วัฒนธรรม | (n) culture, See also: civilization, way of life, Example: ผู้คนมากมายเดินทางท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวัฒนธรรมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นต่างๆ, Thai Definition: สิ่งที่ทำให้เจริญงอกงามแก่หมู่คณะ, วิถีชีวิตของหมู่คณะ |
ทางวัฒนธรรม | (adj) cultural, Example: ขอนแก่นเป็นเมืองที่มีมรดกทางวัฒนธรรมของชนชาติโบราณมากมาย |
สภาวัฒนธรรม | (n) Council of Cultural Affairs, Example: ประวัติศาสตร์ลำน้ำโขงของเมืองเชียงแสนถูกรวบรวมและจัดพิมพ์โดยสภาวัฒนธรรมอำเภอเชียงแสน |
ด้านวัฒนธรรม | (adj) cultural, Example: หนังสือของท่านจะเน้นความรู้ด้านวัฒนธรรมของถิ่นนั้นๆ มากเป็นพิเศษ, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของหมู่คณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย |
ศิลปวัฒนธรรม | (n) art and cultural |
ผู้มีวัฒนธรรม | (n) civilized person, Example: ผู้คนในประเทศของเราเป็นผู้มีวัฒนธรรม ไม่ใช่คนป่าเถื่อนอย่างที่ใครๆ กล่าวหา, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและมีศีลธรรมอันดี |
มรดกทางวัฒนธรรม | (n) cultural heritage, Example: มรดกโลกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ มรดกทางวัฒนธรรม และมรดกทางธรรมชาติ, Thai Definition: สถานที่ซึ่งเป็นโบราณสถาน ไม่ว่าจะเป็นงานทางด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรือแหล่งโบราณคดีทางธรรมชาติ |
สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ | (n) National Council of Cultural Affairs, Example: สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้ประกาศยุบเลิกสภาวัฒนธรรมแห่งชาติเหลือเป็นแค่กองวัฒนธรรมเท่านั้น |
ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม | (n) culture relativity, Example: ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจหรือทางวัตถุจะต้องควบคู่ไปด้วยความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมที่มีผลกระทบทางจิตใจในลักษณะระหว่างตัวบุคคลโดยตรง |
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ | (n) Office of the National Culture Commission, Syn. สวช., Example: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติขอเชิญร่วมกิจกรรมเวทีสาธารณะ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย |
วัฒนธรรม | น. สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา. |
ขอยืม | ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า. |
ขึ้น ๑ | อยู่ในสังกัด เช่น กรมศิลปากรขึ้นกับกระทรวงวัฒนธรรม |
จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. |
ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. |
ชาติพันธุ์วรรณนา | (ชาดติพันวันนะนา) น. ชาติพันธุ์วิทยาสาขาหนึ่งที่พรรณนาถึงวัฒนธรรมแบบต่าง ๆ. |
ตะวันตก | เรียกประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริกาว่า ประเทศตะวันตก, เรียกประชาชนโดยเฉพาะพวกผิวขาว ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า ชาวตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น. |
ธรรม ๒ | คำประกอบท้ายคำที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคำศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม. |
นิเวศวิทยา | การศึกษาเกี่ยวกับการดัดแปลงวัฒนธรรมของมนุษย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม. |
บ่อเกิด | น. แหล่งที่เกิด, แหล่งที่มา, ต้นกำเนิด, เช่น บ่อเกิดวัฒนธรรม บ่อเกิดรามเกียรติ์. |
พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน | (พิพิดทะพัน, -พันทะสะถาน) น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ. |
ฟื้นฟู | ก. ทำให้กลับเจริญงอกงามขึ้นมาใหม่ เช่น ฟื้นฟูศิลป-วัฒนธรรมไทย ฟื้นฟูการละเล่นของไทย. |
ภารตวิทยา | น. วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น. |
