มาหา | (v) come to meet, See also: call on, drop in on, stop by, visit, Syn. มา, Example: ป้ามาหาพ่อที่บ้านเมื่อวานนี้ แต่พ่อไม่อยู่ |
ทำมาหากิน | (v) earn a living, See also: make a living, earn a livelihood, Syn. หาเลี้ยงชีพ, Example: ผมไปทำมาหากินอยู่ที่ระนองมาสิบกว่าปี, Thai Definition: ปฏิบัติการงานหารายได้มาเลี้ยงชีพ |
ไปมาหาสู่ | (v) visit, See also: meet, Example: ครอบครัวผมกับเขาไปมาหาสู่กันเสมอ, Thai Definition: ไปหากันและกัน |
คนทำมาหากิน | (n) diligent person, See also: industrious person, worker, Syn. คนทำงาน, Example: ทุกคนควรเป็นคนทำมาหากิน มีความมุ่งมาดปรารถนาที่จะบุกเบิก ที่จะสร้างสรรค์อยู่เสมอๆ, Count Unit: คน, Thai Definition: คนขยันทำการงานสร้างฐานะ ไม่หลงติดอบายมุข |
การไปมาหาสู่ | (n) visit, See also: contact, intercourse, associate, touching, meeting, Syn. การเยี่ยมเยียน, การพบปะ, การติดต่อ, Example: ชาวไทยอีสานและชาวลาวเป็น 2 ชนชาติที่ไม่มีอุปสรรคด้านภาษาในการไปมาหาสู่กัน |
ที่ทำมาหากิน | (n) workplace, Syn. ที่ทำกิน, Example: ทะเลเป็นชีวิตและที่ทำมาหากินของลุงย้อย, Count Unit: ที่, แห่ง, Thai Definition: หลักแหล่งสำหรับประกอบอาชีพเพื่อหาเลี้ยงชีวิต |
ไปมาหาสู่ | ก. ไปเยี่ยมเยียน เช่น เขาไปมาหาสู่ญาติที่ต่างจังหวัดบ่อย ๆ. |
หมาหางด้วน | น. คนที่ทำอะไรผิดพลาดจนได้รับความอับอายแล้วชวนให้ผู้อื่นทำตามโดยยกย่องการกระทำนั้นว่าดี ควรเอาอย่าง. |
เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ ยืมจมูกคนอื่นหายใจ ก็ว่า. |
กรรมเวร | คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมในอดีต เช่น อายุตั้ง ๗๐ ปีแล้วยังต้องมาหาบขนมขายอีก กรรมเวรแท้ ๆ, เวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า. |
กวัก ๒ | (กฺวัก) ก. ใช้มือทำอาการเพื่อเป็นสัญญาณให้เข้ามาหาเรียกว่า กวักมือ, อาการที่นกใช้ปีกพุ้ยอากาศบินไป เรียกว่า นกกวักปีก. |
กะผลุบกะโผล่ | (-ผฺลุบ-โผฺล่) ก. อาการที่ผลุบลงแล้วโผล่ขึ้น เช่น ปลากะผลุบกะโผล่ขึ้นมาหายใจ, อาการที่ผลุบเข้าไปแล้วโผล่ออกมา เช่น มากะผลุบกะโผล่อยู่หลังเวทีทำไม, จม ๆ ลอย ๆ เช่น ขอนลอยน้ำกะผลุบกะโผล่, โดยปริยายหมายความว่า ไปหรือมาไม่สม่ำเสมอ เช่น ถ้าจะมาช่วยงานก็ขอให้มาสม่ำเสมอ อย่ากะผลุบกะโผล่ มาบ้างไม่มาบ้าง, ผลุบโผล่ ๆ หรือ ผลุบ ๆ โผล่ ๆ ก็ว่า. |
ขอด ๑ | ว. ที่ขมวดเป็นปมหรือม้วนเข้ามา เช่น หมาหางขอด. |
แขก ๑ | น. ผู้มาหา, ผู้มาแต่อื่น, ผู้ที่มาร่วมงานพิธีของเจ้าภาพ, บางทีเรียกว่า แขกเหรื่อ |
คบค้า, คบค้าสมาคม | ก. ไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน, คบหา ก็ว่า. |
คบหา | ก. ไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน, คบค้า หรือ คบค้าสมาคม ก็ว่า. |
ค้าขาย | ก. ทำมาหากินในทางซื้อขาย. |
