66 ผลลัพธ์ สำหรับ *มอญ*
หรือค้นหา: มอญ, -มอญ-

Longdo Unapproved MNW - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
က[ka'] (n) พยัญชนะตัวที่ ๑ ของภาษามอญ
[kha] (n) ခ พยัญชนะตัวที่ ๒ ของมอญ
[/ge'/] พยัญชนะตัวที่ ๓ ของภาษามอญ
[ŋe/nge/เงี่ยะ] ဃ พยัญชนะตัวที่ ๓ ของมอญ
[khe/เคี่ยะ] ဃ พยัญชนะตัวที่ ๔ ของมอญ
[ghe'] พยัญชนะตัวที่ ๔ ของภาษามอญ
[ge] (n) ဂ พยัญชนะตัวที่ ๓ ของมอญ
[ghέ เคี่ยะ] (n) พยัญชนะตัวที่ ๔ ของภาษามอญ
ငၛ[nge/เงี่ยะ] ငၛ พยัญชนะตัวที่ ๕ ของมอญ
[ca จะ] พยัญชนะตัวที่ ๖ ของภาษามอญ
[cha ชะ] (n) พยัญชนะตัวที่ ๗ ของภาษามอญ
[ŋέ เงี่ยะ] พยัญชนะตัวที่ ๕ ของภาษามอญ

Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[kha] (n) ခ พยัญชนะตัวที่ ๒ ในภาษามอญ

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
มอญตีดั้ง(n) kind of fire work which skips on the water, Thai Definition: ชื่อดอกไม้ไฟอย่างหนึ่งในพวกดอกไม้น้ำ

