มีชีวิตชีวา | ว. มีความสดชื่นคึกคัก. |
กัลป-, กัลป์ | (กันละปะ-, กัน) น. กัป, อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์มาล้างโลก ซึ่งได้แก่ช่วงเวลากลางวัน วันหนึ่งของพระพรหม คือ ๑, ๐๐๐ มหายุค (เท่ากับ ๔, ๓๒๐, ๐๐๐, ๐๐๐ ปีมนุษย์) เมื่อสิ้นกัลป์ พระอิศวรจะล้างโลกด้วยไฟประลัยกัลป์ โลกจะไร้สิ่งมีชีวิตและอยู่ในความมืดมนจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ แล้วพระพรหมก็จะสร้างโลกเป็นการขึ้นต้นกัลป์ใหม่ โลกจะถูกสร้างและถูกทำลายเช่นนี้สลับกันตลอดอายุของพระพรหม ทั้งนี้ตามคติของพราหมณ์, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ กัป เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. |
ก๊าซชีวภาพ, แก๊สชีวภาพ | น. แก๊สที่เกิดจากการเสื่อมสลายผุพังของสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งที่สืบเนื่องจากสิ่งมีชีวิต ติดไฟได้ ใช้เป็นเชื้อเพลิงเป็นต้น. |
กายภาพ | ว. เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต, เกี่ยวกับสสารและพลังงาน, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพ ศึกษาเกี่ยวกับสสารและพลังงาน |
คนในอยากออก คนนอกอยากเข้า | คนที่แต่งงานแล้วอยากจะกลับไปเป็นโสด แต่คนที่ยังไม่ได้แต่งงานก็อยากมีชีวิตคู่ |
คาร์บอน | น. ธาตุลำดับที่ ๖ สัญลักษณ์ C เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป เช่น เพชร แกรไฟต์ คาร์บอนเป็นธาตุองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดธาตุหนึ่งของสิ่งที่มีชีวิต. |
คึกคัก | ว. แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า, มีชีวิตชีวา, เช่น ดูท่าทางคึกคัก |
จุลชีพ, จุลชีวัน, จุลชีวิน, จุลินทรีย์ | น. สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ส่วนมากมีเซลล์เดียว. |
ชันตุ | น. สิ่งมีชีวิต ได้แก่ คน สัตว์ ต้นไม้. |
ชาติ ๑, ชาติ- ๑ | (ชาด, ชาติ-, ชาดติ-) น. การเกิด, กำเนิด, มักใช้ว่า ชาติเกิด หรือ ชาติกำเนิด เช่น ถ้าทำไม่ดีก็เสียชาติเกิด, ความมีชีวิตอยู่ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น สบายทั้งชาติ |
ชาวบ้าน | น. ผู้ที่อยู่ในพื้นถิ่นหนึ่ง ๆ เช่น ชาวบ้านแถบอัมพวา, ประชาชนทั่วไป เช่น ชาวบ้านอย่างเราจะไปรู้เรื่องอะไร, ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ และมีวิถีชีวิตแบบบรรพกาล, ผู้ที่มีชีวิตแบบเรียบง่าย ธรรมดา มักจะด้อยการศึกษา. |
ชีวเคมี | น. วิชาเคมีสาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งที่มีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์ประกอบเหล่านั้น ตลอดจนกระบวนการต่าง ๆ ที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ. |
ชีวภาพ | น. ความเป็นสิ่งมีชีวิต. |
ชีวภาพ | ว. เกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่สืบเนื่องมาจากสิ่งมีชีวิต เช่น วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ. |
ชีวโลก | น. โลกของมนุษย์หรือสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่, ตรงข้ามกับ เปตโลก คือโลกของมนุษย์หรือสัตว์ที่ตายแล้ว |
ชีววิทยา | น. วิชาว่าด้วยสิ่งที่มีชีวิต. |
ชีวัน | น. ชีวิต, สิ่งที่มีชีวิต. |
ชีวิน | น. ผู้เป็นอยู่, ผู้มีชีวิต. |
ชุบ | ทำให้มีชีวิต เช่น จึ่งหน่อนเรศร์ เรืองเวทชุบชาญ อื้นอาคมขาน ชูชีพย์ชายา (สรรพสิทธิ์) |
ชุบชีวิต | ก. ทำให้เป็นขึ้น เช่น ชุบชีวิตคนตายให้เป็น, ทำให้มีชีวิตขึ้น เช่น ชุบชีวิตรูปหุ่น |
ชู้เหนือผัว | น. ชายที่ลอบได้เสียกับหญิงซึ่งสามียังมีชีวิตอยู่ เช่น หญิงใดทำชู้เหนือผัว ผัวจับชู้ได้มิทันพิจารณาบันดาลโกรธตีด่าฆ่าฟันแทงชายชู้นั้นตาย (สามดวง ลักษณ-ผัวเมีย). |
เชื้อโรค | น. สิ่งที่มีชีวิต เมื่อเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์แล้ว ทำให้เกิดโรคได้. |
ซื่อ, ซื่อ ๆ | นิ่งเฉยอยู่ไม่กระดุกกระดิกเหมือนสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แข็งซื่อ, ทื่อ ก็ว่า. |
ฐิติ | การเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่ |
ตราบ | (ตฺราบ) สัน. จนถึง, เมื่อ, เช่น ยังมีลมหายใจอยู่ตราบใด ก็ถือว่ายังมีชีวิตอยู่ตราบนั้น. |
ตะพัด ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Scleropages formosus (Müller & Schlegel) ในวงศ์ Osteoglossidae เป็นปลาโบราณที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ลำตัวยาว แบนข้างตลอด แนวด้านข้างของสันหลังตรงโดยตลอด แนวสันท้องโค้ง ปากเชิดขึ้น ครีบหลังและครีบก้นอยู่ใกล้ครีบหางมาก ขอบหางกลม เกล็ดใหญ่ เส้นข้างตัวอยู่ใกล้แนวสันท้อง พื้นลำตัวเป็นสีเงินอมเทาหรือสีฟ้า พบเฉพาะบริเวณแหล่งนํ้าเขตภูเขาในจังหวัดตราดและจันทบุรี รวมทั้งบางจังหวัดในเขตภาคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี ขนาดยาวได้ถึง ๙๐ เซนติเมตร, มังกร ก็เรียก. |
ตาย ๑ | ก. สิ้นใจ, สิ้นชีวิต, ไม่เป็นอยู่ต่อไป, สิ้นสภาพของการมีชีวิต, เช่น สภาวะสมองตาย |
ทายาทโดยธรรม | น. ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายในมรดกของผู้ตาย ได้แก่ คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ ผู้สืบสันดาน บิดามารดา พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา ตามลำดับและส่วนแบ่งที่กฎหมายกำหนดไว้. |
ทำให้แท้งลูก | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำทำให้ลูกในท้องของหญิงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ และให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง. |
ทื่อ | นิ่งเฉยอยู่ไม่กระดุกกระดิกเหมือนสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แข็งทื่อ, ซื่อ ก็ว่า. |
แท้ง | ก. สิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนกำหนดคลอด โดยที่ลูกในท้องไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้. |
ธาตุ ๑, ธาตุ- | (ทาด, ทาตุ-) น. สิ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่คุมกันเป็นร่างของสิ่งทั้งหลาย โดยทั่ว ๆ ไปเชื่อว่ามี ๔ ธาตุ ได้แก่ ธาตุดิน (ปฐวีธาตุ) ธาตุนํ้า (อาโปธาตุ) ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) ธาตุลม (วาโยธาตุ) แต่ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าสิ่งที่มีชีวิตเพิ่มอีก ๒ ธาตุ คือ อากาศธาตุ (ที่ว่าง) และวิญญาณธาตุ (ธาตุรู้). |
