ล่ม | (v) sink, See also: capsize, submerge, go down, founder, Example: เรือได้ล่มและจมดิ่งสู่ใต้สายธารของลูกคลื่น, Thai Definition: กิริยาที่ไม่ทรงตัวอยู่ เอียงจนตะแคงหรือคว่ำ, กิริยาที่จม, ทำให้จมลง |
ล่ม | (v) collapse, See also: fail, go down, come to nothing, founder, fold, Syn. ล้ม, พัง, Ant. สำเร็จ, ตลอดรอดฝั่ง, Example: โครงการนี้ดำเนินไปได้ไม่เท่าไรก็ล่ม, Thai Definition: ไม่สำเร็จ, ไม่รอดฝั่ง |
ถล่ม | (v) bombard, See also: crush, Syn. กระหน่ำ, โจมตี, Example: กองทัพญี่ปุ่นถล่มเพิร์ลฮาเบอร์โดยไม่มีใครคาดฝัน, Thai Definition: ทำให้พังทลายหรือล่มจม, กลุ้มรุมทำร้ายฝ่ายตรงข้าม, Notes: (ปาก) |
ถล่ม | (v) fall down, See also: collapse, tumble down, fall in, Syn. ยุบ, พัง, Example: โรงงานรอยัลพลาซ่าที่จังหวัดนครราชสีมาถล่มเมื่อเดือนสิงหาคม 2536 เพราะหนักบนแต่อ่อนแอที่ฐานราก, Thai Definition: ยุบหรือทำให้ยุบทลายลง |
หล่ม | (n) mire, See also: bog, quagmire, mudhole, Syn. ปลัก, แอ่ง, คู, แก่ง, Example: รถตกหล่มอยู่นานนับชั่วโมงกว่าจะมีคนมาช่วย, Thai Definition: ที่ลุ่มด้วยโคลน |
เล่ม | (clas) numerative noun for books, knives, swords, etc, Example: ซีดีรอมเพียงสองแผ่นจะบรรจุรายการหนังสือได้มากว่าหนึ่งล้านเล่ม, Thai Definition: ลักษณนามสำหรับเรียกสิ่งของบางชนิดที่มีลักษณะยาวเรียวอย่างมีด หอก พาย เข็ม หรือใช้เป็นลักษณะนามของหนังสือ |
ล่มจม | (v) become bankrupt, See also: go under, become insolvent, be broke, be destitute, be impoverished, go to ruin, collapse, Syn. สิ้นเนื้อประดาตัว, Example: เขาทำทุกสิ่งทุกอย่าง เพื่อไม่ให้บริษัทล่มจม, Thai Definition: สูญเสียเงินทองข้าวของจนหมดตัวหรือเกือบหมดตัว |
ปะแล่ม | (adj) sweetish, See also: slightly sweet, Example: สมัยก่อนมีเงินหนึ่งสลึงก็สามารถซื้อขนมครกรสชาติมันหวานปะแล่มๆ เค็มหน่อยๆ ถูกลิ้นและถูกปากกินได้แล้ว, Thai Definition: อ่อนๆ น้อยๆ (ส่วนมากใช้แก่สิ่งที่มีรสหวาน) เช่น หวานปะแล่มๆ |
ยักหล่ม | (n) the supra-clavicular fossa, Syn. ยักหล่มถ่มร้าย, Thai Definition: รอยบุ๋มที่สะบักทั้ง 2 ข้าง ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสำหรับหญิง 1 ใน 3 อย่าง คือ สีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย |
รวมเล่ม | (v) compile, See also: gather together, collect together, bind together, Example: สำนักพิมพ์รวมเล่มนิทานอีสปเพื่อนำออกจำหน่าย, Thai Definition: นำเนื้อหามารวมไว้ในเล่มเดียวกัน |
ล่มสลาย | (v) collapse, See also: ruin, fall, Example: ที่นี่เป็นแหล่งอารยธรรมแรกเริ่มของมนุษย์ และล่มสลายไปนานนมแล้ว, Thai Definition: พังพินาศจนไม่สามารถจะกลับคืนมาได้ |
การถล่ม | (n) attack, See also: assault, assailing, bomb, Syn. การโจมตี, การทิ้งระเบิด, การบอมบ์, Example: ในช่วงสงคราโลกประเทศต่างๆ ได้รับความเสียหายอย่างใหญ่หลวงจากการถล่มอย่างหนักหน่วงของฝูงเครื่องบินรบของฝ่ายพันธมิตร |
การถล่ม | (n) collapse, See also: falling down, subsidence, breakdown, Syn. การยุบ, การพัง, การทลาย, Example: การถล่มของหิมะทำให้สมาชิกในครอบครัวของเขาเสียชีวิตทั้งหมด, Thai Definition: การทำให้ยุบ หรือการทำให้พังทลายหรือล่มลง |
ถล่มทลาย | (v) collapse, See also: fall, crumble, subside, tumble down, Example: ใครจะไปคิดว่าอาคารที่ประกอบด้วยอิฐหินปูนทราย และโครงเหล็กจะถล่มทลายลงมาได้ง่ายๆ, Thai Definition: พังทลายลง |
เก็บเล่ม | (v) bind, See also: tie, fasten, Example: ทุกวันนี้ โรงพิมพ์เกิดขึ้นเป็น 100 แห่ง หนังสือแต่ต้องคิดว่าจะเอาดีทางด้านใด เก็บเล่ม เย็บเล่ม เข้าปก เป็นต้น, Thai Definition: รวบรวมหนังสือหรือแผ่นภาพที่พิมพ์ไว้แล้วเรียงตามลำดับเลขหน้าเข้าเป็นเล่ม (ใช้แก่การพิมพ์) |
เข้าเล่ม | (v) to do pagemaking for a book, Syn. เย็บเล่ม, เข้ารูปเล่ม, Example: เอาเอกสารพวกนี้ไปเข้าเล่มเสียสิ จะได้พกสะดวกหน่อย, Thai Definition: เอาเอกสารมารวมกันให้เป็นเล่ม แล้วใส่ปกหน้าหลัง เป็นต้น |
กะล่อมกะแล่ม | (v) speak evasively, See also: speaking without distinctness or proper articulation, Syn. กล้อมแกล้ม, Example: เสียงเขากะล่อมกะแล่มฟังไม่รู้เรื่อง, Thai Definition: พูดไม่สู้ชัดความเพื่อให้เสร็จไป |
กะล่อมกะแล่ม | (v) chew imperfectly, Example: ยายแก่ซึ่งไม่มีฟันกะล่อมกะแล่มกลืนเนื้อเข้าไป, Thai Definition: เคี้ยวไม่ทันแหลกแล้วกลืน |
กล้อมแกล้ม | (กฺล้อมแกฺล้ม) ก. เคี้ยวไม่ทันแหลกแล้วรีบกลืน, เคี้ยวไม่ถนัด |
กล้อมแกล้ม | พูดอ้อมแอ้มพอให้ผ่านไป, พูดไม่สู้ชัดความเพื่อให้เสร็จไป, โดยปริยายหมายความว่า ทำพอให้ผ่าน ๆ ไป |