ภูมิภาค | อาณาบริเวณที่มีลักษณะบางอย่างเช่นลักษณะทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง คล้ายคลึงกันจนสามารถจัดเข้าพวกกันได้ และแตกต่างกับบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ. |
มหาวิทยาลัย | (มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ. |
ยืม | ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของตน เช่น ยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ยืมความคิด |
ล้า ๒ | ว. ช้าไม่ทันคนหรือไม่ทันเหตุการณ์เป็นต้น เช่น วัฒนธรรมล้า สังคมล้า. |
แลกเปลี่ยน | ก. เอาของต่อของเป็นต้นแลกกัน เช่น แลกเปลี่ยนตำแหน่ง แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม. |
ว่าด้วย | บ. เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์. |
วิวัฒนาการ | (วิวัดทะนากาน) น. กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือคลี่คลายไปสู่ภาวะที่ดีขึ้นหรือเจริญขึ้น เช่น วิวัฒนาการแห่งมนุษยชาติ วิวัฒนาการแห่งศิลปวัฒนธรรม. |
ศูนย-, ศูนย์ | จุดกลาง, ใจกลาง, แหล่งกลาง, แหล่งรวม, เช่น ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์หนังสือ ศูนย์รวมข่าว. |
สังกัด | ก. ขึ้นอยู่, รวมอยู่, เช่น กรมศิลปากรสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม. |
สังกัด | น. ส่วนราชการที่มีหน่วยงานย่อย ๆ ขึ้นอยู่ เช่น กรมการศาสนาอยู่ในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม, โดยปริยายหมายถึงที่อยู่เป็นหลักแหล่ง เช่น เขาเป็นคนไม่มีสังกัด คือ เป็นคนที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง หมายถึง คนที่เร่ร่อนพเนจร. |
กงเต๊กหลวง | เป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย [ศัพท์พระราชพิธี] |
Economics of culture | เศรษฐศาสตร์วัฒนธรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Corporate culture | วัฒนธรรมองค์กร [การจัดการความรู้] |
Safety culture | วัฒนธรรมความปลอดภัย, พฤติกรรมขององค์กรและบุคคลในองค์กร ที่สะท้อนการได้รับการปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ทั้งจากการอบรม การเรียนรู้และการถ่ายทอด จนเกิดเป็นนิสัยและเจตคติที่ให้ความสำคัญต่อการระวังป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตัวอย่างเช่น ผู้ปฏิบัติงานทางนิวเคลียร์และรังสี ย่อมรู้ดีว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ใดบ้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น ต้องติดมาตรปริมาณรับรังสี ต้องใช้เครื่องมือหยิบจับสารกัมมันตรังสี มีวัสดุและอุปกรณ์กำบังรังสีที่พอเพียง รวมทั้งการสวมแว่นตาและหน้ากากกันไอระเหย ให้เหมาะสมตามลักษณะของงาน [นิวเคลียร์] |
Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] |
World Decade for Cultural Development, 1988-1997 | ทศวรรษโลกเพื่อการพัฒนาวัฒนธรรม, ค.ศ.1988-1997 [TU Subject Heading] |
Acculturation | การผสมผสานทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Buddhism and culture | พุทธศาสนากับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Communication and culture | การสื่อสารกับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Communism and culture | ลัทธิคอมมิวนิสต์กับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Corporate culture | วัฒนธรรมองค์การ [TU Subject Heading] |
Cross-cultural studies | การศึกษาวัฒนธรรมต่างสังคม [TU Subject Heading] |
Cultural animation | การสืบสานวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Cultural assimilation | การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Cultural landscapes | ภูมิทัศน์วัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Cultural policy | นโยบายวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Cultural property | ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Cultural relations | ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Cultural television programs | รายการโทรทัศน์ด้านวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Culture | วัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Culture and tourism | วัฒนธรรมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว [TU Subject Heading] |
