/> 2. หลีกเลี่ยงการลงเล่นในแหล่งน้ำที่อาจปนเปื้อนเชื้อ<br/> 3. หลีกเลี่ยงการเดินด้วยเท้าเปล่าบนดินที่เปียกชื้น<br/> 4. สวมรองเท้าบูต ถุงมือยาง แว่นตา เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อ<br/> 5. กำจัดเชื้อหรือสัตว์ที่เป็นพาหะ<br/> 6. ให้ยาปฏิชีวนะสำหรับผู้ที่ต้องสัมผัสสิ่งปนเปื้อนเชื้อเป็นครั้งคราว เช่น ผู้ที่เดินเที่ยวในป่า ผู้ที่เล่นน้ำในแหล่งน้ำที่อาจปนเปื้อนเชื้อ<br/> 7. ควรรีบพบแพทย์เมื่อมีอาการที่น่าสงสัยสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อ<br/> 8. ฉีดวัคซีนป้องกันโรคในสัตว์ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> อมร ลีลารัศมี ยงค์ รงค์รุ่งเรือง และภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์. (2553). โรคฉี่หนู. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 34, หน้า 288-311). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Aromatic Compounds | สารหนู, สารในกลุ่มอโรมาติก, สารประกอบอะโรมาติก [การแพทย์] |
Arsanilic Acid | กรดอาร์ซานิลิค, สารหนูอาซานิลิคแอซิด [การแพทย์] |
Arsenic | สารหนู [การแพทย์] |
Arsenic Compounds | สารหนู [การแพทย์] |
Arsenic Oxide | สารหนู [การแพทย์] |
Arsenic Toxicity | พิษจากสารหนู [การแพทย์] |
Arsenic, Inorganic and Organic | สารหนูพวกอนินทรีย์และอินทรีย์ [การแพทย์] |
Arsenic, Pentavalent | สารหนูที่มีวาเลนซีเป็นห้า [การแพทย์] |
Aschhiem-Zondex Test | การทดสอบด้วยหนู [การแพทย์] |
Bird Chilli | พริกขึ้หนู [การแพทย์] |
Board, Animal | ไม้กระดานรองหนู [การแพทย์] |
Brain, Suckling Mouse | สมองลูกหนูแรกเกิด [การแพทย์] |
Celio Paste | ยาเบื่อหนู [การแพทย์] |
Crabeye Bean | มะกล่ำตาหนู [การแพทย์] |
Fetal Resorption | การดูดกลืนตัวอ่อน, การตายของลูกหนูในครรภ์ [การแพทย์] |
Fleas, Rat, Tropical | หมัดหนูเมืองร้อน [การแพทย์] |
Fleas, Teperate Rat | หมัดหนูเมืองหนาว [การแพทย์] |
Fluoroacetates | ฟลูออโรอะซีเตท, ยาเบื่อหนู [การแพทย์] |
Foot Pad Inoculation | อุ้งเท้าหนูถีบจักร [การแพทย์] |
monohybrid cross | การผสมพิจารณาลักษณะเดียว, การผสมระหว่างพ่อพันธุ์และ แม่พันธุ์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยพิจารณาลักษณะที่ต้องการผสมเพียงลักษณะเดียว เช่น ผสมหนูสีดำกับหนูสีขาวโดยพิจารณาลักษณะสีขนของหนูเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dihybrid cross | การผสมพิจารณาสองลักษณะ, การผสมระหว่างพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์โดยพิจารณาลักษณะที่ต้องการผสม 2 ลักษณะ ควบคู่กัน เพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เช่น ผสมหนูขนเกรียนสีดำกับหนูขนฟูสีขาว เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