น้ำเลี้ยง | น. ของเหลวที่หล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น นํ้าเลี้ยงลูกตา นํ้าเลี้ยงลำต้น. |
นิวคลิอิก | น. ชื่อกรดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่มากและมีโครงสร้างซับซ้อน มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบ-นิวคลิอิก (deoxyribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า DNA และกรดไรโบนิวคลิอิก (ribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า RNA มีปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทำหน้าที่เก็บรวบรวมและถ่ายทอดพันธุกรรม. |
นิเวศวิทยา | (นิเวดสะวิดทะยา, นิเวดวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม |
ไนโตรเจน | น. ธาตุลำดับที่ ๗ สัญลักษณ์ N เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี มีปรากฏอยู่ประมาณร้อยละ ๘๐ ในบรรยากาศ ธาตุนี้มีความสำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต โดยเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนและกรดนิวคลิอิก. |
บุคคลวัต | (บุกคนละ-) น. กลวิธีการประพันธ์ที่สมมุติสิ่งไม่มีชีวิต ความคิด นามธรรม หรือสัตว์ให้มีสติปัญญา อารมณ์ หรือกิริยาอาการเยี่ยงมนุษย์. |
แบคทีเรีย | น. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ไม่มีผนังห่อหุ้มนิวเคลียส มีรูปร่างกลม เป็นท่อน โค้ง หรือเป็นเกลียว. |
ปราณ | สัตว์มีชีวิต, ชีวิต, ใจ. |
ปราณี | (ปฺรา-) น. ผู้มีชีวิต, สัตว์, คน. |
ปาณ-, ปาณะ | สัตว์มีชีวิต, ชีวิต. |
ปาณก- | (ปานะกะ-) น. หนอน, สัตว์มีชีวิต. |
เปตโลก | น. โลกของมนุษย์หรือสัตว์ที่ตายแล้ว, ตรงข้ามกับ ชีวโลก คือ โลกของมนุษย์หรือสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ |
เป็น ๒ | ว. ยังมีชีวิตอยู่, ยังไม่ตาย, เช่น ปลาเป็น |
เป็นตัว | ก. มีชีวิตอยู่ เช่น จะจากเจ้าเหมือนดังว่าวขาดลมลอย อย่าหมายคอยเลยว่าเมียจะเป็นตัว (ขุนช้างขุนแผน). |
โปรตีน | (โปฺร-) น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็นสารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจำเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. |
พยนต์ | (พะยน) น. สิ่งที่ผู้ทรงวิทยาคมปลุกเสกให้มีชีวิตขึ้น เช่น หุ่นพยนต์. |
พืช | น. สิ่งมีชีวิตที่โดยทั่วไปสร้างอาหารเองโดยการสังเคราะห์แสง, เมล็ดพันธุ์ไม้, สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป, พืชพันธุ์ ก็ใช้. (ป. พีช; ส. วีช) |
เภสัชวิทยา | (เพสัดชะวิดทะยา, เพสัดวิดทะยา) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยฤทธิ์ของยาหรือของสารที่มีต่อสิ่งมีชีวิต. |
โภชนาการ | (โพชะนา-, โพดชะนา-) น. วิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต. |
proteopexy | การตรึงโปรตีนไว้ในสิ่งมีชีวิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
saprophage | สิ่งมีชีวิตอาศัยซาก [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
surviving spouse | คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
survivor | ผู้รอดชีวิต, ผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
survivorship annuity | เงินรายปีสำหรับผู้มีชีวิต [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
survivorship annuity | เงินรายปีสำหรับผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
substrate | ๑. ที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตขึ้น [ มีความหมายเหมือนกับsubstratum ]๒. สารตั้งต้น [ ในปฏิกิริยาเอนไซม์ ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
substratum | ที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตขึ้น [ มีความหมายเหมือนกับ substrate ๑ ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
saprogen | สิ่งมีชีวิตอาศัยสารอินทรีย์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
organic analogy | การเปรียบเทียบรัฐกับสิ่งมีชีวิต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
acidophil; acidophile | ๑. สิ่งติดสีกรด๒. เซลล์ต่อมใต้สมองติดสีกรด๓. สิ่งมีชีวิตเจริญดีในภาวะกรด๔. -ติดสีกรด, -ชอบกรด [ มีความหมายเหมือนกับ acidophilic ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
acidophile; acidophil | ๑. สิ่งติดสีกรด๒. เซลล์ต่อมใต้สมองติดสีกรด๓. สิ่งมีชีวิตเจริญดีในภาวะกรด๔. -ติดสีกรด, -ชอบกรด [ มีความหมายเหมือนกับ acidophilic ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
act inter vivos | นิติกรรมทำยกให้แต่ยังมีชีวิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antibiosis | ภาวะยับยั้ง [ ระหว่างสิ่งมีชีวิต ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
jus accrescendi (L.) | สิทธิของเจ้าของที่ดินร่วม (ที่ยังมีชีวิตอยู่) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quick | ๑. เร็ว๒. -มีชีวิต๓. อาการเด็กดิ้นในท้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
biogenesis | กำเนิดชีวิตจากสิ่งมีชีวิต [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
biogenesis | กำเนิดชีวิตจากสิ่งมีชีวิต [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
biophagous | -กินสิ่งมีชีวิต [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
donatio inter vivos (L.) | การให้ที่มีผลระหว่างมีชีวิต [ ดู gift inter vivos ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
durante vita (L.) | ระหว่างมีชีวิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
gift inter vivos | การให้ที่มีผลระหว่างมีชีวิต [ ดู donatio inter vivos ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inclusion | ส่วนไม่มีชีวิตของไซโทพลาซึม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
intravital | ขณะมีชีวิต [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
inter vivos (L.) | ระหว่างมีชีวิต, แต่ยังมีชีวิตอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
viability | ความมีชีวิต [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