Culture conflict | ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Culture diffusion | การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Culture in literature | วัฒนธรรมในวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
Culture in motion pictures | วัฒนธรรมในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Heritage tourism | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Intercultural communication | การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] |
Language and culture | ภาษากับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Mass media and culture | สื่อมวลชนกับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Material culture | วัฒนธรรมทางวัตถุ [TU Subject Heading] |
Multicultural education | สหวัฒนธรรมศึกษา [TU Subject Heading] |
Multiculturalism | พหุวัฒนธรรมนิยม [TU Subject Heading] |
Personality and culture | บุคลิกภาพกับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Political culture | วัฒนธรรมทางการเมือง [TU Subject Heading] |
Politics and culture | การเมืองกับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Religion and culture | ศาสนากับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Subculture | วัฒนธรรมย่อย [TU Subject Heading] |
ASEAN Cultural Fund | กองทุนวัฒนธรรมอาเซียน จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นกองทุนสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม/โครงการความ ร่วมมือของอาเซียนทางด้านวัฒนธรรมและสนเทศ โดยในปี พ.ศ. 2521 รัฐบาลญี่ปุ่นได้บริจาคเงินจำนวน 5, 000 ล้านเยน หรือประมาณ 25 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้แก่กองทุนฯ เพื่อนำดอกผลไปใช้ในการสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมความร่วมมือต่าง ๆ [การทูต] |
Asia-Europe Cooperation Framework | กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต] |
APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] |
ASCC | ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Socio-cultural Community | ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Socio-cultural Community Plan of Action | แผนปฏิบัติการประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน [การทูต] |
Association of South-East Asian Nations | สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 เพื่อร่วมมือและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความเจริญทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์และการบริหารในภูมิภาค โดยมีสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ คือ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ต่อมาบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกประเทศที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2527 เวียดนามเป็นสมาชิกประเทศที่ 7 ในปี พ.ศ. 2538 ลาวและพม่าเข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันในปี พ.ศ. 2540 และกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับสุดท้ายหรือประเทศที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2542 [การทูต] |
ASEAN Community | ประชาคมอาเซียน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 เมื่อเดือนตุลาคม 2547 เกาะบาหลี ได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในสามด้านหลักภายในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน [การทูต] |