metalloid | กึ่งโลหะ, ธาตุที่มีสมบัติทั้งของโลหะและอโลหะ เช่น สารหนู พลวง เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Guinea Pigs | หนูตะเภา [การแพทย์] |
Immune Mice | ซีรั่มจากหนูที่มีภูมิคุ้มกัน [การแพทย์] |
Keratosis, Arsenical | เคอราโตซิสจากสารหนู [การแพทย์] |
Macrophages, Guinea Pig | การใช้แมคโครฟาจก์ของหนูตะเภา [การแพทย์] |
Marsh Test | การทดสอบสารหนู [การแพทย์] |
Meriones Unguiculatus | สัตว์ฟันแทะลักษณะคล้ายหนู [การแพทย์] |
Mice | หนูขาวเล็ก, หนูถีบจักร, หนูชนิดเล็ก, หนู, หนูเล็ก, หนูขาว, [การแพทย์] |
Mice, Adult | หนูตัวโต [การแพทย์] |
Mice, Inbred Strain of | หนูที่มีพ่อแม่เป็นพี่น้องท้องเดียวกัน [การแพทย์] |
Mice, Infant | ลูกอ่อนของหนู [การแพทย์] |
Mice, Nude | หนูไร้ขน [การแพทย์] |
Mice, Sucking | หนูที่ยังดูดนมแม่อยู่ [การแพทย์] |
Mice, Suckling | ลูกหนูแรกเกิด, หนูดูดนม, หนูแรกเกิด [การแพทย์] |
Mice, Weaning | หนูที่หย่านมแล้ว [การแพทย์] |
Mice, White | หนูขาว [การแพทย์] |
บานชื่นหนู | [bāncheūn nū] (n, exp) EN: Narrowleaf Zinnia ; Classic Zinnia |
ชบาหนู | [chabānū] (n) EN: Turk's cap ; Sleeping hibiscus ; Wax Mallow |
ฟันหนู | [fannū] (n) EN: vowel mark –̎ FR: signe vocalique –̎ |
เห็ดหูหนูขาว | [het hūnū khāo] (n, exp) EN: White Jelly Fungus |
เห็ดหูหนูสีน้ำตาล | [het hūnū sī nāmtān] (n, exp) EN: Jew's Ear Mushroom |
กับดักหนู | [kapdak nū] (n, exp) FR: souricière [ f ] ; piège à souris [ m ] ; ratière [ f ] ; piège à rats [ m ] |
การะเกดหนู | [kārakēt nū] (n, exp) EN: ? FR: ? |
ขี้หนู | [khīnū] (n, exp) EN: small capsicum ; tiny fiery chili FR: petit piment très fort [ m ] |
กระแตหางหนู | [krataē hāng nū] (n, exp) EN: Northern Smooth-tailed Treeshrew |
กรดสารหนู | [krot sānnū] (n, exp) EN: arsenic |
เล็กพริกขี้หนู | [lek phrik khīnū] (xp) EN: small like a chilli pepper |
ลูกหนู | [lūk nū] (n, exp) FR: souriceau [ m ] |
แม่หนู | [maē nū] (n, exp) FR: rate [ f ] |
นกหนูแดง | [nok nū daēng] (n, exp) EN: Ruddy-breasted Crake FR: Marouette brune [ f ] ; Marouette rouge [ f ] |
หนู | [nū] (n) EN: rat ; mouse FR: rat [ m ] ; souris [ f ] |
หนู | [nū] (pron) EN: you (inf. - to a small child) ; I (for a small child) FR: tu (inf. - à un jeune enfant) ; petit ! ; petite ! ; je, moi (pour un jeune enfant) |
หนู | [nū] (pron) EN: I (for a young girl) FR: je (pr une jeune fille) |
หนูแฮมสเตอร์ | [nū haēmsatoē] (n, exp) EN: hamster FR: hamster [ m ] |
หนูจ๋า | [nū jā] (xp) FR: petit ! |
หนูเหม็น | [nū men] (n, exp) EN: Moonrat |