vital tooth | ฟันมีชีวิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vitalise; vitalize | ๑. ให้ชีวิต๒. ทำให้มีชีวิตชีวา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vitality | ๑. สภาพมีชีวิต๒. ความมีชีวิตชีวา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vitalize; vitalise | ๑. ให้ชีวิต๒. ทำให้มีชีวิตชีวา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tooth, vital | ฟันมีชีวิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
total number of years lived | จำนวนปีที่มีชีวิตอยู่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
heterotroph | สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nemo est heres viventis (L.) | ไม่มีผู้ใดเป็นผู้รับมรดกของผู้ยังมีชีวิตอยู่ได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
number of children surviving | จำนวนบุตรที่ยังมีชีวิต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
natural life | ความมีชีวิตตามธรรมชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Genetically Modified Organisms | สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม, Example: <p>สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms - GMOs) คือ สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการตัดต่อยีนที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติที่ดีตามต้องการ เช่น การดัดแปลงพันธุกรรมของพืชให้มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืชหรือสามารถเจริญอยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การดัดแปลงพันธุกรรมของจุลินทรีย์ให้สามารถผลิตเอ็นไซม์ที่เป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม ถึงแม้เทคโนโลยีนี้จะมีประโยชน์หลายอย่าง แต่ก็เกิดคำถามถึงความปลอดภัยของการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และสุขอนามัยของประชาชน ดังนั้นจึงมีกฎหมายและคณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพมากำกับดูแลตั้งแต่การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ตลอดจนถึงการบริโภคสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมและการเพาะปลูกสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม <p> <p>กฎหมายทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 <p>- พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 <p>- พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2544 <p>- พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 <p>- ร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ <p>- แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Guidelines) <p> <p>คณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง <p>- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง <p>- กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา <p>- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ <p>- กระทรวงอุตสาหกรรม ได้แก่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม <p>- กระทรวงพาณิชย์ ได้แก่ กรมการค้าต่างประเทศ <p>- คณะกรรมการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของแต่ละสถาบัน (Institutional Biosafety Committee - IBC) <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. (2551). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) และความปลอดภัยทางชีวภาพ. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. <br> <br>Technical Biosafety Committee. (2010). Updated Status and Perspective of Thailand on Research and Development of Modern Biotechnology and Biosafety Regulation. 3 rd ed. Pathumthani : National Center for Genetic Engineering and Biotechnology. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Autoradiograph | ภาพรังสีในตัว, ภาพบันทึกการกระจายของรังสีจากสารกัมมันตรังสีในวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต โดยวางวัตถุนั้นไว้ใกล้แผ่นฟิล์มถ่ายภาพหรือเยื่อไวแสง (emulsion) รังสีที่แผ่ออกมาจะทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มหรือเยื่อไวแสง (ดู radiography ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Chimera | ไคมีรา, สิ่งมีชีวิตที่มีเนื้อเยื่อบางส่วนประกอบด้วยเซลล์ที่มีความแตกต่างทางพันธุกรรมมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น ต้นไม้ที่มีใบด่าง [นิวเคลียร์] |
Decimal reduction dose | ดีเท็น, ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์มีชีวิตรอดเหลืออยู่ร้อยละ 10 หรือ ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์ตายร้อยละ 90 [นิวเคลียร์] |
Spontaneous mutations | การกลายพันธุ์เกิดเอง, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิต ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แสงแดด อุณหภูมิ หรือเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการสร้างและซ่อมแซมดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตนั้น [นิวเคลียร์] |
Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Radioecology | นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ [นิวเคลียร์] |
Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Radiation dose | ปริมาณรังสี, ปริมาณรังสีที่วัตถุหรือสิ่งมีชีวิตได้รับ <br>(ดู absorbed dose, committed dose, effective dose, equivalent dose และ exposure dose ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Dose | ปริมาณรังสี, ปริมาณรังสีที่วัตถุหรือสิ่งมีชีวิตได้รับ <br>(ดู absorbed dose, committed dose, effective dose, equivalent dose และ exposure dose ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] |
Oxygen enhancement ratio | อัตราส่วนการเสริมผลของออกซิเจน, โออีอาร์, อัตราส่วนเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่มีผลต่อเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตเมื่อไม่มีและมีออกซิเจน ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน <br> OER = ปริมาณรังสีเมื่อไม่มีออกซิเจน / ปริมาณรังสีเมื่อมีออกซิเจน </br> <br>(ดู radiosensitizer ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Mutation | การกลายพันธุ์, การกลาย, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ(DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้, Example: [นิวเคลียร์] |