กล้อมแกล้ม | กะล่อมกะแล่ม ก็ว่า. |
กะล่อมกะแล่ม | ก. เคี้ยวไม่ทันแหลกแล้วรีบกลืน, เคี้ยวไม่ถนัด |
กะล่อมกะแล่ม | พูดอ้อมแอ้มพอให้ผ่านไป, พูดไม่สู้ชัดความเพื่อให้เสร็จไป, โดยปริยายหมายความว่า ทำพอให้ผ่าน ๆ ไป |
กะล่อมกะแล่ม | กล้อมแกล้ม ก็ว่า. |
กับแกล้ม | (-แกฺล้ม) น. ของกินกับเหล้า, แกล้ม ก็ว่า. |
เก็บเล็ม | ก. ค่อย ๆ เก็บทีละน้อย. |
เก็บเล่ม | ก. รวบรวมหนังสือหรือแผ่นภาพที่พิมพ์ไว้แล้ว เรียงตามลำดับเลขหน้าเข้าเป็นเล่ม (ใช้แก่การพิมพ์). |
แกล้ม | (แกฺล้ม) น. ของกินกับเหล้า, กับแกล้ม ก็ว่า. |
แกล้ม | (แกฺล้ม) ว. ไปด้วยกัน, ควบคู่กันไป, แกมกัน, (ใช้แก่กริยากิน) เช่น กินแกล้มเหล้า. |
เข้าเล่ม | ก. เรียงหน้าหนังสือให้เป็นลำดับเพื่อเย็บเป็นเล่ม เรียกว่า เข้าเล่มหนังสือ. |
แฉล้ม | (ฉะแล่ม) ว. สวย, งดงาม, แช่มช้อย, (โบ) แชล่ม. |
ช้า ๆ ได้พร้าสองเล่มงาม | ว. ค่อย ๆ คิดค่อย ๆ ทำแล้วจะสำเร็จผล. |
แชล่ม | (ชะแล่ม) ว. แฉล้ม, สวย, งดงาม, แช่มช้อย. |
โด่ไม่รู้ล้ม | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Elephantopus scaberL. ในวงศ์ Compositae ใบกระจุกซ้อนแนบอยู่กับพื้นดิน ดอกสีม่วงอ่อน ก้านช่อดอกตั้งตรงขึ้นไป ใช้ทำยาได้. |
ตุ๊กตาล้มลุก | น. ตุ๊กตาไม่มีขา ฐานโค้ง มีโลหะถ่วงอยู่ข้างในฐานเมื่อผลักให้ล้มแล้วจะกลับตั้งขึ้นมาได้เอง, โดยปริยายหมายถึงคนเจ็บไข้ที่ไม่ค่อยมีกำลังวังชา ประเดี๋ยวล้มนอน ประเดี๋ยวลุกนั่ง. |
ถล่ม | (ถะหฺล่ม) ก. ยุบหรือทำให้ยุบลง เช่น แผ่นดินถล่ม, ทำให้พังทลายหรือล่มจม เช่น ถล่มด้วยปืนใหญ่. |
น้ำตาลใกล้มดใครจะอดได้ | น. ชายหญิงที่ใกล้ชิดกันมากย่อมห้ามใจไม่ให้รักกันได้ยาก. |
บุคคลล้มละลาย | น. บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ซึ่งมีหนี้สินล้นพ้นตัวและศาลพิพากษาหรือสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย. |
บุคคลล้มละลายทุจริต | น. บุคคลล้มละลายที่ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดบางประการเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายล้มละลายกำหนด หรือไม่สุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือหนี้สินตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายล้มละลาย หรือเป็นบุคคลล้มละลายอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดฐานยักยอกหรือฉ้อโกง หรือการกระทำความผิดอันมีลักษณะเป็นการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน. |
ปะแล่ม, ปะแล่ม ๆ | ว. อ่อน ๆ น้อย ๆ (ส่วนมากใช้แก่สิ่งที่มีรสหวาน) เช่น หวานปะแล่ม ๆ. |
มวยล้ม | น. การชกมวยบนเวทีที่คู่ต่อสู้ฝ่ายหนึ่งแกล้งยอมเป็นฝ่ายแพ้ เพื่อหวังผลในการพนัน, โดยปริยายหมายถึงการต่อสู้หรือเรื่องราวที่ดูเหมือนเอาจริงเอาจัง แต่กลับไม่จริงหรือเลิกล้มไป. |
ไม้ล้มขอนนอนไพร | น. ไม้ในป่าที่ล้มตายเอง. |
ไม้ล้มเงาหาย | น. คนที่เคยมีวาสนาเมื่อตกตํ่าลงผู้ที่มาพึ่งบารมีก็หายหน้าไป. |
ไม้ล้มลุก ๑ | น. ไม้ ๒ ขาสำหรับกว้านของหนักขึ้นไปไว้บนที่สูง เช่น เอาไม้ล้มลุกกว้านพระบรมโกศขึ้นบนเกริน. |
ไม้ล้มลุก ๒ | น.พืชที่ไม่มีเนื้อไม้ มีอายุปีเดียวหรือหลายปี. |
ยักหล่ม | น. รอยบุ๋มที่สะบักทั้ง ๒ ข้าง ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีของผู้หญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ สีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, มักใช้เข้าคู่กับ ถ่มร้าย เป็น ยักหล่มถ่มร้าย. |
เย็บล้มตะเข็บ | ก. เรียกวิธีเย็บผ้าแบบหนึ่ง โดยเย็บ ๒ ครั้ง เมื่อเย็บครั้งหนึ่งแล้ว จับตะเข็บให้ราบลง แล้วเย็บลงไปบนตะเข็บนั้นอีกครั้งหนึ่ง. |
เย็บเล่ม | ก. ใช้ด้ายหรือลวดเย็บแผ่นกระดาษเพื่อประกอบเข้าเป็นเล่ม. |
เรือล่มในหนองทองจะไปไหน | น. คนในเครือญาติแต่งงานกัน ทำให้ทรัพย์มรดกไม่ตกไปอยู่กับผู้อื่น. |
เรือล่มเมื่อจอดตาบอดเมื่อแก่ | น. คนที่ทำตนเป็นคนดีมาตลอด แต่มาเสียคนเมื่อแก่. |
เรือล่มเมื่อจอดตาบอดเมื่อแก่ | ก. มีอุปสรรคเมื่อใกล้จะสำเร็จ. |
ล่ม | ก. กิริยาที่ทรงตัวไม่อยู่ เอียงจนตะแคง คว่ำ หรือจม เช่น เรือล่ม เกวียนล่ม, ทำให้ตะแคง คว่ำ หรือจม เช่น ล่มเรือ |
ล่ม | ได้รับความเสียหายมากเพราะน้ำท่วมหรือพายุพัดเป็นต้น เช่น นาล่ม สวนล่ม โป๊ะล่ม |
ล่ม | ไม่สำเร็จ, ไม่รอดฝั่ง, เช่น โครงการล่ม. |
ล่มจม | ก. สิ้นเนื้อประดาตัว เช่น ค้าขายขาดทุนจนล่มจม, ย่อยยับ, ฉิบหาย, เช่น บ้านเมืองล่มจม. |
ล่มฟ้า | ว. มีอำนาจเหนือฟ้าเหนือเทวดา. |
ล่มสลาย | ก. สูญเสียสภาพเดิมแล้วสลายไป เช่น อาณาจักรโบราณล่มสลายไปหลายอาณาจักรแล้ว. |
ล่มหัวจมท้าย | ก. ร่วมโชคชะตาเดียวกัน เช่น สามีภรรยาต้องล่มหัวจมท้ายด้วยกัน. |
ล้ม | ก. กิริยาที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ต้นไม้ล้ม ล้มตัวลงนอน ตึกล้ม, ทำให้มีอาการเช่นนั้น เช่น ล้มจอมปลวก ถูกผลักล้มลง, ตั้งอยู่ไม่ได้ เช่น กิจการล้ม ธนาคารล้ม โรงเรียนล้ม |