หนูน้อย | [nū nøi] (n, exp) EN: child FR: enfant [ m ] |
หนูผิหางหมู | [nū phi hāng mū] (n, exp) EN: Lesser Gymnure |
หนูหริ่ง | [nū ring] (n) EN: mouse FR: lérot [ m ] |
หนูตะเภา | [nū taphao] (n, exp) EN: guinea pig FR: cochon d'Inde [ m ] ; cobaye [ m ] |
หนูยักษ์ (มัลโลมิส) | [nū yak (mallōmis)] (n, exp) EN: mallomys |
ผ้าขนหนู | [phākhonnū] (n, exp) EN: towel ; terry cloth ; wash cloth ; bath towel FR: serviette (de bain) [ f ] |
ผ้าขนหนูเช็ดหน้า | [phākhonnū chet nā] (n, exp) EN: face cloth ; wash cloth (Am.) FR: gant de toilette [ m ] |
พลับพลึงหนู | [phlapphleung nū] (n, exp) EN: ? FR: ? |
พ่อหนู | [phønū] (n) EN: boy ; child |
พ่อหนูน้อย | [phønū nøi] (n, exp) EN: little devil |
พริกขี้หนู | [phrik khīnū] (n, exp) EN: guinea pepper ; bird pepper ; bird-chilli ; small capsicum ; chilli pepper ; tiny fiery chilli ; hot chilli FR: petit piment très fort [ m ] |
สารหนู | [sānnū] (n) EN: arsenic FR: arsenic [ m ] |
สารหนู | [sānnū] (n) EN: ratsbane ; white arsenic ; arsenious acid FR: mort-aux-rats [ f ] ; arsenic blanc [ m ] ; anhydride arsénieux [ m ] |
ตะไบหางหนู | [tabai hāng nū] (n, exp) EN: rattail file FR: queue-de-rat [ f ] |
arsenic | (adj) เกี่ยวกับสารหนู |
arsenic | (n) สารหนู |
bantam | (adj) เล็กพริกขี้หนู, Syn. tiny |
bath towel | (n) ผ้าเช็ดตัว, See also: ผ้าขนหนู, Syn. towel |
boy | (n) เด็กชาย, See also: พ่อหนู, เด็กผู้ชาย, Syn. lad, Ant. girl |
dogfish | (n) ปลาฉลามหนู |
dormice | (n) หนูชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกระรอก (พหูพจน์ของdormouse) |
dormouse | (n) หนูชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกระรอก |
ferret | (n) สัตว์คล้ายพังพอนใช้ไล่ล่าหนูหรือกระต่าย |
gerbil | (n) สัตว์ทะเลทรายขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายหนู (เลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง) |
Guinea pepper | (n) พริกขี้หนู, See also: พริกเผ็ดจัด |
guinea pig | (n) หนูทดลอง, See also: สัตว์ทดลอง, คนที่ถูกใช้เป็นหนูทดลอง |
hamster | (n) สัตว์คล้ายหนูชนิดหนึ่ง ในตระกูล Muridae |
mice | (n) คำนามพหูพจน์ของ mouse, See also: หนู |
moppet | (n) หนูน้อย (คำไม่เป็นทางการ), See also: เด็กน้อย, Syn. child, puppet |
mouse | (n) หนู, Syn. rodent, vermin |
mouse | (vt) ไล่จับหนู, See also: ไล่ฆ่าหนู, Syn. hunt |
mousehole | (n) รูหนู, Syn. hole |
mouser | (n) ตัวจับหนู |
mousetrap | (n) กับดักหนู, Syn. trap |
mousey | (adj) ซึ่งมีลักษณะเหมือนหนู, See also: เหมือนหนู |
mousy | (adj) ซึ่งมีลักษณะเหมือนหนู, See also: เหมือนหนู |