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระด้งมอญน. ภาชนะสานรูปกลม ก้นลึก มีขนาดใหญ่ สำหรับใส่ของเป็นต้น.
เฉียงพร้ามอญดู กระดูกไก่ดำ.
ปี่พาทย์มอญน. วงปี่พาทย์ที่นำเพลงและเครื่องดนตรีของมอญ ประกอบด้วย ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอกมาบรรเลง มีเครื่องกำกับจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง ฉาบ โหม่ง.
ปี่มอญน. ชื่อปี่ชนิดหนึ่ง ใช้เป่าในวงปี่พาทย์มอญ มีขนาดใหญ่ ลักษณะเป็น ๒ ท่อน ตัวปี่หรือเลาปี่ทำด้วยไม้เนื้อแข็งสอดอยู่ในลำโพงทำด้วยโลหะ ทรงปากบานออกคล้ายลำโพง แยกเป็นคนละส่วนกับเลาปี่ จึงมีเชือกผูกโยงท่อนบนลำโพงกับเลาปี่ท่อนบนไว้ด้วยกัน.
มอญน. ชื่อชนชาติหนึ่ง เคยเป็นใหญ่อยู่ทางตอนใต้ของพม่า ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศพม่า มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้.
มอญซ่อนผ้าน. ชื่อการเล่นของเด็กอย่างหนึ่ง โดยผู้เล่นนั่งล้อมวง ผู้ซ่อนผ้าจะถือผ้าซึ่งมักฟั่นให้เป็นเกลียวเดินวนอยู่นอกวง เมื่อเห็นผู้ใดเผลอก็ทิ้งผ้านั้นไว้ข้างหลังและทำเสมือนว่ายังไม่ได้ทิ้งผ้า แล้วเดินวนอีก ๑ รอบ ถ้าผู้ที่มีผ้าวางอยู่ข้างหลังยังไม่รู้สึกตัว ก็หยิบผ้านั้นขึ้นมาตี ผู้ถูกตีจะต้องลุกขึ้นวิ่งหนีไป ๑ รอบ แล้วกลับไปนั่งที่เดิม ผู้ซ่อนผ้าก็จะเดินวนต่อไปหาทางทิ้งผ้าให้ผู้อื่นใหม่ แต่ถ้าผู้นั้นรู้ตัวก่อน ก็จะหยิบผ้าลุกขึ้นไล่ตีผู้ซ่อนผ้าให้วิ่งไป ๑ รอบ ผู้ซ่อนผ้าก็จะมานั่งแทนที่ ผู้ที่ไล่ตีนั้นก็จะเป็นผู้ซ่อนผ้าต่อไป.
มอญตีดั้งน. ชื่อดอกไม้ไฟอย่างหนึ่งในพวกดอกไม้นํ้า.
มอญน. คำนำหน้าชื่อเพลงไทยสำเนียงมอญ เช่น มอญรำดาบ มอญชมจันทร์ มอญอ้อยอิ่ง.
มะเขือทวาย, มะเขือมอญดู กระเจี๊ยบ.
แย่งกันเป็นศพมอญก. ยื้อแย่งกัน (ใช้ในความเปรียบเทียบ).
สะบ้ามอญดู สะบ้า.
สันพร้ามอญดู กระดูกไก่ดำ.
กระเจี๊ยบน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Abelmoschus esculentus (L.) Moench ในวงศ์ Malvaceae ผลสีเขียว ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ใช้เป็นผัก, กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย หรือ มะเขือมอญ ก็เรียก.
กระดูกไก่ดำน. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Justicia วงศ์ Acanthaceae ได้แก่ชนิด J. gendarussa Burm. f. ใบยาวรี ออกตรงข้ามกัน ลำต้น กิ่ง ก้านใบ และเส้นกลางใบสีม่วงดำ ใช้ทำยาได้, กระดูกดำ เฉียงพร้ามอญ หรือ สันพร้ามอญ ก็เรียก และชนิด J. grossa C. B. Clarke ดอกสีขาวอมเขียว ฝักยาว เปลือกแข็งและมีขน ผลแก่แตกตามยาว.
กระต่ายเต้นชื่อเพลงไทยสำเนียงมอญ ใช้ในการแสดงละครและลิเก.
กระแต ๑น. ชื่อฆ้องวงขนาดเล็ก ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญ ลักษณะร้านฆ้องเป็นรูปเว้าหงายขึ้น คล้ายฆ้องมอญแต่ปลายไม่สูง วงหนึ่งมีลูกฆ้อง ๑๑ ลูก, ฆ้องขนาดเล็กลูกเดียวแขวนกับไม้ ใช้มือหิ้วหรือแขวนไม้กับไม้ขาหยั่ง ใช้ตีเป็นสัญญาณในการอยู่เวรยามหรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ, ทั้ง ๒ ชนิดเรียกว่า ฆ้องกระแต.
กวย ๒น. ชาติข่า ในตระกูลมอญ–เขมร.
กะโล่ภาชนะสานคล้ายกระด้ง แต่ก้นลึกกว่ากระด้ง มีหลายขนาด แต่ชนิดที่ทาชันเพื่อไม่ให้นํ้ารั่วออก สำหรับหมักขี้ไต้หรือยาเส้นนั้น มีขนาดใหญ่กว่ากระด้งมาก มักเรียกว่า กะโล่มอญ หรือ กระด้งมอญ
กุหลาบ(-หฺลาบ) น. ชื่อไม้พุ่มในสกุล Rosa วงศ์ Rosaceae ต้นตรงหรือทอดเลื้อย ลำต้นและกิ่งมีหนาม ขอบใบจัก ดอกสีต่าง ๆ กลิ่นหอม มีมากชนิดและมากพันธุ์ เรียกชื่อต่าง ๆ กัน ดอกของกุหลาบบางชนิด เช่น กุหลาบมอญหรือยี่สุ่น ( R. damascena Mill.) ใช้กลั่นนํ้าหอม.
ขมุ(ขะหฺมุ) น. ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่งในตระกูลมอญ−เขมร.
ข่า ๑น. คนชาวเขาจำพวกหนึ่ง แบ่งออกเป็น ๒ พวก พวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลมอญ−เขมร เช่น ข่าอัตตะปือ ข่าตองเหลือง และอีกพวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลอินโดนีเซียน ได้แก่ ข่าระแด และ ข่าจะราย.
เขมร ๑(ขะเหฺมน) น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย ลาว และเวียดนาม มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้ เรียกว่า อักษรขอม.
ชองน. ชื่อชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร มีมากทางตอนเหนือของจังหวัดจันทบุรี, เรียกตัวเองว่า สำเร หรือ ตำเหรด, เขมรเรียกว่า ปอร์.
ตะนาว ๒น. คำนำหน้าชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น เช่น ตะนาวแปลง ตะนาวมอญ
ตะเลงน. มอญ.
เถาเพลงซึ่งบรรเลงด้วยวงดนตรีไทย ใน ๑ เพลงมีอัตราลดหลั่นเรียงลงไปเป็นลำดับเป็นอัตรา ๓ ชั้น อัตรา ๒ ชั้น และอัตราชั้นเดียว หรืออัตรา ๒ ชั้น อัตราชั้นเดียว และอัตราครึ่งชั้น มีความสัมพันธ์โดยทำนองหลัก ลูกฆ้องลงจังหวะเป็นเสียงเดียวกัน และบรรเลงติดต่อกันไปจนจบ เช่น เพลงแขกมอญ เถา.
ทวาย ๒(ทะ-) น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงมอญ มี ๒ แบบ คือ ทวายเต็ม และที่ตัดลงจากทวายเต็ม เรียกว่า ทวายตัด.
เปิงมางคอกน. ชุดกลองเปิงมางจำนวน ๗ ลูก เทียบเสียงสูงต่ำแขวนเรียงไว้ในคอก ใช้ในวงปี่พาทย์มอญ เพื่อตีรัวนำก่อนเมื่อขึ้นต้นบรรเลงปี่พาทย์มอญตีขัดสอดประสานกับตะโพนมอญ.
พญาแปรน. ชื่อเพลงไทยสำเนียงมอญ อัตรา ๒ ชั้น.
ภาษาคนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา (พงศ. ร. ๓)
เม็งน. ชื่อชนชาติโบราณอยู่ทางเหนือแหลมอินโดจีน นัยว่าเป็นบรรพบุรุษของมอญ.
รามัญน. มอญ.
รามัญนิกายน. ชื่อพระสงฆ์นิกายหนึ่งซึ่งสืบสายมาจากพระสงฆ์มอญ.
ละว้อ, ละว้า ๑น. คนชาวเขาตอนเหนือประเทศไทยพวกหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร.
สมิงตำแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ฝ่ายมอญ.
ส่วย ๒น. ชนชาติพูดภาษาตระกูลมอญ–เขมรพวกหนึ่ง อยู่ทางภาคอีสาน.
สะบ้าน. ชื่อไม้เถาชนิด Entada rheediiSpreng. ในวงศ์ Leguminosae ฝักมีเมล็ดกลมแบนแข็ง เรียกว่า ลูกสะบ้า ใช้ขัดสมุดไทยและทำยาได้, สะบ้ามอญ ก็เรียก
แสก ๓น. เรียกชนชาติหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร.