ล้ม | ฆ่า เช่น ล้มวัว ล้มควาย, ตาย เช่น ช้างล้ม, ตัดโค่น เช่น ล้มกอไผ่ |
ล้ม | สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต เช่น ล้มคดี ล้มมวย. |
ล้ม | ว. ที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ไม้ล้มข้ามได้ คนล้มอย่าข้าม |
ล้ม | ที่สมยอมกันในทางไม่สุจริต เช่น มวยล้ม. |
ล้มกระดาน | ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลคว่ำกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานคุมเสียงสมาชิกไม่อยู่เลยล้มกระดานด้วยการเลิกประชุม, คว่ำกระดาน ก็ว่า. |
ล้มกลิ้งล้มหงาย | ก. ล้มแล้วกลิ้งพลิกไปพลิกมา เช่น ตกกระไดล้มกลิ้งล้มหงายลงมา. |
ล้มคว่ำ | ก. ล้มเอาหน้าลง. |
ล้มคว่ำคะมำหงาย | ก. ล้มกลิ้งหลายทอด เช่น ถูกม้าเตะล้มคว่ำคะมำหงาย. |
ล้มคะมำ | ก. ล้มหัวพุ่งไปเพราะสะดุด. |
Volume | เล่ม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Accompanying material | วัสดุประกอบ, วัสดุที่มากับตัวเล่ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Volume | เล่ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Binding | การเย็บเล่ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bookbinding | การเย็บเล่มหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bound periodicals | วารสารเย็บเล่ม, Example: <p>วารสารเย็บเล่ม เป็นงานที่ทำต่อเนื่องจากการบริหารจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา (วารสารฉบับเก่า) คือ การนำวารสารฉบับปีพิมพ์เก่ามาทำการรวมเล่มเข้าด้วยกัน โดยจะไม่นำวารสารปีพิมพ์ปัจจุบันมาเย็บเล่ม เพราะผู้ใช้บริการยังต้องการใช้อยู่ สาเหตุที่ต้องเย็บเล่มวารสาร วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการให้มีรูปเล่มที่คงทน หยิบใช้งานง่าย และสะดวกต่อการค้นหา อาจพบปัญหาบ้างในกรณีทำสำเนา ที่ไม่ค่อยชัดเจน เนื่องจากติดที่สันที่เย็บเล่มไว้ <p>การเตรียมวารสารส่งเย็บเล่ม มีวิธีและขั้นตอนโดยสรุป ดังนี้ <p>1. รวบรวมวารสาร เมื่อได้รับวารสารครบปีแล้ว ห้องสมุดจะสำรวจว่ามีวารสารชื่อใดบ้างที่จะนำมาเย็บเล่ม <p>2. ก่อนการเย็บเล่มควรตัดหน้าที่ไม่จำเป็นออก เพื่อให้ผู้ใช้ค้นหาบทความได้ง่ายขึ้น รูปเล่มไม่ควรหนาเกิน โดยนำสารบัญของวารสารแต่ละฉบับมาเรียงรวมกันไว้ด้านหน้า หากมีดัชนีจะจัดเรียงไว้ท้ายเล่มเพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาบทความได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น <p>3. รูปแบบการจัดเรียงวารสารส่งเย็บเล่ม คือ ปกฉบับแรกของเล่ม ถ้าต้องการเย็บเล่มวารสารฉบับที่ 1–2 จะเก็บเฉพาะปกฉบับที่ 1 ส่วนฉบับอื่น ๆ จะเก็บเฉพาะหน้าสารบัญ แล้วจัดเรียงส่วนอื่นตามลำดับ คือ สารบัญ เนื้อหา และดัชนี <p>4. การจัดทำทะเบียนวารสารเย็บเล่ม เพื่อให้ทราบว่ามีวารสารฉบับใดบ้างที่อยู่ในระหว่างการเย็บเล่ม <P>5. การตรวจรับวารสารเย็บเล่ม ตรวจสอบการจัดเรียงเนื้อหาให้ถูกต้อง <p>6. การให้บริการ นำวารสารเย็บเล่มขึ้นชั้นให้บริการที่ชั้นวารสารเก่า และเปลี่ยนสถานะของวารสารด้วยคำว่า Bound เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้และผู้ปฏิบัติงานทราบ <p>กระบวนการจัดส่งวารสารเย็บเล่ม ห้องสมุดจะมีรายชื่อบริษัท ร้านค้า ที่ทำธุรกิจด้านนี้โดยเฉพาะ ซึ่งต้องมีการประเมินเรื่องคุณภาพและระยะเวลาการส่งมอบงาน เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Landslide | แผ่นดินถล่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
thread sewing | เย็บกี่, การทำเล่มหนังสือโดยการเย็บด้ายวิธีหนึ่ง มักใช้สำหรับหนังสือที่มีความหนามากและต้องการความทนทานเป็นพิเศษ เช่น หนังสืออ้างอิงต่างๆ, Example: <p>เย็บกี่ <p>เป็นการเย็บอกของยกพิมพ์แต่ละยกด้วยเชือกเส้นเดียวกัน เย็บจากยกพิมพ์หนึ่งไปอีกยกพิมพ์หนึ่งติดต่อกันไปจนจบเล่ม การเย็บกี่นี้สามารถเย็บหนังสือที่เป็นเล่มหนาๆ มีหน้ามากให้เป็นเล่มเดียวกันได้ และสามารถเปิดเล่มหนังสือทุกหน้าให้กางออกได้เต็มที่ หนังสือเย็บกี่นี้จะต้องมีการปิดปกคือนำปกมาผนึกยึดติดกับสันหนังสือเช่นเดียวกับหนังสือเย็บสัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
แหล่มเลย | แจ่มมาก ๆ [ศัพท์วัยรุ่น] |
Bookbinding | การเย็บเล่มหนังสือ [TU Subject Heading] |
Building failures | อาคารถล่ม [TU Subject Heading] |
Dam failures | เขื่อนถล่ม [TU Subject Heading] |
Accompanying material | วัสดุที่มากับตัวเล่ม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Mudslides | โคลนถล่ม [TU Subject Heading] |