muskrat | (n) หนูขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง, Syn. musk shrew, civet cat |
musquash | (n) ขนของหนูขนยาว, Syn. muskrat |
opossum | (n) สัตว์คล้ายหนูมีกระเป๋าหน้าท้อง, Syn. possum |
plague | (n) กาฬโรค (หนูเป็นพาหะนำโรค) |
prairie dog | (n) สัตว์คล้ายหนูจำพวก Cynomys |
rat | (n) หนู, Syn. mouse |
rat | (vi) ล่าหนู, See also: จับหนู |
ratbite fever | (n) โรคติดต่อที่เกิดจากหนูหรือสัตว์อื่นกัด |
ratsbane | (n) ยาฆ่าหนู, See also: ยาเบื่อหนู |
ratter | (n) สุนัขหรือแมวที่ชอบจับหนู, Syn. quitter |
rattrap | (n) กับดักจับหนู, See also: ที่ดักหนู |
ratty | (adj) เหมือนหนู, See also: เต็มไปด้วยหนู, Syn. infested, sly |
rodent | (n) สัตว์จำพวกหนู, See also: สัตว์ที่ใช้ฟันแทะ, Syn. mouse, rat |
shrew | (n) สัตว์กินแมลงคล้ายหนู |
sonny | (n) อ้ายหนู, เจ้าหนู, See also: คำเรียกเด็กหนุ่มที่สนิทสนมกัน |
squeak | (vi) ลั่นเอี๊ยดๆ, See also: ร้องจี๊ดๆ อย่างหนู, ดังอี๊ดอ๊าด, Syn. creak, screech, squeal |
squeak | (n) เสียงลั่นเอี๊ยดๆ, See also: เสียงร้องจี๊ดๆ อย่างหนู, เสียงดังอี๊ดอ๊าด ของประตู ฯลฯ, Syn. creak, squeal, shrill |
stoat | (n) สัตว์คล้ายหนู |
stupe | (n) ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่นสำหรับประคบผิวหนัง |
towel | (n) ผ้าขนหนู, See also: ผ้าเช็ดตัว, ผ้าเช็ดหน้า, Syn. sheet, napkin |
towel | (vi) เช็ดให้แห้ง (ด้วยผ้าขนหนู), See also: เช็ดตัว, เช็ดหน้า |
vole | (n) หนูนา, Syn. mouse |
warfarin | (n) สารพิษใช้เป็นยาฆ่าหนู |
water rat | (n) หนูน้ำ, See also: หนูที่ชอบอาศัยตามบริเวณที่มีน้ำ |
water vole | (n) สัตว์คล้ายหนูอาศัยอยู่ในรูข้างแม่น้ำหรือทะเลสาป, Syn. water rat |
woodchuck | (n) สัตว์คล้ายหนูยักษ์, See also: มีขนสีน้ำตาลลายเทา แถบอเมริกาเหนือ ชื่อละตินคือ Marmota monax, Syn. groundhog |
agouti | (อะกู' ที) n., (pl. -tis, -ties) หนูเข็มซึ่งคล้ายกระต่าย, หนังหนูบางชนิด |
arsenate | (อาร์'ซิเนท) n. เกลือของกรดสารหนู |
arsenic | (อาร์'ซีนิค) adj., n. เกี่ยวกับสารหนู, สารหนู arsenical, arsenious adj. |
biceps | (ไบ'เซพซฺ) n. กล้ามเนื้อลูกหนูที่โคนแขน |
bugger | (บัก'เกอะ) n. อ้ายหนุ่ม, หนู, อ้ายหนู, ผู้กระทำการสังวาสทางทวารหนัก, ผู้ร่วมเพศกับสัตว์ |
capybara | n. สัตว์คล้ายหนูที่ใช้ฟันแทะ ไม่มีหาง |
chinchilla | n. สัตว์คล้ายหนู |
disinfest | (ดิสอินเฟสทฺ') vt. กำจัดแมลงหนูและสัตว์ที่เป็นภัยอื่น ๆ, See also: disinfestation n. ดูdisinfest |
dormouse | (ดอร์'เมาซฺ) n. หนูขนาดเล็กในตระกูล Gliridae คล้ายกระรอกตัวเล็ก ๆ -pl.dormice |