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Kui language (Mon-khmer)ภาษากูย (มอญ-เขมร) [TU Subject Heading]
Mon (Southeast Asian people)ชาวมอญ [TU Subject Heading]
Mon languageภาษามอญ [TU Subject Heading]
Mon-Khmer languageภาษามอญ-เขมร [TU Subject Heading]
Okra ; Abelmoschus esculentusกระเจี๊ยบมอญ [TU Subject Heading]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
กระด้งมอญ[kradong møn] (n) EN: large rice winnowing basket
มอญ[Møn] (n, prop) EN: Mon Language
มอญ[Møn] (n, prop) EN: Mon ; Peguan
มอญตีดั้ง[møntīdang] (n) EN: kind of fire work which skips on the water

Hope Dictionary
austroasiatic(ออสโทรเอซีแอท'ทิค) n. ภาษาตระกูลหนึ่งในอาเซียอาคเนย์ ประกอบด้วยภาษาญวน เขมรและมอญ (a familuy of languages)
mon-khmer(มอน'ขเมอ) adj., n. (กลุ่ม) เกี่ยวกับภาษามอญ ขอม พม่าและภาษาเขมร.

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
-kuy-[[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด
kuy(n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด
talaing(n) คำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ" แต่พม่าเรียก"มอญ"ว่า ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า Talingana อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย, Syn. Mon

Time: 0.0634 seconds, cache age: 3.232 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/