Landslide | แผ่นดินถล่ม, Example: คำทั่วไปที่ใช้เรียกการเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของดิน หิน ตามแนวลาดชัน เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก การเคลื่อนที่ของมวลเหล่านี้มีความเร็วปานกลางถึงเร็วมาก [สิ่งแวดล้อม] |
Block Gaving | อุโมงค์กล่องดินถล่ม, Example: เป็นการทำเหมืองอุโมงค์ในบริเวณแหล่งแร่ ที่สามารถพังลงมาได้ง่าย โดยการตัดออกเป็นบล็อค ๆ ให้ถล่มลงมา [สิ่งแวดล้อม] |
Sublevel Gaving | อุโมงค์ชั้นย่อยถล่ม, Example: เป็นการทำเหมืองอุโมงค์ในบริเวณแหล่งแร่ ที่มีดินหินแร่ไม่แข็งแรง และสามารถพังลงมาได้ง่าย โดยการเจาะอุโมงค์ชั้นย่อยหลายชั้น แล้วระเบิดชั้นบน นำลงไปก่อนชั้นล่าง ดินหินแร่จะพังลงมา จากนั้นจะขนส่งแร่ออกทางอุโมงค์ชั้นย่อย [สิ่งแวดล้อม] |
Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] |
concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Hegemonic Power | มหาอำนาจที่ครอบงำ เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี พ.ศ. 2534 สหรัฐอเมริกาได้กลายเป็น "มหาอำนาจเดียว" หรือ "มหาอำนาจที่ครอบงำ" [การทูต] |
Iron Curtain | ม่านเหล็ก เป็นศัพท์ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ เซอร์วินสตัน เชอชิลล์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นหมายถึงเครื่องกีดขวางปิดกั้นเขต ซึ่งโซเวียตรัสเซียและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกไม่ยอมให้มีการ ติดต่อหรือเดินทางเข้าไปในอาณาเขตของประเทศดังกล่าว ที่เรียกกันว่า ประเทศหลังม่านเหล็ก เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองในระหว่างสงครามเย็น แต่ภายหลังที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลาย ม่านเหล็กก็พลอยหมดสภาพไปในที่สุด [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] |
Avalanche | หิมะถล่ม [อุตุนิยมวิทยา] |
Avalanche wind | ลมหิมะถล่ม - ลมแอวาแลนซ์ [อุตุนิยมวิทยา] |
mudslide | mudslide, โคลนถล่ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
landslide | landslide, แผ่นดินถล่ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
landslip | landslip, แผ่นดินถล่ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Adhesive Binding | การไสสันทากาว, การเข้าเล่มแบบไสกาว, Example: การเข้าเล่มแบบไสกาว (Adhesive binding) เป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุด เพราะเข้าเล่มได้เรียบร้อยสวยงามและราคาถูก เหมาะสำหรับหนังสือเล่มที่มีความหนาปานกลางประมาณ 70 หน้าขึ้นไป วิธีเข้าเล่มแบบไสกาวจะนำกระดาษที่เรียงหน้าเป็นเล่มแล้ว มาเข้าเครื่องไสด้านข้างให้เป็นขุยก่อนแล้วจึงทากาวที่ขอบสันที่ผ่านการไสด้วยการเลื่อยแล้ว จากนั้นจึงปิดสันด้วยผ้าก๊อชเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้สัน แล้วจึงหุ้มด้วยปกหนังสือ การที่ต้องไสขอบสันก่อนก็เพื่อให้กาวแทรกซึมเข้าไปง่าย การยึดติดก็จะดีขึ้น นั่นจึงเป็นที่มาของคำว่า “ไสกาว” การเข้าเล่มแบบนี้เป็นวิธีที่ทำได้เร็วและมีราคาไม่แพง ความทนทานก็พอใช้ได้ แต่กางหนังสือออกได้ไม่มาก โดยเฉพาะหนังสือที่หนามากๆ ถ้ากางหนังสือเต็มที่อาจจะหลุดได้ หนังสือที่นิยมเข้าเล่มแบบนี้ ได้แก่ หนังสือเรียน นิตยสาร และพ็อคเก็ตบุ๊ค นอกจากนี้การเข้าเล่มแบบไสกาวยังเหมาะกับการผลิตหนังสือจำนวนมากในระดับโรงพิมพ์ เนื่องจากมีราคาไม่แพง และมีเครื่องเข้าเล่มสันกาวร้อนช่วยในการเข้าเล่มด้วย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
amplitude modulation (AM) | ระบบเอเอ็ม, ในที่นี้ให้แปลว่า ระบบเอเอ็ม ตามคำศัพท์ในหนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ มัธยมศึกษาตอนปลาย คำศัพท์นี้ในหนังสือเรียนเล่มอื่นบางทีแปลว่า การผสมคลื่นทางแอมพลิจูด ในพจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน คำว่า modulation แปลว่า การกล้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Coptic binding | การเย็บเล่มแบบคอปติก, Example: การเย็บเล่มแบบคอปติก (Coptic binding) เป็นศิลปะการเย็บหนังสือด้วยมือที่มีมาตั้งแต่โบราณ เป็นวิธีการเย็บเล่มหนังสือที่พัฒนาขึ้นโดยชาวคริสเตียนในอียิปต์ยุคแรก ๆ และใช้ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 คำนี้ยังใช้เพื่ออธิบายการเย็บเล่มสมัยใหม่ที่ใช้รูปแบบเดียวกันนี้ การเย็บเล่มแบบคอปติกนี้ครั้งแรกมาจากหนังสือโบราณที่เย็บด้วยกระดาษหนัง กระดาษปาปิรัส หรือกระดาษที่เย็บพับผูกติดกันเป็นห่วงลูกโซ่ที่สันหนังสือโดยการเย็บเล่มแบบนี้ ในทางปฏิบัติ คำว่า "Coptic binding" หมายถึงการผูกเป็นหลายตอน การเย็บเล่มแบบคอปติกมีหลากหลายแบบ เช่น การเย็บแบบตะเข็บลูกโซ่ (Chain stitch) โดยการใช้เข็มคู่ ( 4 เข็ม) และเข้าปกแข็ง ลวดลายที่ปรากฎบนสันหนังสือนั้นเกิดจากด้ายที่ผ่านการเกี่ยวไขว้ ทับซ้อน สลับกันไปมา