ferret | (เฟอ'ริท) n. สัตว์คล้ายพังพอน มีสีขาว-ตาแดง-ใช้ไล่กระต่ายและหนูออกจากรู vt. ขับออก, ไล่ออก, ล่าสัตว์โดยใช้ferret, ค้นหา, สืบหา., See also: ferreter n. ferrety adj. |
gerbil | (เจอ'บิล) n. สัตว์คล้ายหนูจำพวก Gerbillus, Syn. gerbille |
girlie | (เกิร์ล'ลี) adj. เกี่ยวกับผู้หญิงที่นุ่งน้อยห่มน้อย n. คำทักทายเด็กผู้หญิงหรือหญิงสาว (เช่นคุณหนู!, หนู!), Syn. girl, woman |
guinea pig | หนูตะเภา, สิ่งที่ใช้เป็นเครื่องทดลอง |
hamster | (แฮม'สเทอะ) n. สัตว์คล้ายหนูชนิดหนึ่ง |
indian mallow | พืชจำพวก Abutilon Theophrasti มีดอกเหลือง ใบสีม่วง, ต้นมะกล่ำตาหนู -Syn. Jequirity |
jerboa | (เจอโบ) n. สัตว์คล้ายหนูชนิดหนึ่งมีขาหลังยาวที่ทำให้กระโดดได้ |
kersey | (เคอ'ซี) n. ผ้าขนหนูสัตว์หรือขนสัตว์ผสมฝ้ายที่หนาแน่น |
kerseymere | (เคอ'ซิเมียร์) n. ผ้าขนหนูสัตว์หนาแน่น |
lad | (แลด) n. เด็กหนุ่ม, คนหนุ่ม, อ้ายหนู, พ่อหนุ่มน้อย |
mouse | (เมาซฺ) n. หนู (pl. mice) อุปกรณ์สำหรับควบคุมเคอร์เซอร์บนจอภาพ, อุปกรณ์นำเข้า (input device) ชนิดหนึ่งมีขนาดพอเหมาะกับมือเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ สามารถเคลื่อนย้ายไปบนผิวพื้นเรียบ ตัวเมาส์นี้ เมื่อเชื่อมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จะเป็นตัวทำให้เคลื่อนย้าย cursor ไปในทิศทางที่ต้องการได้ ใต้ตัวเมาส์จะมีลูกกลิ้งกลม ๆ ซึ่งจะทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) เคลื่อนย้ายไปยังทิศทางต่าง ๆ ได้ โดยปกติ เมาส์ของพีซีจะมี 3 ปุ่ม ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มทางด้านซ้าย ระบบวินโดว์ 95 มีการใช้ปุ่มทางขวาของเมาส์มากขึ้น ส่วนเมาส์ของแมคอินทอชจะมีปุ่มเดียว การใช้เมาส์จะมี 3 ลักษณะ คือ กดที่ปุ่มซ้ายหรือขวาเพียงครั้งเดียวเพื่อเลือกคำสั่ง หรือกำหนดภาพ ฯ กด 2 ครั้ง ติด ๆ กันเพื่อเริ่มต้นโปรแกรมหรือเปิดแฟ้มข้อมูล กับกดแล้วลากเพื่อเคลื่อนย้ายข้อความหรือภาพ |
mousey | (เมา'ซี) adj. คล้ายหนู, สีมอ ๆ , ทึม, เงียบ, เต็มไปด้วยหนู., See also: mousily adv. mousiness n. |
mousy | (เมา'ซี) adj. คล้ายหนู, สีมอ ๆ , ทึม, เงียบ, เต็มไปด้วยหนู., See also: mousily adv. mousiness n. |
nipple | (นิพ'เพิล) n. หัวนม, นมหนู, ปลายกระบอกฉีด, ปลายเข็มที่ใช้แทงชนวนปืน., Syn. tit, teat |
opossum | (อะพอส'ซัม) n. สัตว์คล้ายหนูที่มีประเป๋าหน้าท้อง |
pack rat | n. หนูขนาดใหญ่หางเป็นช่อ, นักเก็บเล็กเก็บน้อย |
pepper | (เพพ'เพอะ) n. พืชประเภทพริกไทย, พริกขี้หนู, พริกชี้ฟ้า, พืชจำพวก Capsicum, ความฮึกเหิม, ความห้าวหาญ. vt. ใส่พริกไทย, ใส่พริก, ระดมยิง, ขว้างปา |
rat | (แรท) n. หนู, คนทรยศ, คนเนรคุณ, ผู้สื่อข่าว, ม้วนผมปลอม, หญิงชั่ว, smell a rat สงสัยการทรยศ สังสัย. -interj. rats คำอุทานแสดงความผิดหวัง ความรังเกียจหรืออื่น ๆ vi. เป็นนักข่าว, จับหนู vt. ทำผมทรงกระเซิง |