คุณ ๑, คุณ- | (คุน, คุนนะ-) ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นคำสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, (ปาก) คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึงด้วยความสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓, เช่น คุณอยู่ไหม ช่วยไปเรียนว่ามีคนมาหา. |
เงียบเหงา | มีคนน้อย, มีคนไปมาหาสู่น้อย. |
ฉุด | ก. ออกแรงดึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างแรงให้เข้ามาหาตัว เช่น ฉุดคนที่หกล้มให้ลุกขึ้นมา ฉุดไว้ไม่ให้ไป, โดยปริยายหมายความว่า ถ่วงให้ต่ำลง เช่น คะแนนภาษาอังกฤษฉุดให้คะแนนรวมต่ำลง, หรือดึงให้สูงขึ้น เช่น ได้เกาะชายผ้าเหลืองฉุดขึ้นสวรรค์. |
เฉย ๆ | ว. ใช้ประกอบข้อความหรือคำอื่น มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ข้อความแวดล้อม เช่น หยิบไปเฉย ๆ คือ หยิบไปโดยไม่ได้บอกกล่าว, อยู่บ้านเฉย ๆ คือ อยู่บ้านโดยไม่ทำอะไรให้เป็นกิจจะลักษณะ หรือไม่ได้ทำมาหากินอะไร |
ช่องทาง | หนทางหรือโอกาสที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ที่จังหวัดนี้มีช่องทางทำมาหากินได้ง่าย. |
ช่อย | ก. ช่วย เช่น คนใดขี่ช้างมาหา พาเมืองมาสู่ช่อยเหนือเฟื้อกู้ (จารึกหลัก ๑). |
เชื้อเชิญ | ก. เชิญผู้มาหาด้วยความสุภาพอ่อนน้อม. |
ตัดทาง, ตัดหนทาง | ก. ทำให้หมดช่องทาง เช่น ตัดทางทำมาหากิน |
ตัวคูณร่วมน้อย | น. จำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดซึ่งนำจำนวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จำนวนขึ้นไปมาหาร แล้วจะได้ผลลัพธ์ลงตัวพอดี เช่น ๗๐ เป็นตัวคูณร่วมน้อยของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ค.ร.น. |
ติดต่อ | ก. ไปมาหาสู่กัน, พูดจาเพื่อทำความตกลง, สื่อสาร. |
ตู้ ๒ | ว. ทู่, เรียกควายเขาสั้นหงิกเข้ามาหาหู ว่า ควายเขาตู้. |
ถึงกัน | ก. ติดต่อไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ เช่น นาย ก กับ นาย ข เขาถึงกัน |
ทำเล | น. ถิ่นที่, ตำบล, ภูมิที่ตั้ง, (มักใช้แก่แหล่งทำมาหากิน) เช่น ทำเลการค้า. |
ที่ | น. แหล่ง, ถิ่น, เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทำมาหากิน, สถานที่ เช่น ที่ประชุม ที่พัก, ตำแหน่งแห่งที่ เช่น เอาของวางไว้ให้ถูกที่ |
ทุบหม้อข้าว | ก. ตัดอาชีพ, ทำลายหนทางทำมาหากิน. |
เทียว ๒ | ว. คำที่ใช้ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อบังคับหรือเน้นความให้มีความหมายหนักแน่นยิ่งขึ้น มีความหมายอย่างเดียวกับ ทีเดียว, เชียว, เช่น มาให้ได้เทียวนะ อย่าบอกใครเทียวนะ หมู่นี้เงียบไปเทียวไม่เห็นมาหาบ้างเลย. |
แทะ | ก. เอาฟันหน้ากัดให้หลุดออกมาทีละน้อย ๆ, เล็มกินทีละน้อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาไม่ทำมาหากินคอยแต่แทะเงินเพื่อน ๆ. |
นั่งกินนอนกิน | ว. มีความสุขสบายมากโดยไม่ต้องทำมาหากินอะไร. |