ให้เห็นความงามของเส้นด้ายที่สันหนังสือ ลายของการเย็บแบบตะเข็บลูกโซ่นั้นอาจมองออกได้เป็นหลายรูปร่าง โดยอาจดูเป็นเหมือนโซ่ที่เรียงแถวกันเป็นเส้น หรือเป็นเหมือนเปียที่ถักอย่างมีระเบียบ<br> <br>การเย็บเล่มแบบคอปติกเป็นการเย็บแบบสันเปลือย สามารถมองเห็นสีของด้ายที่ใช้เย็บจากด้านสันหนังสือ การเย็บแบบนี้ไม่ใช้กาวในการเย็บเล่ม แต่มีความคงทนสูงเพราะใช้ด้ายลินินแบบแวกซ์ (Waxed linen thread) เหมือนเข้าเล่มแบบสันกาวสามารถเปิดหนังสือได้ 360 องศา ช่างฝีมือมักใช้การเย็บเล่มแบบคอปติกเมื่อทำวารสารหรือหนังสือทำมืออื่น ๆ<br> <p><img alt="Coptic binding" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120912-coptic-binding.jpg" style="width: 268px; height: 255px" /></p> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
บุคคลล้มละลาย | [bukkhon lomlalāi] (n, exp) EN: bankrupt |
ฉบับรวมเล่ม | [chabap rūam lem] (n, exp) EN: collection ; anthology FR: collection [ f ] |
ช่างเย็บเล่ม | [chang yep lem] (n, exp) EN: bookbinder |
ฟ้าถล่มดินทลาย | [fā thalom din thalāi] (n, exp) EN: landslide |
ฟูแล่ม | [Fūlaem] (tm) EN: Fulham ; Fulham F.C. ; Fulham Football Club FR: Fulham |
หกล้ม | [hoklom] (v) EN: fall ; collapse FR: tomber ; s'étaler |
การเลิกล้ม | [kān loēklom] (n) EN: withdrawal |
การล้มละลาย | [kān lomlalāi] (n) EN: bankruptcy ; failure FR: faillite [ f ] |
กับแกล้ม | [kapklaēm] (n) EN: food eaten with alcoholic drinks ; savoury dish eaten to go with wine FR: plats accompagnant les alcools |
คำสั่งให้ล้มละลาย | [khamsang hai lomlalāi] (n, exp) EN: order of adjudication ; adjudication of bankrupcy |
โค่นล้ม | [khōnlom] (v) EN: eliminate ; remove ; oust ; get rid of FR: renverser ; éliminer ; se débarasser de |
โค่นล้มทรราช | [khōnlom thørarāt] (v, exp) EN: overthrow a tyrant FR: renverser un tyran |
ความล้มเหลว | [khwām lomlēo] (n) EN: failure ; miscarriage FR: échec [ m ] ; fiasco [ m ] |
เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้ | [kīokap nangseū lem nī] (xp) EN: about this book FR: au sujet de ce livre ; à propos de ce livre |
แกล้ม | [klaēm] (n) EN: savories eaten with drinks ; food eaten with liquor FR: amuse-gueule [ m ] |
แกล้ม | [klaēm] (v) EN: eat a savory along with a drink |
ใกล้มือ | [klai meū] (adv) EN: near at hand ; handy FR: à portée de (la) main |
กฎหมายลักษณะล้มละลาย | [kotmāi laksana lomlalāi] (n, exp) EN: bankruptcy law |
กฎหมายล้มละลาย | [kotmāi lomlalāi] (n, exp) EN: bankruptcy law |
เล็ม | [lem] (v) EN: trim ; hem ; prune ; clip FR: ourler ; tailler |
เล็ม | [lem] (v) EN: peck ; nibble at ; browse FR: picorer ; mordiller ; brouter |
เล่ม | [lem] (n) EN: [ classifier : books, magazines ; knives, forks, spoons ; oxcarts ; wheels ; barrows ] FR: [ classificateur : livres, magazines ; couteaux, fourchettes, cuillères ; charrettes à boeufs ; roues ; brouettes, charrettes à bras ] |
เล่มนี่มีอะไร | [lem nī mī arai] (xp) EN: what's inside this issue ? FR: que trouve t-on dans ce magazine ? ; quel est le contenu de ce numéro ? |
เล็มหนวดเครา | [lem nūat khrao] (v, exp) EN: trim one's moustache |
เล่มโปรด | [lem prōt] (n, exp) EN: preferred book FR: livre préféré [ m ] ; livre favori [ m ] ; livre de chevet [ m ] |
ลื่นล้ม | [leūn lom] (v, exp) EN: slip and fall FR: glisser et tomber ; tomber en glissant |
เลิกล้ม | [loēklom] (v) EN: give up ; abandon ; abolish FR: renoncer à ; liquider ; abandonner ; abolir |
ล้อกันล้ม | [lø kan lom] (n, exp) EN: training wheel FR: roue de sécurité [ f ] |
ล่ม | [lom] (v) EN: sink ; capsize ; submerge ; go down ; founder FR: couler ; sombrer |
ล่ม | [lom] (v) EN: collapse ; fail ; go down ; come to nothing ; founder ; fold FR: s'effondrer |
ล้ม | [lom] (v) EN: fall ; tumble ; drop ; plummet ; stumble ; topple ; flop FR: tomber ; chuter ; trébucher ; s'étaler (fam.) ; s'aplatir |
ล้ม | [lom] (v) EN: fall down ; tumble down ; collapse FR: s'abattre ; s'effondrer |
ล้ม | [lom] (v) EN: slaughter ; butcher ; kill FR: tuer |
หล่ม | [lom] (n) EN: mire ; bog ; puddle ; quagmire ; mudhole : morass FR: bourbier [ m ] ; fange [ f ] |
ล้มหัวทิ่ม | [lom hūa thim] (v, exp) EN: fall head first ; fall head over heels ; fall heels over head |