ratsbane | (แรทซฺ'เบน) n. ยาเบื่อหนู |
rattrap | n. กับดักหนู, ที่จนตรอก, ที่สกปรกโกโรโกโส |
senorita | (เซนยะรี'ทะ) n. ภาษาสเปนที่หมายถึง"Miss", คุณหนู, หล่อน, นางสาว |
shrew | (ชรู) n. หญิงอารมณ์ร้าย, หญิงปากร้าย, สัตว์กินแมลง คล้ายหนูแต่มีจมูกยาวแหลม |
sonny | (ซัน'นี) n.อ้ายหนู, น้องชาย (little son) |
squeak | (สควีค) n. เสียงเอี๊ยด ๆ (ของบานพับเป็นต้น) , เสียงเจี๊ยก ๆ (ของหนูหรือสัตว์อื่น) , การหลบหนีจากภัยหรือความตาย, โอกาส vi. ส่งเสียงดังกล่าว; -Phr. (squeak by (through) ชนะแต่เส้นยาแดงประสบความสำเร็จอย่างหวุดหวิด, รับสารภาพ, เปิดเผย) . |
towel | (เทา'เอิล) n. ผ้าขนหนู, ผ้าเช็ดตัว, กระดาษเช็ดมือเช็ดหน้า, -Phr. (throw in the towel ยอมแพ้) vt.เช็ดด้วยผ้าหรือกระดาษดังกล่าว |
vole | (โวล) n. ตัวคล้ายหนูจำพวก Nicrotus มีขาสั้นและหางสั้น , แต้มไพ่) การชนะรวดโดยคน ๆ เดียว |
weasel | (วี'เซิล) n. สัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก มีรูปร่างยาวเรียว คล้ายแมวชอบกินหนูเป็นอาหาร vi. หลีกเลี่ยง |
whelp | (เวลพฺ) n. ลูกสัตว์, เด็ก ๆ , บุคคลที่ถูกดูถูก, อ้ายหนู, เจ้าหนูน้อย, ซี่ล้อ, ฟันขอสับ, (สัตว์) ออกลูก |
arsenic | (n) สารหนู |
biceps | (n) กล้ามเนื้อลูกหนู |
dormouse | (n) หนูชนิดหนึ่ง |
GUINEA guinea pig | (n) หนูตะเภา |
hovel | (n) กระต๊อบ, เพิง, คอกสัตว์, รังหนู |
jet | (n) ลำน้ำที่พุ่งออกไป, หัวท่อ, นิล, พวย, นมหนู |
lamb | (n) ลูกแกะ, คนไร้เดียงสา, หนูน้อย |
mite | (n) ของเล็กๆ, ลูกหนู, เล็น, ไร |
mouse | (n) หนู, คนน่าเอ็นดู, คนขี้อาย |
mousetrap | (n) กับดักหนู |
muskrat | (n) หนูชนิดหนึ่ง |
nipple | (n) หัวนม, นมหนู, ปลายกระบอกฉีด |
radish | (n) หัวผักกาด, ผักกาดหนู, หัวไชเท้า |
rat | (n) หนู |
sonny | (n) น้องชาย, ไอ้หนู, เจ้าหนู |
towel | (n) ผ้าเช็ดตัว, ผ้าขนหนู |
whelp | (n) ลูกสัตว์, เด็กทะลึ่ง, เจ้าหนู, ซี่ล้อ |
whisker | (n) เครา, หนวดแมวหรือหนู, ผู้ปัดกวาด, ไม้ขนไก่ |
訓 | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อของเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ 産) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อของเด็กผู้ชาย) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเด็กหญิง ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเเด็กชาย) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กชาย) |
君 | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กชาย) |
ちゃん | [ちゃん, chan, chan , chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อของเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun, kun , kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กชาย) |