มุด | (v) duck, See also: burrow, go through, dive, Syn. ลอด, ผลุบ, Example: ขโมยอาจจะมุดเข้าไปขโมยไข่ของเราทางรูเล็กๆ นี้ก็ได้, Thai Definition: เอาหัวลอดเข้าไป, เอาหัวดำลงไป |
สมุด | (n) notebook, Count Unit: เล่ม |
สมุด | (n) book, See also: workbook, notebook, exercise book, booklet, Example: ผู้วิจัยควรมีสมุดเล่มเล็กๆ ติดตัวเป็นประจำ เพื่อจะได้บันทึกสิ่งที่พบเห็นที่จะเป็นประโยชน์ในการวิจัย, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: กระดาษที่ทำเป็นเล่ม |
หมุด | (n) knot, Syn. ตะปู, เดือย, นอต, Example: เขาเจาะรูที่แผ่นเหล็ก เพื่อตอกหมุดลงไป, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องสำหรับตรึงหรืออุดรู |
มุดหัว | (v) hide, See also: lodge, dodge, conceal, evade, shun, avoid, Syn. หลบ, ซ่อน, แอบ, Example: ผมไม่ทราบว่ามันไปมุดหัวอยู่ที่ไหน |
สมุดพก | (n) school report, See also: report card, school children's report book, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดบันทึกผลการเรียน |
หอสมุด | (n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้ |
สมุดฉีก | (n) writing pad, See also: scratch pad, Example: นักเรียนนิยมใช้สมุดฉีกเพื่อเขียนรายงาน, Count Unit: เล่ม |
สมุดภาพ | (n) picture album, See also: photograph album, Syn. อัลบั้ม, Example: รูปนางในวรรณคดีในสมุดภาพเล่มนั้นสวยงามมาก, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดที่เก็บรวบรวมภาพ |
สมุดข่อย | (n) Thai long book made of pulp from trees of the family Uricaceae, Syn. สมุดไทย, สมุดดำ, Example: ในสมัยก่อนคนไทยต้องเขียนหนังสือลงบนสมุดข่อย, Count Unit: เล่ม, หัว, Thai Definition: สมุดไทยที่ทำจากเปลือกข่อย |
ห้องสมุด | (n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง |
ห้องสมุด | (n) library, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ไว้เป็นระบบ |
เข็มหมุด | (n) pin, Syn. หมุด, Example: ลุงเอาปลายเข็มหมุดมาลนเปลวเทียน แล้วขดงอเป็นเบ็ดสำหรับตกปลา, Count Unit: ตัว, Thai Definition: โลหะรูปร่างเรียวเล็ก หัวเป็นปุ่ม ปลายแหลม ใช้กลัดหรือติดผ้าและกระดาษ เป็นต้น |
สมุดบัญชี | (n) account book, Example: เขาฉีกสมุดบัญชีออกไปหลายใบ, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดที่ลงรายการต่างๆ |
สมุดปกขาว | (n) white book, Count Unit: เล่ม |
สมุดอวยพร | (n) note book for well-wishers, Example: แขกที่มาในงานเขียนคำอวยพรลงในสมุดอวยพรหน้างาน, Thai Definition: สมุดที่ใช้สำหรับเขียนคำอวยพรในโอกาสต่างๆ |
สมุดบันทึก | (n) note book, Syn. สมุด, ไดอารี่, อนุทิน, บันทึกประจำวัน, Count Unit: เล่ม |
สมุดบันทึก | (n) diary, See also: memorandum book, Example: ไม่ว่าจะไปเที่ยวที่ไหน ผมจะต้องจดใสสมุดบันทึกไว้ทุกครั้ง, Count Unit: เล่ม |
สมุดรายงาน | (n) report book, Example: ผู้อำนวยการมีคำสั่งว่า หากใครทำอะไรที่เป็นผลงาน ให้ผู้นั้นเขียนรายงานไว้ในสมุดรายงานที่เตรียมไว้, Count Unit: เล่ม |
สมุดเยี่ยม | (n) visiting book, Count Unit: เล่ม |
สมุดเยี่ยม | (n) visitor's book, Example: เมื่อพระองค์จะเสด็จกลับ เจ้าของภัตตาคารทูลขอพระราชทานลายพระหัตถ์ลงในสมุดเยี่ยม, Count Unit: เล่ม |
บัตรห้องสมุด | (n) library ticket, See also: borrower's ticket |
สมุดวาดเขียน | (n) drawing book, Example: คณะได้มอบสมุดวาดเขียน สี พู่กันให้เด็กๆ จำนวน 200 ชุด, Thai Definition: สมุดที่ใช้วาดภาพ |
สมุดโทรศัพท์ | (n) telephone directory, Syn. สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์, Example: ที่บ้านได้รับแจกสมุดโทรศัพท์เล่มใหม่ทุกปี, Count Unit: เล่ม |
สมุดปฏิทินโหร | (n) almanac, See also: calendar, Syn. ปูมโหร, ปูม, Example: หมอดูแทบทุกคน ต้องเคยศึกษาสมุดปฏิทินโหรมาก่อน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดแสดงการเคลื่อนไหวของดาวพระเคราะห์ประจำวัน, จดหมายเหตุของโหร |
ห้องสมุดประชาชน | (n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน |
ผู้ใช้บริการห้องสมุด | (n) library user |