ล้มเจ็บ | [lom jep] (v, exp) EN: fall ill ; be ill FR: tomber malade |
ล่มจม | [lomjom] (x) EN: become bankrupt ; go under ; become insolvent ; be broke ; be destitute ; be impoverished ; go to ruin ; collapse FR: être ruiné ; être insolvable |
ล้มละลาย | [lomlalāi] (n) EN: become bankrupt : go bankrupt ; become insolvent ; be insolvent; go broke ; go bust FR: faire faillite ; être en faillite ; faire banqueroute |
ล้มเหลว | [lomlēo] (v) EN: fail to come off ; fail ; go bankrupt ; come to naught ; fall through FR: échouer ; avorter ; capoter ; s'effondrer |
ล้มเลิก | [lomloēk] (v) EN: abolish ; cancel ; rescind ; abrogate ; put an end to ; annul FR: renoncer à ; abandonner |
ล้มลง | [lom long] (v, exp) FR: succomber |
ล้มลุก | [lomluk] (adj) EN: short-lived ; annual ; biennial FR: annuel ; bisannuel |
ล้มพับ | [lomphap] (v) EN: fall down ; collapse FR: s'écrouler ; s'effondrer |
ล้มป่วย | [lom pūay] (v, exp) EN: fall ill ; get sick FR: tomber malade |
ล่มสลาย | [lomsalai] (v) EN: collapse ; ruin ; fall |
ล้มตาย | [lom tāi] (v, exp) EN: wither and die ; wilt and die ; fall dead FR: tomber mort |
ไม้ล้มลุก | [māilomluk] (n) EN: annual plant ; seasonal plant ; herbaceous plant ; biennial plant |
ไม้ล้มลุกข้ามปี | [māilomluk khām pī] (n, exp) EN: biennial herb |
ไม้ล้มลุกหลายปี | [māilomluk lāi pī] (n, exp) EN: perennial herb |
ไม้ล้มลุกปีเดียว | [māilomluk pī dīo] (n, exp) EN: annual herb |
assail | (vt) โจมตี, See also: รุกราน, ถล่ม, Syn. attack, assault |
avalanche | (n) หิมะถล่ม, Syn. snowslide |
bombard | (vt) โจมตีโดยการใช้ระเบิดหรือปืนที่มีอานุภาพร้ายแรง, See also: ถล่ม, กระหน่ำ, จู่โจม, Syn. assail, attack |
bookbinder | (n) คนเย็บเล่มหนังสือ |
bookbinding | (adj) การเย็บเล่มหรือปกหนังสือ |
booklet | (n) หนังสือเล่มเล็ก, Syn. pamphlet |
break | (vt) ล่มจม, See also: ล้มละลาย |
chapbook | (n) หนังสือเล่มเล็กๆ, Syn. pamphlet |
copy | (n) สำเนา, See also: ฉบับสำเนา, เล่มคัดลอก, Syn. duplicate, facsimile |
cross-refer | (vt) ชี้บอกผู้อ่านให้ไปอ่านอีกตอนหนึ่งในหนังสือเล่มเดียวกัน |
cross-reference | (n) ข้อความที่ชี้บอกผู้อ่านให้ไปอ่านอีกตอนหนึ่งในหนังสือเล่มเดียวกัน |
cave in | (phrv) ล้มเหลว, See also: พังทลาย, พัง, ล้มละลาย, ล่มจม, ขาดทุน, Syn. fail |
emerge from | (phrv) ทำให้ปรากฏออกมาจาก, See also: ทำให้ออกมาจาก, โผล่มาจาก |
fall in | (phrv) ล่มสลาย, See also: พังทลาย |
die | (vi) พินาศ, See also: ย่อยยับ, หายนะ, ล่มจม, Syn. perish, fail, collapse, Ant. succeed |
downfall | (n) ความหายนะ, See also: ความตกต่ำ, ความล่มสลาย, Syn. ruin, destruction, Ant. improvement |
falling | (n) ความล้มเหลว, See also: การพังพินาศ, ความล่มจม |
fascicle | (n) มัดเล็กๆ, See also: พวกเล็กๆ, เล่มแยกของหนังสือ, Syn. bundle, cluster, group |
fiasco | (n) ความล้มเหลวอย่างมาก, See also: ความล่มจม, สิ่งที่ทำให้อัปยศ, Syn. disaster, misfortune, Ant. blessing, benefit |
go over | (phrv) ล้มลงมา, See also: ถล่มลงมา |
go phut | (phrv) ล้มเหลว (คำไม่เป็นทางการ), See also: พังทลาย, ล่มสลาย |
go to the dogs | (idm) ล่มสลาย (คำไม่เป็นทางการ), See also: ถูกทำลาย |
heave in sight | (phrv) ปรากฏขึ้น, See also: โผล่ให้เห็น, โผล่มา |
never darken my door again | (idm) ไปให้พ้นและอย่าโผล่มาให้เห็นอีก |
not show one's face | (idm) ไม่มาให้เห็นหน้า, See also: ไม่โผล่มาให้เห็นหน้า, ไม่เสนอหน้า |
not to darken someone's door | (idm) ไปให้พ้นและอย่าโผล่มาให้เห็นอีก |
lace in | (phrv) เข้าเล่ม (การเย็บเล่มหนังสือ), See also: เย็บให้แน่น |
Lamentations | (n) ชื่อหนังสือเล่มหนึ่งในพระคัมภีร์ไบเบิล |
landslide | (n) แผ่นดินถล่ม, See also: แผ่นดินทลาย, Syn. landslip |
landslip | (n) แผ่นดินถล่ม, Syn. landslide |
meltdown | (n) การล่มสลายขององค์กร, Syn. breakdown, failure |
menorah | (n) โคมปักเทียน 7 หรือ 9 เล่ม, Syn. candlestick, candelabrum |
mire | (n) หล่ม, See also: เลน, โคลนตม, โคลน, Syn. marsh, bog, ooze |
mire | (vt) ทำให้ติดหล่ม, See also: ทำให้จมโคลน, Syn. jam, Ant. free, disentangle, release |
mired | (adj) ซึ่งติดหล่ม |
morass | (n) หล่ม, See also: หนอง, ปลัก, บึง, ตม, Syn. mire, quagmire, marsh |
Pentagon | (n) ตึกกระทรวงกลาโหมรูปห้าเหลี่ยมของอเมริกา, See also: ถูกผู้ก่อการร้ายถล่มเมื่อ 11 กันยายน พ.ศ.2544 |