เนือง, เนือง ๆ | ว. บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, เช่น สะบัดปลายเกศาเนืองไป (อิเหนา), ไปมาหาสู่อยู่เนือง ๆ |
บรัด | (บะหฺรัด) ก. แต่ง. น. เครื่องแต่ง, เครื่องประดับ เช่น ทรงบรัดผัดหน้า แต่งแง่ทรงสะอิ้งผ้า ย่างเยื้องมาหา แม่รา (ลอ.), โบราณเขียนเป็น บรัส ก็มี เช่น เครื่องพิษยศรีกษัตริย์ อนนควรบรัสแห่งพระองค์ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). |
ปฏิสันถาร | น. การทักทายปราศรัยแขกผู้มาหา (มักใช้แก่ผู้น้อย) |
ประจำ | ที่กำหนดให้มีเป็นปรกติ เช่น งานประจำปี, เรียกรถโดยสารที่วิ่งอยู่บนเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเป็นปรกติ ว่า รถประจำทาง, เรียกครูหรืออาจารย์ที่สอนและดูแลรับผิดชอบนักเรียนชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นปรกติ ว่า ครูหรืออาจารย์ประจำชั้น, เรียกบัตรที่ออกให้ไว้เฉพาะบุคคลและจะต้องเก็บไว้กับตัวเป็นปรกติ ว่า บัตรประจำตัว, เรียกลูกจ้างที่จ้างไว้เป็นปรกติ ไม่ใช่ชั่วคราว ว่า ลูกจ้างประจำ, เรียกผู้ที่มาติดต่อหรือไปมาหาสู่กันเสมอเป็นปรกติ เช่น ลูกค้าประจำ ขาประจำ, ลักษณะการฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อฝากครบตามเวลาที่กำหนดไว้ เรียกว่า ฝากประจำ. |
ปาหุณ, ปาหุณ- | (ปาหุนะ-) น. ผู้มาหา, แขก. |
ผัวหาบเมียคอน | ช่วยกันทำมาหากินทั้งผัวทั้งเมีย, ชายหาบหญิงคอน ก็ว่า. |
ผีหลอก ๑ | น. เรือแจวจับสัตว์นํ้าในลำคลองและลำนํ้าชนิดหนึ่ง จับได้ทั้งปลาและกุ้ง กราบเรือด้านหนึ่งติดแผ่นกระดานทาสีขาว ปล่อยริมข้างหนึ่งให้ลงนํ้า กราบอีกด้านหนึ่งมีตาข่ายกันมิให้ปลาและกุ้งกระโดดข้าม ใช้จับเวลากลางคืน ปลาตกใจจะกระโดดเข้ามาหาเรือเอง. |
พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, ยืมจมูกคนอื่นหายใจ หรือ เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ ก็ว่า. |
มา ๒ | ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย เขาบอกว่าจะมาแล้วไม่มา, ตรงกันข้ามกับ ไป, เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางเข้าหาตัวผู้พูด เช่น หันมาทางนี้ เอามานี่, ใช้ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางสู่ตัวผู้ที่เขียนถึง เช่น พรุ่งนี้ผมจะมาหาคุณ, ซึ่งเป็นคำประกอบกริยาแสดงอาการที่ต่อเนื่องเรื่อยมาถึงปัจจุบัน เช่น ความเป็นมา อยู่มาวันหนึ่ง ส่งจดหมายบอกข่าวมา. |
มุดน้ำ | ก. จมตัวลงและเคลื่อนไปใต้ผิวน้ำในทางราบ เช่น ปลาโผล่ขึ้นมาหายใจ แล้วมุดน้ำลงไป. |
ยืมจมูกคนอื่นหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ ก็ว่า. |
เยียน | ก. ไปมาหาสู่, มักใช้ควบกับคำ เยี่ยม เป็น เยี่ยมเยียน, เยือน ก็ว่า. |
เยี่ยมเยียน, เยี่ยมเยือน | ก. ไปมาหาสู่ถามข่าวคราว. |
รับแขก | ก. ต้อนรับผู้มาหา, โดยปริยายเรียกบุคคลที่มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ ว่า หน้าตารับแขก. |
รี่ ๑ | ว. อาการที่เดินหรือวิ่งตรงเข้ามาโดยไม่รีรอ เช่น เดินรี่เข้ามาหา. |
รู้สึก | ก. รู้ตัว เช่น ย่องไปข้างหลังอย่าให้เขารู้สึก หลับเป็นตายปลุกเท่าไรก็ไม่รู้สึก, รู้ด้วยการสัมผัส เช่น รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว, รู้สำนึก เช่น เขารู้สึกตัวว่าทำผิด, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์ เช่น รู้สึกสนุก รู้สึกซาบซึ้ง รู้สึกมึนศีรษะ, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ เช่น รู้สึกว่าจะมีใครมาหา, มีแนวโน้มให้สันนิษฐานหรือคาดคะเนว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น เช่น รู้สึกว่าสินค้าเกษตรจะมีราคาตกต่ำในปีนี้ ในที่สุดต้องยกเลิกเรื่องบางเรื่องเพราะรู้สึกว่าจะไปไม่รอด. |
เรียก | ก. เปล่งเสียงเพื่อให้มาหรือให้ไปเป็นต้น เช่น แม่เรียกให้มาทำการบ้าน ช่วยเรียกสุนัขไปเสียที, ออกชื่อ เช่น ครูเรียกมาลีให้มาหา, เชิญ เช่น เรียกประชุม เรียกหมอ เรียกน้ำ เรียกลม |
เรือผีหลอก | น. เรือแจวชนิดหนึ่ง สำหรับจับสัตว์น้ำในลำคลองและลำน้ำในเวลากลางคืน กราบเรือทางขวาติดแผ่นกระดานทาสีขาวปล่อยริมข้างหนึ่งให้ลงน้ำ กราบซ้ายมีตาข่ายกันมิให้ปลาและกุ้งกระโดดข้าม ปลาตกใจจะกระโดดเข้ามาหาเรือเอง. |
ลงหลักปักฐาน | ก. ตั้งที่อยู่ทำมาหากินเป็นหลักแหล่ง. |
ลำแข้ง | น. กำลังความสามารถในการทำมาหากินด้วยตนเองไม่ต้องพึ่งใคร เช่น หากินด้วยลำแข้งของตนเองจนมั่งมี, ปลีแข้ง ก็ว่า. |
ลู่ทาง | น. ลาดเลา, ช่องทาง, เช่น ดูลู่ทางทำมาหากิน ผู้ร้ายหาลู่ทางเข้าไปโจรกรรม. |
boomerang | (n) ไม้ที่มีลักษณะโค้งแบน เมื่อขว้างไปแล้วจะย้อนกลับมาหาผู้ขว้าง |
bear down on | (phrv) เข้ามาใกล้อย่างรวดเร็วและน่ากลัว, See also: เข้าใกล้อย่างน่ากลัวหรือน่าตกใจ, ตรงมาหาอย่างรวดเร็วและน่ากลัว |
bear down upon | (phrv) เข้ามาใกล้อย่างรวดเร็วและน่ากลัว, See also: ตรงมาหาอย่างรวดเร็วและน่ากลัว |
call for | (phrv) รับ, See also: แวะรับ, แวะมาหา, Syn. pick up |
call over | (phrv) เรียกให้มาหา, See also: ร้องเรียก |
cast one's bread on the waters | (idm) กระทำสิ่งที่ดี (ซึ่งจะย้อนกลับมาหาคุณในเวลาต่อมา), Syn. throw in |
come again | (phrv) กลับมาอีก, See also: มาหาอีก, Syn. go back |
creep up on | (phrv) ย่องเข้ามาหาอย่างช้าๆ และเงียบ, Syn. sneak up on, steal up on |
get home to | (phrv) กลับบ้านมาหา, Syn. bring home to, come home to |
get over | (phrv) เดินทางมาหา, See also: มาเยี่ยม, Syn. bring over |
get round | (phrv) แวะเยี่ยม, See also: แวะมาหา, Syn. bring over |
honest livelihood | (n) สัมมาชีพ, See also: การทำมาหากินสุจริต |
job | (n) งาน, See also: อาชีพ, การทำมาหากิน, Syn. occupation, profession, career |
living | (n) การครองชีพ, See also: การทำมาหากิน, Syn. livelihood |
roll round | (phrv) มาหาโดยไม่ได้นัด, See also: มาโดยไม่คาดฝันไว้ |
run in | (phrv) ขับมาหา, See also: แวะมาหา |
run into | (phrv) แวะมา, See also: ขับมาหา |
cold call | (sl) โทรศัพท์หรือแวะมาหาเพื่อขายสินค้า |
see | (vt) ไปหา, See also: เยี่ยม, เข้าไปพบ, ไปมาหาสู่, ไปสนทนา, ติดต่อ, ปรึกษา, ติดตาม, พูดคุย, สัมภาษณ์, Syn. attend, escort, speak to, have a conference with, consult, discuss, visit |
see round | (phrv) แวะเยี่ยม, See also: แวะมาหา, วนเวียนมา, Syn. show around |
visit | (n) การไปเยี่ยม, See also: การไปมาหาสู่, Syn. visitation |
bookmark | n. ที่คั่นหนังสือ, ริบบิ้นหรือกระดาษคั่นหนังสือ ที่คั่นหนังสือคั่นหน้า1. การใช้ที่คั่นหนังสือนั้นเพื่อประโยชน์ในการกลับมาหาที่เก่าได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาค้นหา ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทำไว้ให้ง่ายในการกลับมาค้นหา 2. เป็นคำสั่งในโปรแกรมบางโปรแกรมที่ช่วยให้กลับมาค้นหาง่าย กล่าวคือนำข้อความหรือคำสั่งมารวมไว้ หากต้องการสั่งก็จะหาพบได้ง่าย เช่น ในโปรแกรมเน็ตสเคป (ใช้อินเตอร์เน็ต) การเลือกคำสั่ง bookmark หมายถึงการนำชื่อโฮมเพจที่จะใช้บ่อย ๆ ไปเก็บรวมไว้ เมื่อต้องการกลับไปใช้อีก จะได้สั่งได้สะดวก |
boomerang | (บูม'มะแรง) { boomeranged, boomeranging, boomerangs } n. ไม้รูปโค้งซึ่งเมื่อเหวี่ยงออกไปแล้วกลับมาหาผู้เหวี่ยง, อาวุธลับที่กลับไปทำลายผู้ใช้, ดาบที่คืนสนอง vt. ทำอันตรายอย่างไม่คาดคิดกับผู้ริเริ่ม |
closed architecture | สถาปัตยกรรมปิดหมายถึง การออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ใช้ได้เฉพาะกับอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนที่ผลิตจากบริษัทเดียวกันเท่านั้น (เรียกว่า ปิดประตูตาย ไม่ให้ผู้อื่นมาร่วมทำมาหากิน) |
counter | (เคา'เทอะ) { countered, countering, counters } n. โต๊ะกั้น (แสดงสินค้า/ ติดต่อกับธุรกิจกับผู้ที่มาหา) , เคาน์เตอร์, เครื่องนับจำนวน, ผู้นับ adv. ในทางที่ผิด, ในทางกลับ, ตรงกันข้าม adj. ตรงกันข้าม, ต่อต้าน. n. สิ่งที่อยู่ตรงกันข้าม, สิ่งต่อต้าน, ผู้ต่อต้าน, การชกสวน, หมั |
intercourse | (อิน'เทอคอร์ส) n. การติดต่อกัน, การไปมาหาสู่กัน, การแลกเปลี่ยนความคิดกัน, การร่วมประเวณี., Syn. intercommunication |
sociality | (โซชิแอล'ลิที) n. ลักษณะธรรมชาติของการชอบอยู่กันเป็นหมู่, การไปมาหาสู่กันในสังคม, การคบค้าสมาคม, การวิสาสะ |
travel | (แทรฟ'เวิล) vi., vt., n. (การ) เดินทาง, ท่องเที่ยว, ทัศนาจร, เดินทางด้วยเท้า, เคลื่อนย้าย, ไปมาหาสู่ไปอย่างรวดเร็ว, เคลื่อน, ส่ง, ถ่ายทอด, เรื่องราวการเดินทาง, ระยะเลื่อนของเครื่องจักร, Syn. journey, wander, proceed, pass, touring, tour, voyage |