ลี้ภัย | (v) seek asylum, See also: take to one's heels, escape, flee, run away, Syn. หนีภัย, หลบภัย, Example: ผมตัดสินใจว่าถ้าจะลี้ภัยต้องขึ้นฝั่งสิงคโปร์ |
ผู้ลี้ภัย | (n) refugee, See also: immigrant, escapee, displaced person, exile, Example: ผู้ลี้ภัยบางคนพยายามดิ้นรนให้หลุดพ้นสภาพของผู้ลี้ภัยด้วยการแต่งงานกับชาวพื้นเมือง, Thai Definition: ผู้หลบหนีภัยไปอยู่ต่างประเทศ |
ผู้ลี้ภัยการเมือง | (n) political refugee, Example: เมื่อจอมพลสฤษดิ์ยึดอำนาจจากกลุ่มราชครู นายชิน ต้องเป็นผู้ลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ, Count Unit: คน |
ผู้ลี้ภัยทางการเมือง | (n) refugee, Syn. ผู้ลี้ภัยการเมือง, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้ซึ่งมีหลักฐานปรากฏว่า ถูกกลั่นแกล้งทางการเมือง ด้วยเหตุของเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ หรือการเป็นสมาชิกขององค์กรในสังคมองค์กรใดองค์กรหนึ่ง เขาเหล่านั้นย่อมต้องได้รับความคุ้มครอง |
political asylum | ที่ลี้ภัยการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
political asylum | ที่ลี้ภัยทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
political refugee | ผู้ลี้ภัยการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refuge | ที่พำนัก, ที่ซ่อน, ที่ลี้ภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refugee | ผู้ลี้ภัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refugee | ผู้ลี้ภัย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
refugee | ผู้ลี้ภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refugee, political | ผู้ลี้ภัยการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
right of asylum | สิทธิให้ที่ลี้ภัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
asylum | ๑. ที่ลี้ภัย๒. สถานสงเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
asylum | ๑. สถานสงเคราะห์๒. ที่ลี้ภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
asylum, political | ที่ลี้ภัยทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
asylum, right of | สิทธิให้ที่ลี้ภัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exile | ๑. การเนรเทศ๒. การลี้ภัย๓. การออกไปอยู่ต่างถิ่น๔. ผู้พลัดถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exile | การเนรเทศ, ผู้ถูกเนรเทศ, การลี้ภัย, ผู้ลี้ภัย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Women refugees | ผู้ลี้ภัยสตรี [TU Subject Heading] |
Church work with refugees | คริสตจักรสงเคราะห์ผู้ลี้ภัย [TU Subject Heading] |
Legal assistance to refugees | ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ผู้ลี้ภัย [TU Subject Heading] |
Refugee children | เด็กผู้ลี้ภัย [TU Subject Heading] |
Refugees | ผู้ลี้ภัย [TU Subject Heading] |
Refugees, Political | ผู้ลี้ภัยทางการเมือง [TU Subject Heading] |
Asia-Pacific Inter-Governmental Consultations on Refugees Displaced Persons and Migrants | กรอบการหารือระหว่างรัฐบาลในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิกว่าด้วย ผู้ลี้ภัย ผู้พลัดถิ่น และผู้โยกย้ายถิ่น [การทูต] |
comprehensive plan of action | แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต] |
Convention on the Rights of the Child | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 โดยอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของเด็ก (บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี) เพื่อให้ได้รับการศึกษา การดูแล ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือกระทำทารุณกรรม ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 191 ประเทศ คงเหลือโซมาเลียและสหรัฐอเมริกาที่ยังมิได้ให้สัตยาบัน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กด้วยการภาคยานุวัติ อนุสัญญาฯ มีผลปังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ขณะนี้ไทยยังคงมีข้อสงวน 2 ข้อ คือ ข้อ 7 เรื่องสัญชาติ และ ข้อ 22 เรื่องการให้สถานะเป็นผู้ลี้ภัย [การทูต] |