กระหมุดกระหมิด | ว. ขมวดให้แน่น เช่น สักกระสันเป็นสามรวดรัดกระหวัดกระหมุดกระหมิดฉุดชิด ชักชายน้อยห้อยหูกระต่าย (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ขมุดขมิด | (ขะหฺมุดขะหฺมิด) ว. กระหมุดกระหมิด, หวุดหวิด |
ขมุดขมิด | บิดกระหมวด |
ขมุดขมิด | ไม่แน่น, ไม่ถึง, ไม่ถนัด. |
ขึ้นสมุด | ก. เริ่มการใช้สมุดเขียนอ่าน หลังจากฝึกเขียนอ่านบนกระดานชนวนมาแล้ว. |
เข็มหมุด ๑ | น. เข็มที่มีหัวเป็นปุ่มใช้กลัดกระดาษหรือผ้าเป็นต้น. |
เข็มหมุด ๑ | ดูใน เข็ม ๑. |
เข็มหมุด ๒ | ดู เส้นด้าย. |
มดสัง, มุดสัง, มูสัง | น. อีเห็น. (ดู อีเห็น). |
มะมุด | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Mangifera foetida Lour. ในวงศ์ Anacardiaceae มีในภาคใต้ ต้นและใบคล้ายมะม่วง แต่ช่อดอกสีแดง ผลดิบรสเปรี้ยวจัด สุกรสหวานอมเปรี้ยว, มุด ก็เรียก. |
มุด ๑ | ก. เอาตัวลอดเข้าไปใต้สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยใช้หัวนำเข้าไปก่อน เช่น มุดรั้ว มุดใต้ถุน. |
มุดน้ำ | ก. จมตัวลงและเคลื่อนไปใต้ผิวน้ำในทางราบ เช่น ปลาโผล่ขึ้นมาหายใจ แล้วมุดน้ำลงไป. |
มุดหัว | ก. หลบ, ซ่อน, เช่น ไปมุดหัวอยู่ที่ไหน. |
มุด ๒ | ดู มะมุด. |
มุดสัง, มดสัง, มูสัง | น. อีเห็น. (ดู อีเห็น). |
มูสัง, มดสัง, มุดสัง | น. อีเห็น. (ดู อีเห็น). |
เม็ดละมุด | น. แตด. |
ละมุด | น. ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Manilkara วงศ์ Sapotaceae ผลสุกรสหวาน กินได้ คือ ละมุดฝรั่ง [ M. zapota (L.) P. Royen ] ผลสุกสีนํ้าตาล, ละมุดสีดา หรือละมุดไทย [ M. kauki (L.) Dubard ] ผลสุกสีแดงคลํ้า. |
ละมุด | เรียกขนุนพันธุ์ที่มียวงสีเหลือง เนื้อเหลว ว่า ขนุนละมุด. (ดู ขนุน ๑). |
สมุด | (สะหฺมุด) น. กระดาษที่ทำเป็นเล่ม มีหลายชนิดเรียกชื่อตามประโยชน์ใช้สอย เช่น สมุดวาดเขียน สมุดแผนที่ สมุดแบบฝึกหัดคัดลายมือ. |
สมุดข่อย | น. สมุดไทย. |
สมุดไทย | น. สมุดที่ทำด้วยกระดาษข่อยแผ่นยาว ๆ หน้าแคบ พับทางขวางทบกลับไปกลับมาคล้ายผ้าจีบ เป็นสมุดเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีทั้งชนิดกระดาษขาวและกระดาษดำ, สมุดข่อย ก็เรียก. |
สมุดปูมเดินทาง | น. สมุดบันทึกรายการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ เช่น เดินทางจากไหนถึงไหน วันที่เดินทาง จำนวนชั่วโมง ฯลฯ. |
สมุดรายงาน | น. สมุดบันทึกผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน, เดิมเรียกว่า สมุดพก. |
สอดหมุด | ก. สอดผ้ากอซเข้าไปในโพรงฝีเป็นต้นเพื่อซับของเหลวภายใน. |
สามหมุด | น. ชื่อมีดสำหรับปอกหรือฝานชนิดที่ตรึงกั่นติดกับด้ามด้วยหมุด ๓ ตัว เรียกว่า มีดสามหมุด. |
หมุด | น. เครื่องสำหรับตรึงหรืออุดรู |
หมุด | เรียกเข็มที่หัวเป็นปุ่ม ใช้กลัดกระดาษหรือผ้าเป็นต้น ว่า เข็มหมุด |
หมุด | ผ้ากอซที่ใช้สอดเข้าไปในโพรงฝีเป็นต้นเพื่อซับของเหลวภายใน. |
ห้องสมุด, หอสมุด | น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้. |
กมุท | (กะมุด) น. บัว เช่น ส่งดวงกมุทให้กัณหา (ม. คำหลวง มัทรี). |
กระดาษข่อย | น. กระดาษที่ทำจากเปลือกข่อย ใช้ทำสมุดไทย. |
กระเบียน | ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดเล็กชนิด Ceriscoides turgida (Roxb). Tirveng ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นในป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ต้นมีหนามห่าง ๆ เปลือกเรียบ ดอกเมื่อแรกบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ผลคล้ายละมุดฝรั่ง แต่สุกแล้วแข็ง, กระดานพน มะกอกพราน หมุยขาว หรือ หัวโล้น ก็เรียก. |
กลอง | (กฺลอง) น. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ขึงด้วยหนัง ใช้ตีบอกสัญญาณ กำกับจังหวะ หรือใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่น ๆ ตัวกลองเรียกว่า “หุ่น” ลักษณะกลมกลวงทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่นไม้ชิงชัน ไม้มะริด ไม้มะม่วง มีทั้งหน้าเดียวและ ๒ หน้า ที่ขึ้นหนังหน้าเดียว เช่น โทน กลองยาว รำมะนา ที่ขึ้นหนัง ๒ หน้า เช่น กลองทัด ตะโพน เปิงมาง กลองแขก กลองมลายู กลองชนะ การขึ้นหนังมีทั้งที่ใช้หมุดตรึงให้แน่น และใช้โยงเร่งเสียงด้วยสายหนัง เรียกว่า หนังเรียด หรือใช้หวายหรือลวด ยังมีกลองที่หล่อด้วยโลหะทั้งลูก แต่มิได้ขึงด้วยหนัง ก็มี เช่น มโหระทึก และกลองที่ทำด้วยดินเผา การตีกลองอาจใช้ไม้ตี มือ (ฝ่ามือ) หรือนิ้ว เพื่อให้เกิดเสียงดังก้อง, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก. |
กาลสมุตถาน | (กาละสะหฺมุด-) น. กองโรคที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามเวลาปรกติ. |
กี่ ๑ | น. เครื่องทอผ้า, เครื่องเย็บสมุด |
กุญแจรหัส | สมุดประมวลรหัส เพื่อใช้เข้ารหัสและถอดรหัส บรรจุข้อความที่เข้ารหัสไว้ด้านหนึ่งและข้อความที่ถอดรหัสแล้วไว้อีกด้านหนึ่ง. |
กุมุท | (กุมุด) น. บัว, บัวขาว, บัวสาย. (ป., ส.) |
เกด ๑ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard ในวงศ์ Sapotaceae ผลคล้ายละมุดสีดา สุกแล้วมีรสหวาน กินได้. |
ขนบ | กลีบ, รอยที่พับ (ของสมุดข่อย หรือผ้าจีบ หรือจีวร เป็นต้น) |
ขนุน ๑ | (ขะหฺนุน) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Artocarpus heterophyllus Lam. ในวงศ์ Moraceae มีนํ้ายางขาว แก่นสีเหลือง เรียกว่า กรัก ใช้ต้มเอานํ้าย้อมผ้า ผลกลมยาวราว ๒๐-๕๐ เซนติเมตร ภายนอกเป็นหนามถี่ ภายในมียวงสีเหลืองหรือสีจำปา รสหวาน กินได้ พันธุ์ที่มียวงสีเหลือง เนื้อนุ่มแต่ไม่เหลว เรียก ขนุนหนัง, พันธุ์ที่มียวงสีจำปา เนื้อนุ่ม เรียก ขนุนจำปาดะ, ส่วนพันธุ์ที่มียวงสีเหลือง เนื้อเหลว เรียก ขนุนละมุด. |
ไข้ผื่น | น. ไข้ที่มีผื่นและการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นทางผิวหนัง มีลักษณะอาการและความรุนแรงต่าง ๆ กัน ตั้งแต่เป็นเม็ดเล็ก ๆ เหมือนหัวเข็มหมุด จนถึงปื้นใหญ่ ๆ ในรายที่รุนแรงมากอาจมีเลือดออกใต้ผิวหนังบริเวณผื่นหรือปื้น และผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ, ไข้กาฬ หรือ ไข้ส่า ก็เรียก. |
คู่มือ | น. สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง. |
เคลื่อนที่ | ว. ไม่อยู่กับที่, ไม่ประจำที่, เช่น ห้องสมุดเคลื่อนที่. |
เจโตวิมุติ | (-วิมุด) น. ความหลุดพ้นด้วยอำนาจแห่งจิต เป็นโลกุตรธรรมประการหนึ่ง, คู่กับ ปัญญาวิมุติ. |
โฉนด | (ฉะโหฺนด) น. หนังสือสำคัญของทางราชการแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน, ก่อนนี้ถ้าเป็นสวนปลูกไม้ยืนต้น เรียกว่า โฉนดสวน, ถ้าเป็นสวนไม้ล้มลุก เรียกว่า โฉนดป่า, เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ เริ่มออกโฉนดแบบใหม่โดยวิธีรังวัดปักหลักเขตลงในที่ดินด้วยหมุดหลักฐานการแผนที่ และแสดงรูปแผนที่ที่ดินนั้นลงไว้ในโฉนดด้วย เรียกว่า โฉนดแผนที่ |
ซ้อน | ก. ทับกันขึ้นไป เช่น เอาจานซ้อนกัน เอาหนังสือซ้อนสมุด, เรียงเหลื่อมกัน เช่น ฟันซ้อน มะลิซ้อน, อาการที่นั่งพาหนะเรียงไปข้างหน้าหรือต่อท้าย เช่น นั่งซ้อนหลังวัวหรือควาย นั่งซ้อนหน้าจักรยาน นั่งซ้อนท้ายมอเตอร์ไซค์ |
ดำดิน | ก. มุดดินไป เช่น ขอมดำดิน |
ตรีผลสมุฏฐาน | (-สะหฺมุดถาน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีผลเป็นที่ตั้ง ๓ อย่าง คือ ลูกมะตูม ลูกยอ ลูกผักชีลา. |
ตรีสมุตถาน | (-สะหฺมุดถาน) น. สมุตถาน ๓ อย่าง คือ ดี เสมหะ ลม. |
pin | หมุดตรึง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pin | หมุด, เดือย [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paper, white | สมุดปกขาว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pathfinder | ๑. หมุดสำรวจ๒. เครื่องตรวจคลองรากฟัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pinworm | พยาธิเข็มหมุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peg-shaped tooth | ฟันรูปหมุด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
probe | ๑. หมุดแยง, แท่งควาน๒. หัวตรวจ๓. แยง, ควาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiolus | แท่งแยง, หมุดแยง, หลอดสวนแยง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rivet cutting blowpipe | คันตัดหมุดย้ำ [ ด้วยแก๊ส ] [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
rivet piercing | การทะลวงหมุดย้ำ [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
rivet washing | การปาดหัวหมุดย้ำ [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
swallet | ช่องน้ำมุด [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
swallow hole | แอ่งน้ำมุด [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
subduction zone | เขตมุดตัวของเปลือกโลก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
seton | หมุดใส่แผล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stream sink | ธารน้ำมุด [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
appressorium | หมุดใยรา [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
commonplace book | สมุดข้อมูล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collecting book | สมุดเก็บเบี้ยประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
depository library | ห้องสมุดรับฝาก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
tooth, peg-shaped | ฟันรูปหมุด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก, โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก, โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพก, โน้ตแพดคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพก, โน้ตแพดคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nail | ๑. เล็บ๒. หมุด, ตะปู [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
underthrusf fault | รอยเลื่อนมุด [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
white paper | สมุดปกขาว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
white papers | สมุดปกขาว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Integrated Library Systems | ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Accession book | สมุดทะเบียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
American Library Association | สมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Art library | ห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Fishery library | ห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hospital library | ห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
School librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book mobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Branch library | ห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Collection | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Collection evaluation | การประเมินคุณค่าทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
College librarian | บรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dental library | ห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Identification page | หน้าประทับตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Interlibrary loan | การยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library | ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library administration | การบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library administrator | ผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library automation | ห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library building | อาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library patron | ผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library personnel | เจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library stamp | ตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Military library | ห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
National library | หอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Printed catalog | รายการบัตรของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Processing (Libraries) | งานเทคนิค (ห้องสมุด) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Public library | ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Public librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Traveling library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
บัตรห้องสมุด | [bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket FR: carte de lecteur [ m ] |
ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition |
ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition |
ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] |
ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] |
ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] |
หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] |
หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] |
หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] |
เข็มหมุด | [khemmut] (n) EN: pin FR: épingle [ f ] |
เข็มหมุดซ่อนปลาย | [khem mut søn plāi] (n, exp) EN: safety pin FR: épingle de sûreté [ f ] |
เขียนลงในสมุด | [khīen long nai samut] (v, exp) FR: noter dans un cahier ; prendre des notes |
ละมุด | [lamut] (n) EN: sapodilla FR: sapotille [ f ] |
มะมุด | [mamut] (n) EN: Horse Mango |
เม็ดละมุด | [met lamut] (n, exp) EN: clitoris FR: clitoris [ m ] |
มุด | [mut] (v) EN: duck ; burrow ; go through ; crawl underneath ; dive ; thrust FR: s'enfoncer dans ; plonger ; se cacher sous |
หมุด | [mut] (n) EN: peg ; drawing pin ; cotter pin ; tin tack ; knot FR: cheville [ f ] ; clavette [ f ] |
หมุดย้ำ | [mut yam] (n, exp) FR: rivet [ m ] |
นกมุดน้ำ | [nok mūt nām] (n) EN: dipper |
นกมุดน้ำ | [nok mūt nām] (n) EN: Cinclidae |
นกมุดน้ำ | [nok mūt nām] (n, exp) EN: Brown Dipper FR: Cincle de Pallas [ m ] ; Cincle brun [ m ] ; Cincle fuligineux [ m ] |
สำนักหอสมุดกลาง | [samnak høsamut klāng] (n, exp) EN: central library |
สมุด | [samut] (n) EN: book ; workbook ; notebook ; exercise book ; booklet FR: cahier [ m ] ; carnet [ m ] ; livret [ m ] |
สมุดบัญชี | [samut banchī] (n, exp) EN: account book ; books of acount FR: livre comptable [ m ] ; livre de comptabilité [ m ] |
สมุดบัญชีเงินสด | [samut banchī ngoensot] (n, exp) EN: cashbook |
สมุดบันทึก | [samut bantheuk] (n, exp) EN: diary ; record book ; notebook FR: journal [ m ] ; agenda [ m ] ; carnet [ m ] |
สมุดบันทึกสุขภาพ | [samut bantheuk sukkhaphāp] (n, exp) FR: carnet médical [ m ] |
สมุดเช็ค | [samut chek] (n, exp) EN: chequebook ; checkbook FR: chéquier [ m ] ; carnet de chèques [ m ] |
สมุดจด | [samut jot] (n, exp) FR: calepin [ m ] ; bloc-notes [ m ] |
สมุดจดบันทึก | [samut jot bantheuk] (n) EN: notebook FR: cahier [ m ] |
สมุดจดที่อยู่ | [samut jot thīyū] (n, exp) EN: address book FR: carnet d'adresses [ m ] |
สมุดเก็บภาพ | [samut kep phāp] (n, exp) EN: album FR: album [ m ] |
สมุดงาน | [samut ngān] (n, exp) EN: workbook |
สมุดเงินฝาก | [samut ngoenfāk] (n, exp) EN: account book FR: livret d'épargne [ m ] |
สมุดเงินสด | [samut ngoen sot] (n, exp) EN: cash book FR: livre des recettes [ m ] |
สมุดโน้ต | [samut nōt] (n) EN: notebook FR: cahier [ m ] |
สมุดภาพ | [samut phāp] (n, exp) EN: picture album ; photograph album ; picture book FR: album [ m ] ; album de photos [ m ] |
สมุดพก | [samutphok] (n, exp) EN: school report ; report card ; school children's report book ; notebook FR: journal de classe [ m ] ; agenda [ m ] |
สมุดรายวัน | [samut rāiwan] (n, exp) EN: journal |
สมุดที่อยู่ | [samut thīyū] (n, exp) EN: address book FR: carnet d'adresses [ m ] |
สมุดโทรศัพท์ | [samut thōrasap] (n, exp) EN: telephone book FR: annuaire téléphonique [ m ] ; bottin [ m ] |
สมุดวาดเขียน | [samut wāt khīen] (n, exp) EN: drawing book ; drawing pad FR: cahier de dessin [ m ] |
สมุดเยี่ยม | [samut yīem] (n, exp) EN: visitors book |
ต้นละมุด | [ton lamut] (n) FR: sapotier [ m ] |
ยืมหนังสือจากห้องสมุด | [yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library FR: emprunter un livre à la bibliothèque |
album | (n) สมุดเปล่า (สำหรับใส่รูป, แสตมป์หรือสิ่งอื่นๆ), See also: อัลบั้ม, Syn. collection |
almanac | (n) ปฏิทินโหราศาสตร์, See also: ปฏิทินร้อยปี, สมุดปฏิทินโหร, Syn. calendar, yearbook |
atlas | (n) หนังสือแผนที่, See also: สมุดแผนที่, Syn. book of maps |
bankbook | (n) สมุดเงินฝากของธนาคาร, Syn. passbook |
bookmobile | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่, Syn. mobile library |
brochure | (n) แผ่นพับสำหรับโฆษณา, See also: สมุดหรือหนังสือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า มีภาพประกอบ, Syn. booklet |
burrow | (vt) ทำให้เป็นรูหรือโพรง, See also: มุด, หลบ, ซ่อน, ซุก, แอบ, Syn. dig |
call number | (n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด |
cashbook | (n) สมุดบัญชีเงินสด |
catalog | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, Syn. catalogue |
catalogue | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, See also: แค็ตตาล็อก, Syn. catalog |
charge | (vt) ยืม (หนังสือ), See also: ยืมหนังสือจากห้องสมุด, Syn. borrow |
charge | (vt) ลงบันทึกการยืม, See also: ลงบันทึกการยืมหนังสือ จากห้องสมุด |
cleat | (n) ปุ่มสตั๊ด, See also: หมุดใต้พื้นรองเท้าบางชนิด เช่น รองเท้าฟุตบอล, Syn. stud |
delivery room | (n) ห้องยืมคืนหนังสือ (ในห้องสมุด) |
diary | (n) สมุดบันทึก, See also: ไดอารี่, บันทึกประจำวัน, Syn. memoir, biography, daybook |
directory | (n) สมุดรายนาม, See also: สมุดรายชื่อ, Syn. list, catalogue, file, register |
go to earth | (idm) หลบซ่อนลงดิน, See also: ลงรู, ซ่อนในดิน, มุดดิน, Syn. run to |
go to ground | (idm) หลบซ่อนลงดิน, See also: ลงรู, ซ่อนในดิน, มุดดิน, Syn. run to |
go under | (phrv) ลอดข้างใต้, See also: มุดข้างใต้, ผ่านด้านล่าง |
gib | (n) ลิ่ม, See also: หมุด |
gib | (vt) ใส่ลิ่ม, See also: ใส่หมุด |
hob | (n) หมุดที่ใช้เล่นในกีฬา quoits |
lib | (abbr) ห้องสมุด (คำย่อของ library) |
library | (n) ห้องสมุด, See also: หอสมุด, หอเก็บหนังสือ |
Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในรัฐวอชิงตัน |
mobile library | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ |
notebook | (n) สมุด, See also: สมุดบันทึก, Syn. note pad, memorandum book |
pad | (n) สมุดฉีก, Syn. note paper, memorandum |
passbook | (n) สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร, Syn. bankbook, account book |
peg | (vt) ตอกหมุด, See also: ตรึง, ติดหมุด, Syn. hold, clip, staple, Ant. unpin, unclip |
peg | (n) หมุด, See also: เข็มหมุด, ตะปู, สิ่งที่ใช้ยึดให้อยู่กับที่ |
phone book | (n) สมุดโทรศัพท์ |
pin | (n) เข็มหมุด, See also: หมุด, Syn. peg |
pincushion | (n) หมอนปักเข็มหมุด |
pinhead | (n) หัวเข็มหมุด |
pinpoint | (n) ปลายเข็ม, See also: หัวเข็มหมุด, Syn. point |
pinworm | (n) พยาธิเข็มหมุด |
planner | (n) สมุดจดบันทึกตารางเวลา |
peg out | (phrv) ตอกหมุดทำเครื่องหมาย |
peg out | (phrv) ยึดด้วยหมุดเพื่อให้แผ่ออก |
pin back | (phrv) ตอกหมุดไว้, See also: ตรึงไว้ |
pin on | (phrv) ตรึงด้วยหมุด |
pin on | (phrv) ตรึงด้วยหมุด, See also: ยึดไว้ด้วยหมุด |
pin to | (phrv) ยึดด้วยหมุด, See also: ตอกด้วยหมุด |
register | (n) สมุดลงทะเบียน, Syn. account book, cartulary |
rivet | (n) หมุดโลหะสำหรับตอกยึด, See also: หมุดย้ำ, Syn. bolt, screw |
rivet | (vt) ตอกด้วยหมุด, See also: ตรึงด้วยหมุด, ยึดด้วยหมุด, Syn. bolt, screw |
riveter | (n) ผู้ตอกหมุด, See also: เครื่องตอกหมุด, Syn. drill |
rogues' gallery | (n) สมุดรวบรวมรูปภาพของอาชญากร |
album | (แอล' บัม) n. สมุดหน้าเปล่าสำหรับเก็บภาพแสตมป์หรืออื่น ๆ , แผ่นเสียงขนาดใหญ่, ชุดแผ่นเสียง, สมุดลงนามของผู้มาเยี่ยม |
ascariasis | (แอสคะไร'อะซิส) n. ภาวะเป็นพยาธิตัวกลมจำพวก Ascaris เช่น พยาธิเส้นด้ายพยาธิเข็มหมุด (infestation with ascarids) |
ascarid | (แอส'คะริด) n. พยาธิตัวกลมในตระกูล Ascaridae เช่น พยาธิเส้นด้าย, พยาธิเข็มหมุด |
athenaeum | (แอธธินี'อัม) n. สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้, ห้องสมุด., Syn. atheneum |
atlas | (แอท'เลิส) n., (pl. atlases, atlantes) สมุดแผนที่, ชุดรวมแผนภาพและตาราง, กระดูกสันหลังส่วนคอที่ค้ำศีรษะ, ชื่อเทพเจ้ากรีกที่ค้ำฟ้าอยู่, คนที่แบกภาระหนักมาก, ชื่อขีปนาวุธขนาดยักษ์ของอเมริกา (book of maps) |
axle | (แอค' เซิล) n. แกนล้อ, เพลารถ, แกน, เพลา, หมุด, เข็ม, Syn. spindle, shaft |
bank book | n. สมุดเงินฝากธนาคาร |
black book | n. สมุดรายชื่อคนที่ต้องได้รับโทษ, สมุดรายชื่อคนที่มีความผิด |
blank book | n. สมุดที่ว่างเปล่า |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
bookplate | n. ป้ายชื่อเจ้าของหนังสือหรือห้องสมุดที่ติดกับหนังสือ |
carrel | n. โต๊ะอ่อนหนังสือเล็ก ๆ ที่เป็นเอกเทศในห้องสมุด |
carrell | n. โต๊ะอ่อนหนังสือเล็ก ๆ ที่เป็นเอกเทศในห้องสมุด |
cartulary | n. สมุดเอกสารสัญญา, หนังสือบันทึกสัญญา |
cashbook | n. สมุดบันทึกการจ่ายเงินและการนับเงิน, บัญชีเงินสด |
cd-rom | (ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง |
checkbook | n. สมุดเช็ค |
clitoris | (คลิท'เทอริส) n. เม็ดละมุด, ปุ่มกระสัน |
compact disk | ใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง |
copybook | (คอพ'พีบุค) n. สมุดสำหรับลอกแบบ |
da | 1. abbr. dopamine 2. (ดีเอ) ย่อมาจาก desk accessory (แปลว่า เครื่องใช้อำนวยความสะดวก) มีอยู่ในเครื่องแมคอินทอช หมายถึง โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ เช่น เครื่องคิดเลข สมุดโน้ต นาฬิกา โปรแกรมเหล่านี้สามารถเรียกมาใช้ได้ แม้ในขณะที่ทำโปรแกรมอื่นอยู่ ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์ ก็มีกลุ่มโปรแกรมที่ชื่อ Accessories ซึ่งมีโปรแกรมอรรถประโยชน์ในลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น มีเครื่องคิดเลข นาฬิกา สมุดโน้ต ปฎิทิน มีโปรแกรมที่จำเป็น เช่น ประมวลผลคำ (word processing) และ โปรแกรมวาดภาพ ฯลฯ |
diarise | vt. บันทึก (ลงในสมุดบันทึกประจำวัน) |
diarize | vt. บันทึก (ลงในสมุดบันทึกประจำวัน) |
dowel | (เดา'เอิล) { dowelled, dowelling, dowels } n. หมุดไม้, เดือยไม้, หมุดสับ. vt. ใส่หมุดไป |
gib | (กิ๊บ) n. กิ๊บ, หมุด, ลิ่ม, แขนปั่น vt. ติดด้วยกิ๊บ |
glans | (แกลนซ) n. หัวลึงค์, หัวเม็ดลุมุดช่องคลอด -pl. glandes |
gudgeon | (กัด'เจิน) n. ปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง, เหยื่อ, เครื่องล่อลวง, วงแหวนสำหรับร้อยสลัก, ห่วงร้อยสลัก สลัก, หมุด, ปลอกสวมหางเสือ -vt, ล่อลวง โกง, Syn. dupe, cheat |
laptop | ขนาดวางตัก <คำแปล>แล็ปทอป <คำแปล>ใช้บอกขนาดของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ที่มีขนาดเล็กจนวางบนตักได้ในขณะใช้ ปัจจุบัน นิยมเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนี้ว่า ขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) เพราะสามารถนำติดตัวไปไหนมาไหนได้เหมือนสมุดบันทึก มีน้ำหนักน้อย และทำได้บางลงมาก |
library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ |
library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด |
library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน |
magnetic ink | หมึกแม่เหล็กเป็นหมึกพิเศษชนิดหนึ่ง มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยหมึกชนิดนี้ได้ และจะแยกได้ว่ามีข้อความใดบ้าง โดยใช้คุณสมบัติของแม่เหล็ก หมึกแม่เหล็กชนิดนี้ มักใช้พิมพ์ในกิจการธนาคาร เช่น เลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค หรือแบบฟอร์มเบิกเงิน เป็นต้น |
magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
manual | (แมน'นวล) adj. เกี่ยวกับมือ, ด้วยมือ, ทำด้วยมือ, เกี่ยวกับหัตถกรรม, เกี่ยวกับคู่มือ. n. สมุดคู่มือ, See also: manually adv. |
micr | (เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
notebook | (โนทฺ'บุค) n. สมุดบันทึก |
notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโล กรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notepad computer |
notepad | สมุดพกเป็นโปรแกรมหนึ่งในประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ในระบบวินโดว์ (ในแมคอินทอชก็มี) เป็นโปรแกรมที่ทำให้สามารถบันทึกโน้ตย่อ หรือ เรื่องราวสั้น ๆ เก็บไว้ และจะเรียกมาดูได้ตลอดเวลา แม้ว่าในขณะนั้นจะใช้โปรแกรมอื่นอยู่ (เหมือนกระดาษทด) |
notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพกโน้ตแพดคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโลกรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notebook computer |