Mutant | พันธุ์กลาย, ผลจากการกลาย, สิ่งมีชีวิตที่สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เกิดการกลายพันธุ์ขึ้นหนึ่งลักษณะหรือมากกว่า สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นถัดไป และสังเกตเห็นผลที่เกิดจากการกลายพันธุ์ได้ [นิวเคลียร์] |
Mutagenesis | กระบวนการกลายพันธุ์, กระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอ ของเซลล์สิ่งมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เซลล์นั้นหรือเซลล์ที่เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ดังกล่าวมีรูปร่างลักษณะหรือพฤติกรรมต่างไปจากเดิม กระบวนการนี้อาจเกิดขึ้นเอง หรือเกิดจากการเหนี่ยวนำโดยสิ่งก่อกลายพันธุ์ ถ้าเกิดที่เซลล์สืบพันธุ์ จะมีการส่งผ่านหรือถ่ายทอดลักษณะผิดปกติไปยังรุ่นถัดไป แต่ถ้าเกิดที่เซลล์ร่างกาย การกลายจะจำกัดเฉพาะที่เนื้อเยื่อส่วนนั้น [นิวเคลียร์] |
Lethal mutation | การกลายถึงตาย, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอของเซลล์สิ่งมีชีวิตส่วนที่ควบคุมกระบวนการทำงานที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนา แล้วมีผลกระทบทำให้สิ่งมีชีวิตนั้นไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ หรือเกิดการตายในรุ่นถัดไป [นิวเคลียร์] |
Ionizing radiation | รังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Induced mutation | การกลายพันธุ์จากการเหนี่ยวนำ, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ ของเซลล์สิ่งมีชีวิต โดยการใช้รังสีแกมมา หรือสารเคมีบางชนิด เหนี่ยวนำให้เกิดการกลาย [นิวเคลียร์] |
protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biodiversity | ความหลากหลายทางชีวภาพ, ความหลากหลายทางชีวภาพ จัดเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (species diversity) และความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity) [Assistive Technology] |
Exotic marine organisms | สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นทางทะเล [TU Subject Heading] |
Introduced organisms | สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น [TU Subject Heading] |
Life on other planets | สิ่งมีชีวิตบนดาวเคราะห์อื่น [TU Subject Heading] |
Clone (โคลน) | การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Protozoa | สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว [TU Subject Heading] |
Protozoology | วิทยาสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว [TU Subject Heading] |
Right to life | สิทธิในการมีชีวิต [TU Subject Heading] |
Species diversity | ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต [TU Subject Heading] |
Survival rate | อัตราการมีชีวิตรอด [TU Subject Heading] |
Transgenic organisms | สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Transgenic organisms industry | อุตสาหกรรมสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Veterinary protozoology | วิทยาสิ่งมีชีวิตเซลส์เดียวทางสัตวแพทยศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Vitality | ความมีชีวิต [TU Subject Heading] |
Bilomagnification | การเพิ่มขึ้นในสิ่งมีชีวิต, Example: ความเข้มข้นของสารเคมีในระบบนิเวศน์หรือลูกโซ่ อาหารที่จะสูงขึ้น ในสิ่งมีชีวิตที่มีระดับสูงกว่า (high tropic level) [สิ่งแวดล้อม] |
Bioassay | การวิเคราะห์โดยใช้สิ่งมีชีวิต, Example: การใช้สิ่งมีชีวิตเพื่อวัดผลหรือสภาวะ [สิ่งแวดล้อม] |
Bioaccumulation | การสะสมในสิ่งมีชีวิต, Example: ขบวนการที่ปริมาณสารในสิ่งมีชีวิต หรือส่วนของสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นตามระยะเวลา การสะสมของสารเคมีในสิ่งมีชีวิตจะมีผลต่อระบบนิเวศน์ โดยเฉพาะสารเคมี ประเภท hydrophobic chemical ซึ่งสามารถละลายแบ่งส่วน (partitioned) ในไขมัน และเนื้อเยื่อ ไขมัน (lipid tissue) และประเภทสารอนนินทรีย์บางชนิดซึ่งสามารถละลายแบ่งส่วนในไขกระดูก การบ่งบอกถึงการสะสมของสารเคมีในสิ่งมีชีวิตนิยมใช้ว่า bioaccumulation หรือที่เรียกว่า ratio bioconcentration (BCF) วึ่งหมายถึงสัดส่วนความเข้มข้นของสารเคมีในสิ่งมีชีวิต หรือเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตต่อความเข้มข้นในสิ่งแวดล้อมที่เป็นตัวกลาง (ซึ่งปกติเป็นน้ำ) ค่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อการประเมินผลกระทบของสารเคมีในสิ่งมีชีวิตที่เป็น ตัวน้ำ ถ้าค่าสูงหมายถึงมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมาก [สิ่งแวดล้อม] |
Soil Population | สิ่งที่มีชีวิตในดิน [สิ่งแวดล้อม] |
Life in Marine Ecosystem | สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศทางทะเล, Example: เนื่องจากระบบนิเวศทางทะเลมี พื้นที่กว้างขวางมาก ดังนั้นจึงพบสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ Pleustic organism, Pelagic organism และ Benthic organism ดู Pleustic organism หรือ Pelagic organism หรือ Benthic organism เพิ่มเติม [สิ่งแวดล้อม] |
Life in Freshwater Ecosystem | สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน้ำจืด, Example: สามารถจำแนกตามแหล่งที่อยู่อาศัยได้ 5 กลุ่ม คือ Benthos, Periphyton, Plankton, Nekton และ Neuston ดู Benthos หรือ Periphyton หรือ Plankton หรือ Nekton หรือ Neuston เพิ่มเติม [สิ่งแวดล้อม] |
Biopesticides | สิ่งมีชีวิตกำจัดศัตรูพืช, Example: สิ่งมีชีวิตหรือสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตซึ่งมี ฤทธิ์ในการกำจัดศัตรูพืช โดยจะทำให้เกิดผลกระทบเฉพาะด้านต่อขบวนการทางชีววิทยาของศัตรูพืชดังกล่าว มากกว่าการทำให้เกิดความเป็นพิษเช่นเดียวกับสารเคมี ตัวอย่างเช่น การนำโปรตีนของแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis (BTK) ไปรบกวนกระบวนการดูดซึมอาหารของแมลงบางชนิด เป็นต้น ซึ่งข้อดีของ biopesticides เมื่อเปรียบเทียบกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชก็คือ สามารถย่อยสลยได้ง่ายกว่าและมีความเฉพาะเจาะจงกับศัตรูพืชที่ต้องการทำลาย มากกว่า [สิ่งแวดล้อม] |