emergency certificate | เอกสารเดินทางฉุกเฉิน เอกสารเดินทางที่ออกให้แก่ผู้ลี้ภัยทางการเมือง เด็กที่ไม่มีสัญชาติไทยในความดูแลของกรมประชาสงเคราะห์ คนต่างด้าวที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรและทำหนังสือเดินทางสูญหาย รวมทั้งเด็กต่างด้าวที่เกิดในประเทศไทย ซึ่งไม่มีสถานทูต/สถานกงสุลของคนชาตินั้นในประเทศไทย [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
High Commissioner | 1. เอกอัครราชทูตของประเทศในเครือจักรภพที่ประจำในสหราชอาณาจักรหรือประเทศใน เครือจักรภพด้วยกัน 2. ข้าหลวงใหญ่ ข้าหลวงใหญ่ : ใช้เรียกหัวหน้าสำนักงานบางแห่งในกรอบสหประชาชาติ เช่น United Nations High Commissioner of Refugee (UNHCR) หมายถึง ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
persons of concern | บุคคลในความห่วงใย หมายถึง ผู้หนีภัยจากการประหัตประหารที่มิได้มีสถานะเป็นผู้ลี้ภัย หรือผู้พลัดถิ่น แต่สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) จะดูแลช่วยเหลือโดยมีสถานะพิเศษตามที่ได้ตกลงกับประเทศผู้รับ [การทูต] |
refugee | ผู้ลี้ภัย หมายถึง บุคคลที่พึงได้รับสิทธิตามอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี พ.ศ. 2494 อาทิ สิทธิในการได้รับความคุ้มครอง การได้รับการพิจารณาให้ไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม การทำงานและการได้รับการศึกษา เป็นต้น [การทูต] |
United Nations Relief and Works Agency for Palestine Refugees in the Near East | สำนักงานบรรเทาทุกข์และจัดหางานของสหประชาชาติสำหรับผู้ลี้ภัยปาเลสไตน์ใน ตะวันออกใกล้ [การทูต] |
Office of the United Nations High Commissioner for Refugees | สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] |
asylum | (อะไซ'ลัม) n. สถานที่ดูแลคนตาบอด คนบ้า เด็กกำพร้า, ที่ลี้ภัย, การให้ความคุ้มครองผู้ลี้ภัยจากต่างประเทศ, ที่พ้นภัย, โรงพยาบาลคนบ้า |
byway | n. ถนนส่วนตัว, ถนนลี้ภัย, ถนนสายเปลี่ยว, การวิจัยที่ปิดบัง, ความพยายามที่ปิดบัง |
fugitive | (ฟิว'จิทิฟว) n. ผู้ลี้ภัย, ผู้หลบหนี. adj. หลบหนี, ลี้ภัย, ชั่วคราว, เปลี่ยนแปลง, ร่อนเร่, ไม่ถาวร., See also: fugitively adv. fugitiveness n., Syn. fleetiing, runaway |
harbor | (ฮาร์'เบอะ) n. ท่า, ท่าเรือ, ที่พัก, ที่ลี้ภัย. vt., vi. ให้ที่พักอาศัย, ปิดบัง, ซ่อน, จอดเรือในท่า |
harbour | (ฮาร์'เบอะ) n. ท่า, ท่าเรือ, ที่พัก, ที่ลี้ภัย. vt., vi. ให้ที่พักอาศัย, ปิดบัง, ซ่อน, จอดเรือในท่า |
refuge | (เรฟ'ฟิวจฺ) n. ที่หลบภัย, ที่ปลอดภัย, ที่พึ่ง, ร่มโพธิ์ร่มไทร vt. ให้ที่หลบภัยแก่. vi. หลบภัย, ลี้ภัย |
refugee | (เรฟ'ฟิวจี) n. ผู้ลี้ภัย, ผู้หลบภัย, ผู้หนีภัย, See also: refugeeism n. |
retreat | (รีทรีท') vi. ล่าถอย, ถอย, เพิกถอน, ยกเลิก, หลบตัว, หลบหนี, สละสิทธิ, (แก้มหน้าผาก) ตอบ, เอียงลาด n. การถอย, แตรเลิก, แตรเย็น, สัญญาณถอย, ธงสัญญาณการยอมแพ้, การปลดเกษียณ, ความสันโดษ, สถานที่ลี้ภัยหรือพักฟื้น, โรงพยาบาลคนบ้า, See also: retreatal adj. retreatingn |
runaway | (รัน'อะเว) n. ผู้หลบหนี, ผู้ลี้ภัย, การวิ่งหนี adj. หลบหนี |
sanctuary | (แรงค'ชุเออรี) n. สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, ปูชนียสถาน, ที่ลี้ภัย, ที่หลบภัย, สิทธิในการให้ที่หลบภัย (เช่นในสถานทูต) และมิอาจถูกจับกุมได้, ถ้ำสัตว์, ที่ที่สัตว์ป่าสามารถผสมพันธุ์และหลบภัยจากการถูกล่า โดยนายพราน, Syn. shrine |
shelter | (เชล'เทอะ) n. ที่กำบัง, ที่หลบภัย, ที่หลบซ่อน, ที่พักอาศัย, ที่ลี้ภัย, ที่เป็นร่มไม้ชายคา, การป้องกันหรือหลบภัยจากสถานที่ดังกล่าว, การคุ้มครอง vt. เป็นที่กำบังหรือที่หลบภัย, ให้ที่กำบังหรือที่หลบภัย, คุ้มครอง, ปกป้อง vi. หลบภัย, หลบซ่อน, ลี้ภัย. |
asylum | (n) ที่พักอาศัย, ที่ลี้ภัย, โรงพยาบาลบ้า |
fugitive | (adj) หลบหนี, ลี้ภัย, หนี, ร่อนเร่, ไม่ถาวร, ชั่วคราว |
fugitive | (n) ผู้หลบหนี, ผู้ลี้ภัย |
harbour | (n) ท่าเรือ, ที่จอดเรือ, ที่ลี้ภัย, ที่พัก |
refugee | (n) ผู้หนีภัยสงคราม, ผู้ลี้ภัย, ผู้หลบภัย |
retreat | (n) ความสันโดษ, การล่าถอย, การหนี, ที่ลี้ภัย, สัญญาณถอย |
sanctuary | (n) ปูชนียสถาน, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, โบสถ์, วิหาร, ที่ลี้ภัย |