Asia-Europe Foundation | เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม และประชาชนกับประชาชน ระหว่างประเทศสมาชิก [การทูต] |
ASEAN Committee on Culture and Information | คณะกรรมการอาเซียนด้านวัฒนธรรมและสนเทศ [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Cultural Attaché | ผู้ช่วยทูตด้านวัฒนธรรม [การทูต] |
บริบททางสังคมและวัฒนธรรม | [børibot thāng sangkhom lae watthanatham] (n, exp) EN: socio-cultural context FR: contexte socio-culturel [ m ] |
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร | [Hø Sinlapa Watthanatham haeng Krungthēp Mahānakhøn] (x) EN: Bangkok Art & Culture Centre |
การปฏิวัติวัฒนธรรม | [kān patiwat watthanatham] (n, exp) EN: cultural revolution FR: révolution culturelle [ f ] |
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางด้านวัฒนธรรม | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp thāng dān watthanatham] (n, exp) EN: preparation for professional experience in cultural studies |
การวิจัยวัฒนธรรม | [kān wijai watthanatham] (n, exp) EN: cultural research |
ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม | [khwām samphan thāng dān watthanatham] (n, exp) FR: relations culturelles [ fpl ] |
กิจกรรมวัฒนธรรม | [kitjakam watthanatham] (n, exp) EN: cultural activities FR: activité culturelle [ f ] |
กระทรวงวัฒนธรรม | [Krasūang Watthanatham] (org) EN: Ministry of Culture FR: ministère de la Culture [ m ] |
มีวัฒนธรรม | [mī watthanatham = mī watthanātham] (adj) EN: cultivated |
มรดกทางวัฒนธรรม | [møradok thāng watthanatham] (n, exp) EN: cultural heritage FR: héritage culturel [ m ] |
ปัญหาวัฒนธรรม | [panhā watthanatham] (n, exp) EN: cultural problems |
ศิลปวัฒนธรรม | [sinlapawatthanatham] (n) EN: art and cultural |
ทางด้านวัฒนธรรม | [thāng dān watthanatham] (adj) EN: cultural FR: culturel |
ทางสังคมและวัฒนธรรม | [thāng sangkhom lae watthanatham] (adj) EN: socio-cultural FR: socio-culturel |
วัฒนธรรม | [watthanatham = watthanātham] (n) EN: culture ; civilization ; way of life FR: culture [ f ] ; civilisation [ f ] |
วัฒนธรรมบริษัท | [watthanatham børisat] (n, exp) EN: corporate culture FR: culture d'entreprise [ f ] |
วัฒนธรรมแห่งกรีก | [watthanatham haeng krīk] (n, exp) EN: Greek civilization FR: civilisation grecque [ f ] |
วัฒนธรรมจีน | [watthanatham Jīn] (n, exp) EN: Chinese culture FR: culture chinoise [ f ] |
วัฒนธรรมมวลชน | [watthanatham mūanchon] (n, exp) EN: mass culture |
วัฒนธรรมองค์การ | [watthanatham ongkān] (n, exp) EN: organizational culture ; organization culture |
วัฒนธรรมตะวันออก | [watthanatham Tawan-øk] (n, exp) EN: Oriental culture FR: culture orientale [ f ] |
วัฒนธรรมตะวันตก | [watthanatham Tawan-tok] (n, exp) EN: Western culture FR: culture occidentale [ f ] |
วัฒนธรรมไทย | [watthanatham Thai] (n, exp) EN: Thai culture FR: culture thaïe [ f ] |
วัฒนธรรมทางจิตใจ | [watthanatham thāng jitjai] (n, exp) EN: spiritual culture ; non material culture |
วัฒนธรรมวิสาหกิจ | [watthanatham wisākahit] (n, exp) EN: enterprise culture FR: culture d'entreprise [ f ] |
academician | (n) สมาชิกของสโมสร (ทางด้านต่างๆเช่น ศิลปะ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์) |
academy | (n) สมาคมส่งเสริมความรู้หรือวัฒนธรรม |
American | (adj) เกี่ยวกับอเมริกา, See also: เกี่ยวกับชาวอเมริกา, เกี่ยวกับภาษาหรือวัฒนธรรมอเมริกา, Syn. Yankee |
Anglomania | (n) การคลั่งไคล้วัฒนธรรมของอังกฤษ |
Annamese | (adj) เกี่ยวกับญวนหรือเวียดนาม (ชนชาติ ภาษาและวัฒนธรรม) |