Periphyton or Aufwuchs | สิ่งมีชีวิตที่เกาะและแขวนตัวกับวัตถุในน้ำจืด, Example: ได้แก่ สิ่งมีชีวิตที่เกาะหรือแขวนตัวอยู่กับพืชน้ำ หรือวัตถุอื่นๆ ใต้น้ำ เช่น โปรโตซัวที่เกาะตามใบและรากของแหน จอก และพืชน้ำอื่นๆ หรือ สัตว์พวกหอยฝาเดียว และตัวอ่อนของแมลง [สิ่งแวดล้อม] |
Neuston | สิ่งมีชีวิตที่ลอยตัวที่ผิวน้ำ, Example: สิ่งมีชีวิตที่พัก หรือลอยตัวบนผิวหน้าน้ำในระบบนิเวศน้ำจืด เช่น แมลงจิงโจ้น้ำ [สิ่งแวดล้อม] |
Nekton | สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้ำเป็นอิสระ, Example: สัตว์น้ำที่สามารถว่ายน้ำด้วยกำลังของตนเองตาม หรือทวนกระแสน้ำได้ ส่วนใหญ่เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในทะเล ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พวกโลมา ปลาวาฬ สัตว์เลื้อยคลาน พวกงู และเต่าทะเล และสัตว์ในทะเล ส่วนใหญ่ คือ ปลา นอกจากนี้ หมึกซึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทีสามารถว่ายน้ำก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ ด้วย [สิ่งแวดล้อม] |
Pelagic Organism | สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในมวลน้ำในระบบนิเวศทะเล, Example: ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตจำนวนมาก ที่สำคัญได้แก่ กลุ่มของแพลงก์ตอน (Plankton) ตลอดจนพวกที่ว่ายน้ำเป็นอิสระ (Nekton) [สิ่งแวดล้อม] |
Benthic Organism | สิ่งมีชีวิตที่อาศัยตามพื้นท้องทะเล, Example: ประกอบด้วยแบคทีเรีย พืช และสัตว์เกือบทุกไฟลัม ในเขตที่มีน้ำขึ้นลง หรือเขตที่มีแสงส่องถึง พื้นท้องน้ำจะมีพืชขนาดใหญ่และเล็กเจริญอยู่มาก และโดยเฉพาะพื้นที่เป็นหินแข็งมักมีสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่เกาะติดเป็น จำนวนมาก สาหร่ายเหล่านี้เป็นผู้ผลิตที่สำคัญของชายฝั่ง ส่วนในพื้นที่ทะเลที่ระดับลึกมักไม่มีแสงจึงไม่มีสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะห์ แสงได้ แต่จะมีแบคทีเรียที่สังเคราะห์อาหารโดยกระบวนการทางเคมีซึ่งจะเป็นผู้ผลิต ที่สำคัญในทะเลลึกมาก ๆ ส่วนผู้บริโภคในเขตพื้นท้องทะเลประกอบด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นส่วนมาก [สิ่งแวดล้อม] |
Pleustic Organism | สิ่งมีชีวิตที่อาศัยที่ผิวหน้าน้ำทะเล, Example: สิ่งมีชีวิตพวกนี้มักมีโครงสร้างที่ใช้ลอยตัว ได้อย่างดี โดยอาจมีถุงลม มีองค์ประกอบของอิออนในของเหลวในตัวที่เป็นธาตุมีน้ำหนักเบา หรือ มีการปรับตัวอื่นๆ เช่น กระพรุนไฟ จะมีทุ่นลอยซึ่งภายในมีอากาศช่วย ให้ลอยตัวได้ และหอยทากทะเลมีฟองอากาศในกระเพาะช่วยให้ตัวเบา นอกจากนี้ยังมีจิงโจ้น้ำเค็มซึ่งจะพักตัวบนผิวน้ำทะเลช่วยทำให้ไม่จม สัตว์ที่อาศัยที่ผิวหน้าน้ำเหล่านี้มักเป็นพวกที่กินสัตว์เป็นอาหาร [สิ่งแวดล้อม] |
Benthos | สิ่งมีชีวิตหน้าดิน, Example: สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่เกาะหรือพักตัว บนพื้นท้องน้ำหรือฝังตัวอยู่ ในตะกอนของพื้นท้องน้ำ สภาพพื้นท้องน้ำเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการ ดำรงชีพของสิ่งมีชีวิตจำพวกเบนโทส เพราะเป็นส่วนค้ำจุนร่างกายของ สิ่งมีชีวิตเหล่านั้น บางบริเวณที่มีพื้นแข็ง เบนโทสจะมีอวัยวะสำหรับยึดเกาะเพื่อป้องกันการถูกพัดพาไปตามกระแสน้ำ โครงสร้างของพื้นท้องน้ำก็มีความสำคัญเช่นกันเนื่องจากเป็นตัวกำหนดแบบแผน การแพร่กระจาย และกรรมวิธ๊การกินอาหารที่แตกต่างกัน ซึ่งได้แก่ การกินโดยการกรองแพลงก์ตอนและสารอินทรีย์ที่แขวนลอยในน้ำ การกินมวลของตะกอน การล่า หรือการกินซากสิ่งมีชีวิตอื่น ซึ่งอาจจำแนกเบนโทสออกตามลักษณะการดำรงชีวิตได้ 3 กลุ่ม คือ Demersal, Sessile และ Burrowing [สิ่งแวดล้อม] |
abiogenesis | (n) สมมติฐานที่ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้จากสิ่งไม่มีชีวิต |
activate | (vt) กระตุ้น, See also: ทำให้มีชีวิตชีวา, Syn. arouse, stimulate, initiate |
activate | (vi) มีชีวิตชีวา |
activity | (n) การกระตือรือร้น, See also: การกระทำอย่างมีชีวิตชีวา, Syn. liveliness |
aerial | (adj) ซึ่งอยู่ในอากาศ, See also: ซึ่งเกิดขึ้นในอากาศ, ซึ่งมีชีวิตในอากาศ |
aerobe | (n) สิ่งมีชีวิต, See also: สิ่งที่มีชีวิตอยู่ได้โดยต้องอาศัยออกซิเจน |
alive | (adj) มีชีวิตชีวา, Syn. alert, living |
alive | (adj) มีชีวิตอยู่, See also: ยังอยู่, อยู่, ยังคงอยู่, Syn. living, live, animate, breathing, Ant. dead, lifeless, inanimate |
anatomize | (vt) ชำแหละร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาโครงสร้าง |
anatomize | (vi) ชำแหละร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาโครงสร้าง |
ancestor | (n) รูปแบบเดิมของสิ่งมีชีวิต |
animal rights | (n) สิทธิของสัตว์ที่จะมีชีวิตอยู่อย่างอิสระปราศจากการหารประโยชน์ของมนุษย์หรือถูกมนุษย์ทารุณหรือกักขัง |
animate | (adj) ซึ่งมีชีวิต, Syn. alive, breathing, animated |
animate | (adj) ซึ่งมีชีวิตชีวา, See also: ร่าเริง, Syn. lively, vigorous |
animate | (vt) ทำให้ดุจมีชีวิต |
animate | (vt) ทำให้มีชีวิต, Syn. liven up |
animate | (vt) ทำให้มีชีวิตชีวา, Syn. vivify |
animate | (adj) ที่มีชีวิตชีวา, Syn. lively, living |
animated | (adj) ที่เหมือนมีชีวิต, Syn. alive |
animation | (n) ความมีชีวิต, Syn. animating, liveliness |
animation | (n) ความมีชีวิตชีวา, Syn. vivacity, liveliness |
animato | (adv) มีชีวิตชีวา (ดนตรี) |
animato | (adj) มีชีวิตชีวา (ดนตรี) |
animator | (n) บุคคลหรือสิ่งที่มีชีวิตชีวา |
anthropomorphism | (n) การถือเอารูปร่างและลักษณะของคนหรือสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่มีชีวิตให้เป็นพระเจ้า |
aquatic | (adj) ที่ใช้ชีวิตอยู่ในน้ำ, See also: ที่มีชีวิตอยู่ในน้ำ |
around | (adj) ที่มีชีวิตอยู่, See also: หลายแห่ง |
at ease | (idm) กระปรี้กระเปร่า, See also: มีชีวิตชีวา, สบายใจ |
being | (n) การมีชีวิตอยู่, See also: ภาวะมีชีวิตอยู่ |
biomass | (n) จำนวนสิ่งมีชีวิตต่อหน่วยพื้นที่ |