Pentateuch | (n) หนังสือ 5 เล่มแรกของพระคัมภีร์, Syn. Old Testament |
pocketbook | (n) หนังสือเล่มเล็กๆ, See also: หนังสือขนาดเล็กที่ใส่กระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกงได้ |
puddle | (n) แอ่งน้ำขนาดเล็ก, See also: หล่ม, บ่อดิน, Syn. plash, mud puddle, rut |
puddly | (adj) ซึ่งมีหลุมมาก, See also: ซึ่งมีหล่มมาก |
ruin | (n) ความล่มจม, See also: ความล้มละลาย, Syn. bankruptey, insolvency |
ruin | (vt) ทำให้ล่มจม, See also: ทำให้ล้มละลาย, Syn. bankrupt, improverish |
ruination | (n) การล่มจม, See also: การย่อยยับ, การล่มสลาย, Syn. bankruptcy, damage, decay |
ruinous | (adj) ย่อยยับ, See also: ล่มจม, พินาศ, Syn. pernicious, calamitous, disastrous |
crack-up | (sl) อุบัติเหตุ, See also: เรือล่ม, เรือแตก |
meltdown | (sl) ความล่มสลาย, See also: ความเสียหาย |
shipwreck | (n) การอับปางของเรือ, See also: การล่มของเรือ, Syn. sinking |
shipwreck | (n) ความล้มเหลว, See also: ความพินาศ, ความล่มจม, Syn. destruction |
smash | (n) ความพ่ายแพ้, See also: ความล่มจม, Syn. destruction, ruin |
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
afloat | (อะโฟลท') adv., adj. ลอย (บนน้ำ) , ลอยตัว, ไม่ล่ม, บนเรือ, บนแพ, ท่วมน้ำ, ชุ่มน้ำ, ล่องลอย, แพร่หลาย, ไม่ล้ม (การเงิน) (on the water) |
afterword | (อาฟ' เทอเวิร์ด, แอฟ-) n. คำแถลงท้ายเล่ม., Syn. afterwords |
agrapha | (แอก' ราฟา) n. คำสอนของพระเยซูคริสต์ที่บันทึกโดยชาวคริสเตียนใน New Testament เล่มอื่นที่ไม่ใช่ Gospels |
bind | (ไบดฺ) { bound, bound, binding, binds } vt., vi., n. (การ) ผูก, มัด, พัน, เข้าปก, เย็บเล่ม, เชื่อมผนึก, ทำให้ท้องผูก, ผูกพัน, ยับยั้ง, ยึดแน่น, แข็งตัว, See also: bindable adj. ดูbind, Syn. tie |
binder | (ไบ'เดอะ) n. สิ่งที่ผูกมัด, ผู้ผูก, ผู้มัด, การเย็บปก, ยาเกาะติด, เชือก, สายมัด, แผ่นปะหน้าหนังสือ, เงินมัดจำ, เครื่องเย็บเล่ม, เครื่องเข้าปก, แฟ้ม |
bindery | (ไบ'เดอรี) n. ร้านหรือโรงเย็บเล่มหนังสือ, ร้านหรือโรงเข้าปกหนังสือ |
binding | (ไบน์'ดิง) n. การผูก, การมัด, สิ่งผูกมัด, การเข้าปกหนังสือ, การเย็บเล่มหนังสือ, การทำให้ท้องผูก, สายมัด, สายพัน, ยาเชื่อมติด adj. จำเป็น, ผูกพัน, Syn. compelling |
bodkin | (บอด'คิน) n. เครื่องเจาะรู, สว่าน, เข็มใหญ่, คีมหนีบ, กิ๊บผมที่ยาว, เครื่องคล้ายเข็มสำหรับสอดรู, กริชเล่มเล็ก |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
booklet | n. หนังสือเล่มเล็ก ๆ |
bound | (เบาดฺ) { bounded, bounding, bounds } adj. ถูกผูกมัด, เหนียวแน่น, แน่นอน, จักต้อง, ตัดสินใจ, เข้าเล่ม, ท้องผูก vi. กระโดด, เด้งกลับ, จดกับ, ประชิดกับ vt. จำกัด, กลายเป็นขอบเขต, พูดถึงขอบเขต -n. การกระโดด, การเด้งกลับ, ขอบเขต, ชายแดน adj. กำลังจะ, ไปทาง, พร้อมที่จะ |
brochure | (โบร?ัวร์') n. หนังสือเล่มเล็ก |
copy | (คอพ'พี) n. สำเนา, ฉบับสำเนา, 1เล่ม, 1ฉบับ, 1ชุด, เล่มตัวอย่าง vt., vi. คัดลอก, ลอกแบบ, เลียนแบบ, เอาอย่าง, อัดสำเนา, Syn. reproduce, imitate, Ant. prototype -Conf. facsimile |
disaster | (ดิซาส'เทอะ) n. ความหายนะ, ภัยพิบัติ, ความล่มจม., Syn. calamity |
disastrous | (ดิซาส'เทริส, แซส'เทริส) adj. ซึ่งทำให้เกิด (ความหายนะ, ภัยพิบัติ, ความย่อยยับ, ความล่มจม, ความโชคร้าย), See also: disastrousness n. ดูdisastrous, Syn. ruinous |
each | (อีช) adj. แต่ละ, คนละ, ละ, อันละ, สิ่งละ, เล่มละ, ทุก. -pron. แต่ละ -adv. แต่ละ |
forward | (ฟอร์'เวิร์ด) adv. ไปข้างหน้า, ข้างหน้า, อยู่ข้างหน้า, ก้าวหน้า, ล้ำหน้า, ล่วงหน้า. adj. เร็ว, ไว, ไปข้างหน้า, เกี่ยวกับอนาคต, กล้า, รุนแรง. n. กองหน้า. vt. ส่งไป, ส่งออก, ส่งล่วงหน้า, สิ่งต่อ, สนับสนุน, เร่ง, เร่งรัด, เย็บเล่มหนังสือ, Syn. help |
hag | (แฮก) n. หญิงแก่ที่น่าเกลียด, แม่มด, หล่ม, หนอง, บึง, ส่วนที่เป็นเกาะในหนองหรือบึง, ดูhagfish., See also: haggish adj. |
hagiocracy | (แฮกจิออค'ระซี) n. การปกครองโดยกลุ่มนักบวช, หล่ม, หนอง, บึง, ส่วนที่เป็นเกาะในหนองหรือบึง, Syn. hagiarchy |
hebrews | (ฮี'บรูซ) n. หนังสือเล่มหนึ่งของพระคัมภีร์ไบเบิล |
ibidem | (ไอบี'เดม) adv., L. ในหนังสือเล่มเดียวกัน, ในบทหรือหน้าเดียวกัน |
k&r | (เคแอนด์อาร์) เป็นชื่อย่อของสองนักเขียนชื่อดัง คือ Brian Kernighan กับ Dennis Ritchie ที่เขียนหนังสือเรื่อง " การเขียนโปรแกรมภาษาซี " (The C Programming Language) หนังสือเล่มนี้ใช้เป็นมาตรฐานของภาษาซีตลอดมาจนกระทั่งแอนซี (ANSI) ได้กำหนดมาตราฐานของภาษาซีขึ้นใหม่ ดู ANSI และ C ประกอบ |