assimilate with | (phrv) กลมกลืนไปกับ (โดยเฉพาะทางภาษา, วัฒนธรรม, วิถีชีวิต), See also: ค่อยๆกลมกลืนกับ |
barbaric | (adj) ป่าเถื่อน, See also: ป่าเถื่อน, ไม่มีวัฒนธรรม, Syn. uncivilized, Ant. civilized |
barbarity | (n) อนารยธรรม, See also: ความป่าเถื่อน, ความโหดเหี้ยม, ความไม่มีวัฒนธรรม, Syn. atrocity |
civil | (adj) ที่มีวัฒนธรรม, Syn. cultured, civilized |
civilise | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilize, cultivate |
civilize | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilise, cultivate |
classicist | (n) ผู้ที่ศึกษาวัฒนธรรมกรีกและโรมันโบราณ |
cosmopolitan | (adj) ซึ่งท่องเที่ยวไปทั่วโลก, See also: ซึ่งคุ้นเคยกับหลายประเทศหลายวัฒนธรรม |
counterculture | (n) วัฒนธรรมที่แปลกต่างจากที่มีอยู่ในสังคม |
cultural | (adj) ทางวัฒนธรรม |
culture | (n) วัฒนธรรม, Syn. civilization, society, way of life |
culture relativity | (n) ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม |
culture shock | (n) ความรู้สึกสับสนต่อวัฒนธรรมที่ไม่คุ้นเคย |
cultured | (adj) ซึ่งมีวัฒนธรรม, See also: ซึ่งได้รับการอบรมสั่งสอน, Syn. cultivated, educated |
culture vulture | (idm) ผู้หลงใหลในศิลปะและวัฒนธรรม, See also: ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะและวัฒนธรรม |
Egyptology | (n) วิชาเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวัตถุโบราณของอียิปต์ |
enclave | (n) ประเทศหรือดินแดนเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมและเชื้อชาติแตกต่างจากดินแดนอื่นที่ล้อมรอบอยู่ |
Estonian | (adj) เกี่ยวกับประชาชน ภาษาหรือวัฒนธรรมของเอสโตเนีย |
ethnography | (n) มานุษยวิทยาแขนงหนึ่งซึ่งศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมของเผ่าพันธุ์ต่างๆ |
ethnology | (n) ชาติพันธุ์วิทยา, See also: การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม |
Etruscan | (adj) เกี่ยวกับประชาชน ภาษา และวัฒนธรรมอิทรูเรียโบราณ |
European | (adj) เกี่ยวกับยุโรป, See also: เกี่ยวกับประชาชน, ภาษาและวัฒนธรรมยุโรป |
go native | (phrv) ประพฤติตัวเหมือนคนท้องถิ่นหรือคนพื้นเมือง (เช่น ทางด้านประเพณีหรือวัฒนธรรม) |
gender gap | (n) ช่องว่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย (ทางด้านสังคม), See also: ความแตกต่างระหว่างหญิงและชายในด้านความคิดเห็น วัฒนธรรม ค่านิยม คุณค่าสังคมและอุปนิสัย, Syn. gender-gap |
Germanic | (adj) เกี่ยวกับเชื้อชาติ วัฒนธรรม และภาษาเยอรมัน |
Hellenism | (n) วัฒนธรรมหรือความเจริญรุ่งเรืองของกรีกโบราณ |
Hellenistic | (adj) เกี่ยวกับ Hellenists, See also: เกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษาหรืออื่นๆ ของกรีกโบราณ |
Hellenistic | (adv) เกี่ยวกับ Hellenists, See also: เกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษาหรืออื่นๆ ของกรีกโบราณ |
Hindu | (adj) เกี่ยวกับชาวฮินดู, See also: เกี่ยวกับวัฒนธรรมชองชาวฮินดู |
Hispanic | (adj) เกี่ยวกับคนพูดภาษาสเปนหรือวัฒนธรรมของคนพวกนี้ |
Hispanic | (adj) เกี่ยวกับประเทศ, วัฒนธรรม และประชาชนสเปน |
Hittite | (adj) เกี่ยวกับประชาชน, ภาษา และวัฒนธรรมของชนชาตินี้ |
iconclast | (n) ผู้ทำลายความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณี |
illicit | (adj) ผิดกฎหมาย, See also: เถื่อน, ซึ่งต้องลักลอบ, ซึ่งผิดศีลธรรม, ซึ่งต้องห้าม ตามวัฒนธรรมประเพณี, Syn. illegal, prohibited, unlawful, Ant. lawful, legal |
Indian | (adj) เกี่ยวกับอินเดีย, See also: เกี่ยวกับคนอินเดีย, เกี่ยวกับภาษาอินเดียว, เกี่ยวกับวัฒนธรรมอินเดีย |
intercultural | (adj) ซึ่งเกิดระหว่างคนหรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน |
Irish | (adj) เกี่ยวกับชนชาติ ภาษาและวัฒนธรรมไอร์แลนด์ |
liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ |
Maltese | (n) คน ภาษาและวัฒนธรรมของ Malta |
Manx | (n) เกี่ยวกับคน ภาษาและวัฒนธรรมของชาวเกาะ the Isle of Man |
mores | (n) ประเพณี, See also: วัฒนธรรม, Syn. culture, custom, ethics |
multicultural | (adj) หลากหลายวัฒนธรรม, Syn. international, integrated |
multiculturalism | (n) การมีวัฒนธรรมหลากหลาย, Syn. multiculturalist |
palestinian | (adj) เกี่ยวกับปาเลสไตน์, See also: เกี่ยวกับชาวปาเลสไตน์หรือวัฒนธรรมของปาเลสไตน์ |
penetrate | (vt) ขยายอิทธิพล, See also: แผ่ขยายวัฒนธรรม |
acculturation | (อะคัลทิวเร' เชิน) n. กระบวนการปรับแผนหรือลักษณะวัฒนธรรม |
africandist | (แอฟ' iิคะดิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมของอาฟริกา |
arabist | (อา'ราบิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญภาษาหรือวัฒนธรรมของอาหรับ (expert on Arabia) |
assyriology | (อะเซอริออล'โลจี) n. การศึกษาประวัติศาสตร์ภาษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ ของ Assyria -Assyriologist, n. |
brahmin | (บรา'มิน) n., พราหมณ์, ผู้ที่มีความรู้และวัฒนธรรมสูง, ผู้มีความรู้ที่ชอบอยู่ห่าง ๆ -Brahminism n. ศาสนาพราหมณ์ |
canadian | (คะเน'เดียน) adj., n. (เกี่ยว) กับแคนาดา (คน, ภาษา, วัฒนธรรมและอื่น ๆ) |
chinese | (ไช'นิส) n., (pl. -nese) n. ภาษาจีน, คนจีน -adj. เกี่ยวกับประเทศจีน (คน, ภาษา, วัฒนธรรม) |
civilisation | (ซิฟวิลไลเซ'เชิน) n. อารยธรรม, การมีวัฒนธรรมประเพณี |
civility | (ซิฟวิล'ลิที) n. ความสุภาพ, มารยาท, ความเอื้อเฟื้อ, อัธยาศัย, อารยธรรม, วัฒนธรรมประเพณี, Syn. courtesy |
civilization | (ซิฟวิลไลเซ'เชิน) n. อารยธรรม, การมีวัฒนธรรมประเพณี |
cultivation | (คัลทะเว'เชิน) n. การเพาะปลูก, ศิลปะการเพาะปลูก, การอบรมสั่งสอน, วัฒนธรรม |
cultural | (คัล'เชอะเริล) adj. เกี่ยวกับวัฒนธรรม, เกี่ยวกับเพาะปลูก |
culture | (คัล'เชอะ) n. วัฒนธรรม, การอบรม, การเลี้ยง, การปลูกฝัง, การเพาะกาย, การเพาะใจ, การเพาะปลูก, การเพาะเลี้ยง, ผลิตผลการเพาะปลูก, เชื้อจุลินทรีย์ที่เพาะเลี้ยงขึ้น |
cultured | (คัล'เชอดฺ) adj. ซึ่งเพาะปลูกไว้, มีวัฒนธรรม, ได้รับการอบรมสั่งสอน, ซึ่งเพาะเลี้ยงขึ้น, ซึ่งเพาะเลี้ยงจากอาหารเชื้อ, Syn. refined |
helladic | (ฮีแลค'ดิค) adj. เกี่ยวกับวัฒนธรรมยุคบรอนซ์ |
norwegian | (นอร์วี'เจียน) adj., n. (เกี่ยวกับ) นอร์เวย์ (ประเทศ-ประชาชน-ภาษาวัฒนธรรมและอื่น ๆ) |
peruvian | (พะรู'เวียน) n. ชาวเปรู adj. เกี่ยวกับประเทศเปรู วัฒนธรรมและอื่น ๆ ของเปรู |
philistine | (ฟิล? ลิสทีน, -ไทน์) n. ชาวป่าผู้ไม่รู้จักความเจริญ, ผู้ไม่เอาใจใส่ในศิลปศาสตร์หรืออักษรศาสตร์, ผู้ไร้วัฒนธรรม, ผู้ต่อต้านวัฒนธรรม. adj. ไร้วัฒนธรรม, ต่อต้านวัฒนธรรม, ไม่รู้จักความเจริญ, ไม่เอาใจใส่ในศิลปะ |
russian | (รัส'เชิน) adj. เกี่ยวกับรัสเซีย (ผู้คน, ภาษา, วัฒนธรรมและอื่น ๆ) n. ชาวรัสเซีย, ภาษารัสเซีย |
siamese | (ไซมะมีซ', -มีส') adj., n. (เกี่ยวกับ) ประเทศไทย, คนไทย, ภาษาไทย, วัฒนธรรมไทย, ฝาแฝด, มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด, เหมือนกัน, แมวไทย |
singhalese | (ซิงกะลีซ) adj., n. (เกี่ยวกับ) ศรีลังกา , ประเทศ, ประชาชน, วัฒนธรรม, ภาษา, Syn. Sinhalese |
spanish | (สแพน'นิช) adv. เกี่ยวกับสเปน (ประชาชน, ภาษา, วัฒนธรรมและอื่น ๆ) . n. ชาวสเปน, ภาษาสเปน |
uncivilised | (อันซิฟ'เวิลไลซดฺ) adj. ป่าเถื่อน, ไม่มีอารยธรรม, ไม่มีวัฒนธรรม, ไม่เจริญ., See also: uncivillis z edly adv. uncivilis z edness n. |
uncivilized | (อันซิฟ'เวิลไลซดฺ) adj. ป่าเถื่อน, ไม่มีอารยธรรม, ไม่มีวัฒนธรรม, ไม่เจริญ., See also: uncivillis z edly adv. uncivilis z edness n. |
vandalism | (แวน'เดิลลิสซึม) n. การทำลายทรัพย์สินของรัฐหรือของเอกชน, การทำลายวัฒนธรรมหรือศิลปวรรณคดีของชาติอื่น, พฤติกรรมและลักษณะนิสัยของชนเผ่าVandal., See also: vandalistic adj. vandalish adj. |