biosphere | (n) ส่วนของพื้นผิวและบรรยากาศของโลกที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่, Syn. ecosphere |
bouncy | (adj) กระฉับกระเฉง, See also: มีชีวิตชีวา |
brio | (n) ความมีชีวิตชีวา |
be lapped in luxury | (idm) มีชีวิตอย่างสุขสบาย, See also: ดำรงชีวิตอย่างสุขสบาย |
be washed up | (phrv) โดนทำลาย, See also: มีชีวิตแต่งงานที่ไม่มีความสุข |
breathe new life into | (idm) ทำให้มีชีวิตชีวา |
bring someone to life | (idm) ทำให้น่าสนใจ, See also: ทำให้มีชีวิตชีวา, Syn. come to |
bring something to light | (idm) ทำให้น่าสนใจ, See also: ทำให้มีชีวิตชีวา, Syn. come to |
burn out | (phrv) ไม่มีชีวิตชีวา, See also: มอด ความสามารถ, ไม่กระฉับกระเฉง |
cell | (n) เซลล์, See also: หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต, Syn. cellule, corpuscle |
clone | (n) สิ่งมีชีวิตที่เกิดมาจากเซลล์เดียวกัน |
color | (n) ความมีสีสัน, See also: สีสัน, ความมีชีวิตชีวา, ความสดใส, Syn. luminosity, iridescence, glow, vividness, brilliance, piquancy, zest, freshness, liveliness, vitality, colorfulness, colourfulness, brightness, richness, Ant. pallor, drabness, dullness, dimness |
colorful | (adj) ที่มีชีวิตชีวา, See also: มีรสชาติ, สนุกสนาน, Syn. colourful, vivid, lively, cheerful, eventful, bright |
colour | (n) ความมีสีสัน, See also: สีสัน, ความมีชีวิตชีวา, ความสดใส, Syn. luminosity, iridescence, glow, vividness, brilliance, piquancy, zest, freshness, liveliness, vitality, colorfulness, colourfulness, brightness, richness, Ant. pallor, drabness, dullness, dimness |
colourful | (adj) มีชีวิตชีวา, See also: มีรสชาติ, สนุกสนาน, Syn. colorful, vivid, lively, cheerful, eventful, bright |
contemporary | (adj) ซึ่งกำลังมีชีวิตอยู่ |
creature | (n) สิ่งมีชีวิต (คน, สัตว์), Syn. animal, animate being |
carry through | (phrv) ทำให้อยู่รอด, See also: ช่วยให้รอดพ้น, ช่วยให้มีชีวิตอยู่, Syn. bring through, come through, pull through |
deny oneself | (phrv) มีชีวิตอย่างสมถะ |
die with one's boots on | (idm) ตายอย่างมีชีวิตชีวา |
abiogenesis | (เอ' บิโอเจน' นิซิส) n. การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิต, การเกิดขึ้นเอง. -abiogenetic adj. (spontaneous generation) |
abiosis | (เอ' ไบโอ' ซิส) n. การไร้ชีวิต, ภาวะที่ไม่มีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิต. -abiotic adj. |
active immunity | การเกิดภูมิคุ้มกันเนื่องจากการสร้างแอนตี้บอดี้ภายในสิ่งมีชีวิตเอง |
activity | (แอคทีฟ' วิที) n. กิจกรรม, การเคลื่อนไหว, ลักษณะการดำเนินการ, ลักษณะการเคลื่อนไหว, ระดับความมีชีวิตชีวา, เรื่องราวที่ดำเนินการ, กิจกรรม, Syn. action, pursuit |
aerobe | (แอ' โรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ต้องอาศัยออกซิเจนในการดำรงชีพ |
alive | (อะไลว') adj. มีชีวิตอยู่, คงอยู่, กระปรี้กระเปร่า, ร่าเริง, ครึกครื้น, เต็มไปด้วยชีวิต, สนใจต่อ, ตระหนักถึง, Syn. living, existing, Ant. dead |
allograft | (แอล' โลกราฟทฺ' , -แกรฟทฺ) n. homograft, การย้ายปะตอนของเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะจากสิ่งมีชีวิตไปยังอีกสิ่งมีชีวิตที่เป็นพันธุ์เดียว (species) กัน |
allometry | (อะลิม' มิทรี) n. การเจริญเติบโตของส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิตที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโตทั้งหมดหรือบางส่วนของสิ่งมีชีวิตนั้น, การวัดหรือสึกษาการเจริญเติบโตแบบนี้., Syn. alloimetry -allometric, alloiometric adj. |
amalgamation | (อะแมลกะเม' เชิน) n. การรวมกับปรอท, ผลที่เกิดจากการรวมกับปรอท, การรวมบริษัทกัน, การร่วมกันทางชีวภาพของเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต, การสกัดโลหะจากแร่ด้วยปรอท (union, blend) |
amort | (อะมิรท) adj. ไม่มีชีวิต, ไม่มีจิตวิญญาณ |
anabolism | (อะแนบ' โบลิสซึม) n. การสังเคราะห์สารเชิงช้อนจากสารที่เชิงช้อนน้อย กว่าในสิ่งมีชีวิต |
anaerobe | (แอนแอ' โรบ , แอน' นะโรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ไม่ต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการหายใจ (not requiring air) |
anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด |
ancestor | (แอน' เซสเทอะ) n. บรรพบุรุษ, ปู่ย่าตายาย, ผู้ถูกสืบทอด, รูปแบบเดิมของสิ่งมีชีวิต, ผู้ที่ทายาทได้รับมรดก, Syn. forefather |
animal spirits | ความีชีวิตชีวาเนื่องจากสุขภาพที่ดี, อารมณ์ดี |
animate | (แอน' นิเมท) vt. ทำให้มีชีวิตชีวา, ทำให้แคล่วคล่อง, ทำให้มีกำลังวังชา, ให้กำลังใจ, กระตุ้น. -adj. มีชีวิตชีวา, มีชีวิต, เกี่ยวกับชีวิตสัตว์, สามารถเคลื่อนไหวได้เอง. -animateness n. -animation n., Syn. activate, incite |
animated | (แอน' นิเมทเทด) adj. มีชีวิตชีวา, Syn. lively, vital, Ant. lifeless, sluggish |
animation | (แอนนิเม' เชิน) n.ภาวะที่มีชีวิตชีวา, ขบวนการสร้างหนังการ์ตูน, ความกระตือรือร้น, พลังงาน, ความดีใจ, Syn. spirit |
animator | (แอน' นิเมเทอะ) n. บุคคลหรือสิ่งที่ทำให้มีชีวิตชีวา, คนวาดภาพการ์ตูน., Syn. animater |
annual | (แอน' นวล) adj. ประจำปี, ทุกปี, เกี่ยวกับปี, เกิดขึ้นระหว่างปี, มีชีวิตอยู่เพียงฤดูเดียวหรือปีเดียว. -n. พืชที่มีชีวิตอยู่เพียงฤดูเดียวหรือปีเดียว, หนังสือหรือรายได้ประจำปี. -annually adv., Syn. yearlong, yearly |
aquatic | (อะควอท'ทิค) adj.อาศัยหรือมีชีวิตอยู่ใต้น้ำ, ปฏิบัติการในหรือบนน้ำ. -aquatics กีฬาบนหรือในน้ำ (of water) |
autotroph | (ออ'โททรอฟ) n. สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอนินทรีย์สารเป็นอาหาร. -autotrophic adj. -autotrophy n. (Cf. heterotroph) |
auxology | (ออคซอล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต |
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ |
being | (บี'อิง) n. การเป็นอยู่, การดำรงอยู่, ชีวิต, สาร, ธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิต, บุคคล, พระเจ้า (Being) , ธาตุแท้, คุณสมบัติ, Syn. existence, creature |
bio- | Pref. 'ชีวิต', 'สิ่งมีชีวิต' |
biogenesis | n. การสร้างสิ่งมีชีวิตจากสิ่งมีชีวิตอื่น, See also: biogenetic, biogenous adj., Syn. biogeny |
biopsy | (ไบออพ'ซี) n. การตัดเอาชิ้นเนื้อเยื่อออกจากร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิเคราะห์, See also: bioptic adj. ดูbiopsy |
bouncy | (เบา'ซี) adj. มีลักษณะเด้ง, มีชีวิตชีวา, ร่าเริง, เด้งได้, ชอบคุยโว, ชอบยกยอตัวเอง |
breathe | (บรีธ) vi., vt. หายใจเข้าออก, หายใจ, มีชีวิต, อึดใจ, ระบายลม, เป่า, ปล่อยกลิ่นออกมา, พักหายใจ, กระซิบ -Id. (breath one's last ตาย), Syn. exhale, inhale -Conf.breath, breadth |
bright | (ไบรทฺ) adj. สว่าง, โชติช่วง, ใส, สดใส, แจ่มใส, ร่าเริง, ฉลาด, หลักแหลม, มีชีวิตชีวา, มีชื่อเสียงโด่งดัง., See also: brights n. ไฟหน้ารถที่ใช้ส่องให้สว่างจ้า, ความสว่างจ้า brightish adj. ดูbright |
brisk | (บริสคฺ) { brisked, brisking, brisks } adj. รวดเร็ว, ปราดเปรียว, ว่องไว, แรง (ลม) vt. ทำให้รวดเร็ว, ทำให้มีชีวิตชีวา, ทำให้รุ่งเรือง vi. ว่องไว, กระวีกระวาด, รุ่งเรือง, See also: briskness n., Syn. quick |
catabolism | (คะแทบ'บะลิซซึม) n. การสันดาปที่เป็นการทำลาย, การสลายตัวของสารเชิงซ้อนในสิ่งมีชีวิตเป็นสารที่ต่ำลง, See also: catabolic adj. ดูcatabolism, Syn. katabolism |
clone | (โคลน) n. พวกสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์จากระบบไร้เพศ., See also: clonal adj. คอมพิวเตอร์เลียนแบบหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำเลียนแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อดัง ๆ ส่วนใหญ่จะมีราคาถูก โดยปกติ เขาแบ่งระดับขั้นของคอมพิวเตอร์กันดังนี้ คือ ถ้าเป็นระดับที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด ก็มีคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็ม IBM แมคอินทอช Macintosh และคอมแพค Compaq ถัดลงมาอยู่ในระดับเทียบเคียงได้ compatible หมายถึง พวกที่มีชื่อ แต่โด่งดังน้อยกว่า เช่น เอ็ปซอน Epson ที่ขั้นต่ำสุดก็คือพวกที่ทำเลียนแบบในราคาถูก .....ถูกจนคนมักจะชอบเสี่ยงซื้อไปใช้ จึงจะเรียกว่า "clone" |
coaction | (โคแอค'-) n. การกระทำร่วมกัน, แรงดัน, ปฎิกริยาระหว่างสิ่งมีชีวิต |
community | (คะมิว'นิที) n. ชุมชน, สังคม, กลุ่ม, คณะ, สหคาม, สิ่งมีชีวิตที่เป็นพืช และสัตว์ของเขตหนึ่ง, ลักษณะร่วม, ลักษณะที่เหมือนกัน, See also: Phr. the community ชุมชน, สังคม, ประชาคม, Syn. society, public, Ant. polarity, duality |
crank | (แครงคฺ) { cranked, cranking, cranks } n. ข้อเหวี่ยง, ที่หมุน, ด้ามหมุน, คนที่มีนิสัยฉุนเฉียวง่าย, ความคิดที่ประหลาด, คนระห่ำ vt., vi. งอเป็นรูปด้านหมุน, หมุนข้อเหวี่ยง, หมุนมือหมุน, บิดไปมา adv. ไม่แน่นอน, บ้า ๆ บอ ๆ adj. กลิ้งได้ง่าย, พลิกง่าย, คว่ำง่าย, ร่าเริง, มีชีวิตชี |
crisp | (คริสพฺ) { crisped, crisping, crisps } adj. เปราะ, กรอบ, แตกง่าย, สบายใจ, สดชื่น, มีชีวิตชีวา, สะอาดเรียบร้อย, หยิกงอ. vt., vi. ทำให้เปราะหรือกรอบ, ทำให้เป็นลอนหรือหยิก., See also: crisply adv. ดูcrisp, Syn. brittle |
crouse | (ครูส) adj. กล้า, มีชีวิตชีวา, กระฉับกระเฉง, Syn. bold, brisk, lively |
darwinism | (ดาร'วะนิสซึม) n. ทฤษฎีดาร์วินที่เกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งมีชีวิต |
dashing | (แดช'ชิง) adj. มีชีวิตชีวา, ห้าว, หลักแหลม, หรูหรา., Syn. smart, Ant. dull |
dead | (เดด) adj.ตาย, สิ้นลมหายใจ, ไม่มีชีวิต, ไม่มีความรู้สึก, ทื่อ, จืดชืด, โดยสิ้นเชิง, แม่นยำ, กะทันหัน, ตรง, จริง ๆ , ไม่มีกระแสไฟฟ้า adv. โดยสิ้นเชิง, เต็มที่, อย่างกะทันหัน n. คนตาย, Syn. deceased |
draggy | adj. เฉื่อยชา, เชื่องช้า, ไม่มีชีวิตชีวา |
dull | (ดัล) { dulled, dulling, dulls } adj., vt.vi. ทื่อ, ทึ่ม, ปัญญาทึบ, ไม่มีชีวิตชีวา, ด้าน, จืดชืด, ไม่มีรสชาติ, ซบเซา, เชื่องช้า, ทู่, พร่ามัว, น่าเบื่อ, ไม่น่าสนใจ., See also: dullish adj. ดูdull dulness n. ดูdull dullness n. ดูdull dully adv. ดูdull |
ecosystem n. | ระบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม |
elan vital | (เอลาน'วีทัล) n. พลังสร้างสรรค์ภายในตัวสิ่งมีชีวิตเกี่ยวกับการเจริญเติบโต และการปรับตัวของร่างกาย |
ephemeral | (อิเฟม'เมอเริล) adj. ชั่วคราว, ไม่ถาวร, มีอายุสั้น. -n. สิ่งมีชีวิตที่มีอายุสั้น (เช่นแมลง), See also: ephemerality, ephemeralness n. |
exhilarate | (เอคซิล'ละเรท) vt. ทำให้เบิกบานใจ, กระตุ้น, ทำให้มีชีวิตชีวา., See also: exhilarator n. |
existence | (เอคซิส'เทินซฺ) n. การดำรงอยู่, การมีอยู่, การมีชีวิตอยู่, ความเป็นอยู่, สิ่งที่มีอยู่จริง |
fire | (ไฟ'เออะ) { fired, firing, fires } n. ไฟ, เพลิง, ไฟไหม้, การลุกเป็นไฟ, ความเร่าร้อน, ความกระตือรือร้น, ความมีชีวิตชีวา, ประกายไฟ, การยิงอาวุธปืน vt. ยิงกระสุน, ยิง, จุดไฟ, ไล่ออก, เลิกจ้าง. vi. ติดไฟ, ไฟไหม้, ลุก, มีอารมณ์เร่าร้อน, ตื่นเต้น, ยิงปืน, ปล่อยขีปนาวุธ -on fire กำลั |
alive | (adj) มีชีวิตอยู่, คงอยู่, ดำรงอยู่, ร่าเริง, กระปรี้กระเปร่า |
animate | (adj) มีชีวิต, เป็นสัตว์ |
animate | (vt) กระตุ้น, ทำให้มีชีวิต |
animated | (adj) กระปรี้กระเปร่า, ร่าเริง, มีชีวิตชีวา |
animation | (n) ความมีชีวิต, ความมีชีวิตชีวา, ความกระตือรือร้น |
being | (n) ความเป็นอยู่, การดำรงอยู่, สิ่งมีชีวิต |
breather | (n) การหยุดพัก, คนที่มีชีวิต |
crisp | (adj) กรอบ, เปราะ, แจ่มใส, สดชื่น, กระฉับกระเฉง, มีชีวิตชีวา |
damp | (adj) ชื้น, หมาด, เปียก, แฉะ, หดหู่, ไม่มีชีวิตชีวา |
dashing | (adj) หรูหรา, โก้หรู, มีชีวิตชีวา, ร่าเริง, หลักแหลม |
dullness | (n) ความโง่, วามน่าเบื่อ, ความทื่อ, ความมัว, ความไม่มีชีวิตชีวา |
effervesce | (vt) มีชีวิตชีวา, ร่าเริง, ตื่นเต้น, กระตือรือร้น, เป็นฟอง |
effervescence | (n) ความมีชีวิตชีวา, ความร่าเริง, ความกระตือรือร้น, ความเป็นฟอง |
effervescent | (adj) มีชีวิตชีวา, ร่าเริง, ตื่นเต้น, กระตือรือร้น, พลุ่งเป็นฟอง |