palmtop computer | คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพียงเท่าฝ่ามือ เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) หรือ ขนาดสมุดโน้ต (notebook) แต่ก็มีลักษณะของคอมพิวเตอร์ครบถ้วนกล่าวคือ มีทั้งหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ และหน่วยแสดงผล |
passbook | (พาส'บุค) n. สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร |
patent rolls | n. สมุดจดทะเบียนสิทธิบัตร |
pc | พีซีส่วนบุคคลย่อมาจากคำว่า personal computer (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป ดู microcomputer ประกอบ |
peg | (เพก) n. หมด, ตอหมุด, ตะปู, เดือย, สลัก, หลัก, ไม้ปักที่สั้น, จุกไม้, แกนซอ, ขอแขวนหมวก, ที่หนีบเสื้อผ้า, หัวข้อ, ข้ออ้าง, ขาไม้, ขา, กางเกง -Phr. (take down a peg ถ่อมตัว) . vt. ตรึงหรือตอกติดด้วยหมุด, ตะปู เดือยหรืออื่น ๆ , ขว้างลูกเบสบอล, จำแนกชนิด, เข้าใจ คำที่มีความหม |
personal computer | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใช้ตัวย่อว่า PC (อ่านว่า พีซี) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป แต่ในบางครั้งนำมาใช้หมายถึงเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม หรือประเภทเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เพื่อให้เห็นแตกต่างระบบแมคอินทอช |
phallus | (แฟล'ลัส) n. องคชาต, รูปองคชาต, เม็ดละมุด (clitoris) ของหญิง pl. phalli, phalluses, Syn. penis, clitoris |
piece | (พีส) n. ชิ้น, อัน, แผ่น, ท่อน, ก้อน, ผืน, ตอน, พับ, ม้วน, ผลงาน, รายการ, อย่าง, ปืนของทหาร, ปืนใหญ่, ระยะทาง, เหรียญกษาปณ์, ตัวหมากรุก, เม็ดละมุด (clitoris) ของหญิง vt. ซ่อม, ซ่อมแซม, ปะ, ต่อ, รวบรวม -Phr. (go to pieces ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้) -Phr. (of a piece ชนิดเดียวกัน ] |
pin | (พิน) n. เข็ม, เข็มหมุด, หมอ, สลัก, ปิ่น, เข็มกลัด, ลิ่ม, สลัก, เหรียญตรา, เข็มอิสริยาภรณ์, หัวเสียบ, ที่หนีบผ้า, ลูกบิด, ลูกบิดสายซอ, หลักเสาที่ปักอยู่ใกล้หลุมในสนามกอล์ฟ, ขา, การล้มลงของกีฬามวยปล้ำ, จำนวนเล็กน้อย, ถังเล็กที่จุ4แกลลอน vt. กลัดติด, กลัด, ปัก, ตรึง, ตอก, หนีบ, ล้อมคอก, กล่าวหา, ทำให้กระจ่างชัด |
pinpoint | (พิน'พอยทฺ) n. ปลาเข็ม, เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ , หัวเข็มหมุด vt. หาตำแหน่งแน่นอน, เจาะจง, เน้น adj. แน่นอน, แม่นยำ |
pinworm | (พิน'เวิร์ม) n. พยาธิเข็มหมุด |
album | (n) อัลบั้มรูป, สมุดใส่รูป |
annals | (n) สมุดบันทึกเหตุการณ์ประจำปี, หนังสือประจำปี |
atlas | (n) สมุดแผนที่ |
axle | (n) เพลา, แกน, อักษะ, เข็ม, หมุด |
bibliotheca | (n) ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ |
blotter | (n) กระดาษซับหมึก, สมุดบันทึกเหตุการณ์ |
book | (n) หนังสือ, ตำรา, สมุด, คัมภีร์ |
bookmobile | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ |
catalog | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า |
catalogue | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า |
copybook | (n) สมุดลอกแบบ, สมุดคัดลายมือ |
diary | (n) อนุทิน, สมุดบันทึกประจำวัน, สมุดไดอารี |
duck | (vi, vt) จุ่มหัวลงในน้ำ, ดำน้ำ, มุดน้ำ, กดน้ำ, ก้ม, หลบหนี |
journal | (n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร |
library | (n) หอสมุด, ห้องสมุด |
notebook | (n) สมุดบันทึกข้อความ |
peg | (n) ขอ, เดือย, หมุด, หลัก, จุกไม้, แขน |
pin | (n) เข็มหมุด, เข็มกลัด, ปิ่น, เข็ม, สลัก, เหรียญตรา, ลูกบิด |
rivet | (n) หมุดโลหะ, ตะปู, หมุดย้ำ, หมุดเหล็ก |
rivet | (vt) เย็บด้วยหมุด, ตรึงแน่น, ยึด |
scrapbook | (n) สมุดปิดภาพ |
scroll | (n) บัญชีหางว่าว, ม้วนกระดาษ, สมุดรายชื่อ, รายการ |
sketchbook | (n) สมุดโครงเรื่อง, สมุดร่าง |
stake | (n) เงินเดิมพัน, สลัก, ไม้เรียว, หมุด, การเผาทั้งเป็น, การแข่งม้า, เสาเข็ม |
tablet | (n) แผ่นจารึก, ยาเม็ด, ป้าย, สมุดฉีก, สมุดแฟ้ม, สมุดบันทึก |
tack | (n) ตะปู, หมุด, การปฏิบัติ, การพูด, นโยบาย |
terrier | (n) สุนัขล่าเนื้อชนิดหนึ่ง, สมุดทะเบียนที่ดิน |
tome | (n) หนังสือเล่มโต, สมุด |
tongue | (n) ลิ้น, สำนวน, คารม, ภาษา, ลิ้นของรองเท้า, ลูกตุ้มระฆัง, หมุด |