lamentations | n. ชื่อหนังสือเล่มหนึ่งในพระคัมภีร์ไบเบิล, Syn. wailling |
landfall | (แลนดฺ'ฟอล) n. การเข้าหาแผ่นดินการเห็นแผ่นดิน, แผ่นดินที่ดิน, แผ่นดินถล่ม |
landslide | (แลนด'สไลดฺ) n. แผ่นดินถล่ม, แผ่นดินทลาย, การได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมทัน. vi. ถล่มลงมา, พังทลายลงมา, Syn. rockfall |
mire | (ไม'เออะ) n. บึง, หนอง, ตม, โคลน, เลน, หล่ม, ปลัก, ห้วงแห่งความยุ่งยาก. vt. ทำให้ติดหล่มพัวพันกับสิ่งยุ่งยาก, ทำให้เปื้อนเปราะ vi. ติดหล่ม, Syn. mud |
miry | (เมอ'รี) adj. เป็นลุ่ม, เป็นหนอง, เป็นหล่ม, เป็นโคลน., See also: miriness n., Syn. muddy |
new testament | n. พระคัมภีร์ไบเบิลเล่มใหม่ที่ประกอบด้วย Gospels, Acts of the Apostles, Epistles, Revelation of St. John the Divine |
old testament | n. พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับเก่าหรือเล่มต้นของคริสต์ศาสนา |
pamphlet | (แพม'ฟลิท) n. หนังสือเล่มเล็ก ๆ, See also: pamphletary adj. |
quagmire | (แควก'ไมเออะ, ควอก'ไมเออะ) n. บึง, หนอง, หล่ม, บ่อเลน, ปลัก, สถานการณ์ที่ลำบากมาก (bog), See also: quagmiry adj. |
ruin | (รู'อิน) n. ความพินาศ, ความหายนะ, ซากปรักหักพัง, สถานที่ปรักหักพัง, ความล่มจม, การล้มละลาย vi. ทำให้พินาศ, ทำลาย ให้ล่มจม, ทำให้ย่อยยับ, ล่อลวง (ผู้หญิง) vi. ประสบความพินาศ, ประสบความหายนะ, ล่มจม, ล้มละลาย, ย่อยยับ, See also: ruinable adj. ruiner n. |
ruination | (รูอิเน'เชิน) n. การพินาศ, การล่มจม, การล้มละลาย, สิ่งที่พินาศ, สิ่งที่ย่อยยับ, สิ่งปรักหักพัง, Syn. destruction |
ruinous | (รู'อะเนิส) adj. ทำให้พินาศ, ซึ่งทำลาย, เป็นภัย, ย่อยยับ, ล่มจม, ประกอบด้วยซากปรักหักพัง, Syn. disastrous, wasting |
sewing | (โซ'อิง) n. การเย็บ, การเย็บจักร, สิ่งที่เย็บ, เส้นที่เย็บเล่ม, Syn. needlewark |
snowslide | (สโน'สไลดฺ) n. หิมะถล่ม., Syn. snow-slip |
stitch | (สทิทชฺ) n. ตะเข็บ, เข็มหนึ่ง, วิธีการเย็บปักหรือตะเข็บ, ผลงานเย็บปักหรือตะเข็บ, จำนวนเล็กน้อย, ส่วนหนึ่ง, อาการเจ็บปวดอย่างกะทันหัน. vt., vi. ปักเข็ม, เย็บตะเข็บ, เย็บปัก, เย็บติด, เย็บเล่ม. |
unbound | (อันเบาน์ดฺ') adj. (หนังสือ) ไม่ได้เย็บเล่ม, อิสระ, ไม่ถูกยึดติด, ถูกปลดปล่อย. vi. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ unbind |
vga | วีจีเอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก video graphics array (หนังสือบางเล่มว่า video gate array) ที่แปลว่า ขบวนปรับภาพแบบวีดิทัศน์ หมายถึง มาตรฐานที่กำหนดไว้สำหรับจอภาพสี จอภาพชนิดนี้สามารถแสดงสีได้ถึง 256 สีในเวลาเดียวกัน พัฒนามาจากจอภาพรุ่นเก่า ที่เรียกว่า ซีจีเอ (CGA) และ อีจีเอ (EGA) จอวีจีเอนี้ให้ภาพที่คมชัดกว่า แสดงภาพได้แม่นตรงกว่า ความละเอียด (reso- lution) ของจอนั้นสามารถกำหนดได้สูงถึง 640 x 480 จุด (pixels) ในปัจจุบัน ยิ่งพัฒนาไปได้ไกลกว่านี้ คือกำหนดความคมชัดได้สูงถึง 1, 024 x 768 จุด เรียกว่า SVGA หรือ super VGA นั่นเองดู CGA, EGA, SVGA ประกอบ |
volume | (วอล'ลิม) n. ปริมาตร, จำนวนมาก, ปริมาณ, ทั้งหมด, เล่ม, ฉบับ, ระดับเสียง, ชุดแผ่นเสียง, ความดังของเสียง, Syn. tome, book |
volumed | (วอล'ลิมดฺ) adj. ประกอบด้วยจำนวนเล่มหรือฉบับ, จำนวนมาก, มาก, เป็นกลุ่มกลม หรือกลุ่มม้วน |
withers | (วิธ'เธอซ) n. ส่วนที่สูงที่สุดของหลังสัตว์, หัวไหล่ม้า หรือสัตว์อื่น, ตะโหงกม้าหรือสัตว์อื่น |
afloat | (adj) ลอยไป, ไม่ล่ม, ชุ่มน้ำ |
bind | (vt) ผูก, มัด, พัน, ติด, เย็บ, หุ้มปก, เย็บเล่ม |
booklet | (n) หนังสือเล่มเล็ก |
brochure | (n) แผ่นพับ, หนังสือเล่มเล็กๆ |
capsize | (vi, vt) จม, คว่ำ, ล่ม, พลิก |
disaster | (n) ความหายนะ, ความล่มจม, ความวิบัติ, ความย่อยยับ, ภัยพิบัติ |
downfall | (n) ความพินาศ, ความหายนะ, ความล่มจม, ความฉิบหาย, ความตกต่ำ, การตก |
epilogue | (n) บทส่งท้าย, คำส่งท้าย, ปัจฉิมกถา, บันทึกท้ายเล่ม |
founder | (vi) ล่ม, จมน้ำ, อับปาง, ล้ม, ทรุดลง, ล้มเหลว, เสียหาย |
hag | (n) หญิงชรา, ยายแก่, ยายเฒ่า, แม่มด, หนอง, บึง, หล่ม |
mire | (n) หล่ม, โคลน, ปลัก, เลน, ตม, หนอง, บึง |
mire | (vt) ตกหล่ม, ทำให้เปรอะเปื้อน, ติดหล่ม |
miry | (adj) เป็นโคลนตม, เป็นหล่ม |
pamphlet | (n) หนังสือเล่มเล็กๆ |
pamphleteer | (n) คนเขียนหนังสือเล่มเล็กๆ |
ruin | (vt) ทำลาย, เสื่อมโทรม, ทำให้ย่อยยับ, ทำให้ล่มจม, ทำให้พินาศ |
ruination | (n) ความหายนะ, ความพินาศ, การทำลาย, การล่มจม |
ruinous | (adj) ซึ่งล่มจม, ซึ่งทำลาย, ซึ่งย่อยยับ, ซึ่งพินาศ |
tome | (n) หนังสือเล่มโต, สมุด |
volume | (n) หนังสือ, ฉบับ, ปริมาตร, เล่ม, ปริมาณ, ชุดแผ่นเสียง |