enliven | (vt) ทำให้มีชีวิตจิตใจ, ทำให้สนุกสนาน, ทำให้ร่าเริง, ทำให้คึกคัก |
exist | (vi) ดำรงอยู่, คงอยู่, อยู่, มีจริง, มีชีวิตอยู่ |
frisky | (adj) ร่าเริง, ว่องไว, มีชีวิตชีวา, ขี้เล่น, กระโดดโลดเต้น |
going | (adj) ซึ่งกำลังจากไป, ซึ่งเคลื่อนที่, มีชีวิต, ปัจจุบัน, ตามปกติ |
hearten | (vi) มีชีวิตชีวา, ร่าเริงขึ้น, เบิกบาน, ให้กำลังใจ, กล้าขึ้น |
inanimate | (adj) ไม่มีชีวิต, เซื่องซึม, ไม่สดใส, ไม่ร่าเริง |
insipid | (adj) ไม่น่าสนใจ, จืดชืด, ไม่มีรสชาติ, ไม่มีชีวิตชีวา |
jazz | (n) ดนตรีแจ๊ส, ความมีชีวิตชีวา, ความร่าเริง |
jocund | (adj) รื่นเริง, เบิกบาน, ขบขัน, ตลกคะนอง, มีชีวิตชีวา |
life | (n) ชีวิต, สิ่งมีชีวิต, ความกระปรี้กระเปร่า |
lifeless | (adj) สิ้นชีวิต, เซื่องซึม, ไม่มีชีวิตชีวา, ไม่รู้สึก |
lifelike | (adj) เหมือนมีชีวิต, เหมือนจริง |
light | (vi) จุดไฟ, เปิดไฟ, ลุกเป็นไฟ, จุดบุหรี่, มีชีวิตชีวา |
live | (adj) มีชีวิต, มีชีวิตชีวา, ทันสมัย, ขะมักเขม้น |
live | (vi) อยู่, มีชีวิต, ดำเนินชีวิต, มีอายุ, อาศัยอยู่ |
liveliness | (n) ความมีชีวิตจิตใจ, ความร่าเริง, ความสดใส, ความสนุกสนาน |
lively | (adj) มีชีวิตจิตใจ, ร่าเริง, สนุกสนาน, สดใส, กระฉับกระเฉง |
living | (adj) มีชีวิตอยู่, ยังเป็นๆ, ซึ่งเป็นมนุษย์ |
lusty | (adj) แข็งแรง, มีกำลัง, มีพลัง, มีชีวิตชีวา |
mawkish | (adj) น่ารังเกียจ, น่าหมั่นไส้, น่าคลื่นไส้, ไม่มีชีวิตชีวา, จืดชืด |
organism | (n) อินทรีย์, สิ่งมีชีวิต, องค์การ, องค์กร |
protoplasm | (n) สิ่งมีชีวิตอยู่ในเซลล์ของสัตว์และพืช |
reanimate | (vt) ทำให้กระปรี้กระเปร่า, ทำให้มีชีวิตจิตใจ, ทำให้คืนชีพ, ฟื้นฟู |
refresh | (vt) ทำให้เบิกบาน, ทำให้สดชื่น, ทำให้มีชีวิตชีวา |
renovation | (n) การปรับปรุงใหม่, การทำขึ้นใหม่, การทำให้มีชีวิตชีวา |
resurrect | (vt) กลับมีชีวิต, ฟื้นคืนชีพ |
resurrection | (n) การกลับมีชีวิตใหม่, การฟื้นคืนชีพ |
resuscitate | (vt) นำกลับมาใหม่, ทำให้กลับมีชีวิต, ทำให้ฟื้นคืน |
spark | (n) ลูกไฟ, ประกายไฟ, ไฟพะเนียง, ความมีชีวิตชีวา, คนเจ้าชู้ |
spirited | (adj) กล้าหาญ, มีกำลังใจ, สนุกสนาน, ร่าเริง, มีชีวิตชีวา |
sprightly | (adj) ร่าเริง, สนุกสนาน, มีชีวิตชีวา, คล่องแคล่ว |
subsist | (vi) มีชีวิตอยู่, อยู่, ยังชีพ, ประทังชีวิต |
viable | (adj) สามารถมีชีวิตอยู่ได้, ปฏิบัติได้, ทำงานได้ |
vivacious | (adj) ร่าเริง, มีชีวิตชีวา, สนุกสนาน, เบิกบาน |
vivacity | (n) ความร่าเริง, ความมีชีวิตชีวา, ความสนุกสนาน, ความเบิกบาน |
vivify | (vt) ทำให้มีชีวิตจิตใจ, ให้ชีวิตแก่ |
Abiotic factors | (n) ปัจจัยที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ความแห้งแล้ง ความหนาวเย็น แสงแดดเผา การขาดสารอาหาร ค่าความเป็นกรดด่างไม่สมดุล เป็นต้น |
Absorptiometry | การวัดปริมาณรังสีที่ดูดซึม (ตามเนื้อเยื่อที่มีชีวิต) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อตรวจสอบความหนาแน่น |
animation | ภาวะที่มีชีวิตชีวา, ขบวนการสร้างหนังการ์ตูน, ความกระตือรือร้น, พลังงาน, ความดีใจ, |
BBier | [บีบี'เออร์] (n) นักพกบีบี, สิ่งมีชีวิตที่มีชื่อจริง และนามสกุลเป็นรหัสอักษรและเลข8ตัว |
beings | [บี'อิง] ความมีชีวิตอยู่ ; มนุษย์ ; สิ่งมีชีวิต ; ความเป็นอยู่ |
Beltane | (uniq) เทศกาลเฉลิมฉลอง หนึ่งใน เทศกาลแห่งเปลวเพลิง ซึ่งรับทอดมาจากศาสตร์เซลติกโบราณ ซึ่งนิยมจะเฉลิมฉลองกันในยามค่ำคืน เพแกนจะขี่เหล่าปศุสัตว์ระหว่างกองไฟซึ่งก่อ ณ กลางแจ้ง ทั้งสองกอง เป็นความเชื่อว่าจะปกป้องพวกเขาจากโรคร้าย ส่วนคู่หนุ่มสาวที่ปราถณาจะมีชีวิตคู่ที่ชุ่มชื่นก็จะ "กระโดดเหนือกองไฟ" ในคืน Beltane |
biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ |
biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ |
biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ |
Biotic factors | (n, modal, verb) ปัจจัยที่มีชีวิต ได้แก่ เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส ไส้เดือนฝอย |
Biotrophs | (n) เชื้อโรคที่ตามธรรมชาติ ได้รับอาหารจากเนื้อเยื่อ และดำรงชีวิตอยู่จนครบชีพจักรบนพืชอาศัยที่มีชีวิตอยู่ |
chemoautotroph | [chem-mo-au-to-troph] (n) สิ่งมีชีวิตที่ใช้สารอนินทร์ เช่น hydrogen sulfide, ammonium or ferrous iron เป็นแหล่งสร้างพลังงาน เช่น Bacteria |
decomposer | [ดีคอมโพสเซอร์] (n) ผู้ย่อยสลาย หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้สารอาหารจากการย่อยซากสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ เห็ด รา เป็นต้น(ศัพท์ทางชีววิทยา) |
endangered species | (n) สัตว์ป่าหรือสิ่งมีชีวิตที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (ถ้าแปลตรงตัวคือ สายพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่กำลังอยู่ในอันตราย) |
Facultative parasitism | (n) เป็นปรสิตที่สามาถเจริญอยู่ได้โดยได้รับอาหารจากสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ในพืชเพื่อให้ครบวงจรชีวิต สามารถเจริญหรือเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ |
gene | (n) หน่วยที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ที่ถ่ายทอดจากพ่อแม่ ไปสู่ลูกหลาน ที่ปรากฏอยู่บนโครโมโซม |
Hemibiotrophs | (n) เชื้อโรคที่เป็นปรสิตโดยได้รับอาหารจากเนื้อเยื่อพืชอาศัยซึ่งยังมีชีวิตอยู่ เมื่อเนื้อเยื่อส่วนนั้นตาย เชื้อจะสามารถเจริญต่อไปและเกิดสปอร์ในภายหลังได้ |
inter vivos | (adj) ขณะยังมีชีวิตอยู่ |
Obligate parasitism | (n) เป็นปรสิตที่เจริญได้โดยได้รับอาหารจากสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ ไม่สามาถเจริญหรือเพาะเลี้ยงได้ในอาหารเลี้ยงเชื้อ |
oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) |
plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช |
plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช |
terraforming | (n) เป็นการปรับสภาพดวงดาวให้มีลักษณะที่มนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ได้ด้วยการปรับบรรยากาศ อุณหภูมิ สภาพพื้นผิว ระบบนิเวศน์ ให้มีลักษณะคล้ายโลก |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |