66 ผลลัพธ์ สำหรับ *มรรค*
หรือค้นหา: มรรค, -มรรค-

Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฌาณ(n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
อริยมรรค(n) four paths of saintship in Buddhism, See also: excellent path, Thai Definition: ชื่อโลกุตรธรรมในพระพุทธศาสนามี 4 ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, Notes: (บาลี)
อริยมรรค(n) noble path (which has eight factors or eightfold noble path), See also: sublime paths of the holy life, Syn. พระอริยมรรค, Example: คนที่ต้องการดับทุกข์จึงได้เดินตามทางแห่งพระอริยมรรค, Thai Definition: ทางอันประเสริฐอันเป็นทางแห่งความดับทุกข์ มีองค์ 8 มี สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ เป็นต้น, ทางดำเนินของพระอริยะ
อรหัตมรรค(n) path of Arhatship, Example: พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญอรหัตมรรค, Thai Definition: ทางปฏิบัติเพื่อบรรลุพระอรหัต

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กถามรรค(-มัก) น. ลาดเลาแห่งกถา ได้แก่เรื่องที่แต่งตามอัตโนมัติของผู้แต่งว่าด้วยธรรมนั้น ๆ.
กถามรรคเทศนา(-มักคะเทดสะหฺนา) น. เทศนาฝ่ายกถามรรค, คู่กับ สุตตันตเทศนา.
มรรค, มรรค-, มรรค(มัก, มักคะ-, มันคา) น. ทาง
มรรค, มรรค-, มรรคเหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล
มรรค, มรรค-, มรรคในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง.
มรรคนายก(มักคะนายก) น. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือ ผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด.
มรรคผลน. ผล, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่เป็นมรรคผล ไม่ได้มรรคผลอะไร.
วัจมรรคน. ทวารหนัก, เวจมรรค ก็เรียก.
เวจมรรคน. ทวารหนัก, วัจมรรค ก็เรียก.
สกทาคามิมรรค, สกิทาคามิมรรค(-มัก) น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระสกทาคามี. (ส. สกฤทาคามินฺ + มารฺค; ป. สกทาคามิมคฺค, สกิทาคามิมคฺค). (ดู มรรค).
โสดาปัตติมรรค(-ปัดติมัก) น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระโสดาบัน.
อนาคามิมรรคน. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระอนาคามี. (ส. อนาคามินฺ + มารฺค; ป. อนาคามิมคฺค). (ดู มรรค).
อรหัตมรรคน. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระอรหันต์. (ส. อรฺหตฺตฺว + มารฺค; ป. อรหตฺตมคฺค). (ดู มรรค).
อริยมรรคน. ทางอันประเสริฐอันเป็นทางแห่งความดับทุกข์ มีองค์ ๘ มี สัมมาทิฐิ (ความเห็นชอบ) เป็นต้น, ทางสายกลาง ก็เรียก, ทางดำเนินของพระอริยะ
อริยมรรคชื่อโลกุตรธรรมในพระพุทธศาสนา มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, คู่กับ อริยผล.
อัฏฐังคิกมรรค(อัดถังคิกะมัก) น. มรรคประกอบด้วยองค์ ๘.
อัฏฐังคิกมรรคดู อัฏฐ-, อัฏฐะ.
อัษฎางคิกมรรค(อัดสะดางคิกะมัก) น. ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ตามหลักพระพุทธ-ศาสนา ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ เรียกว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง.
อัษฎางคิกมรรคดู อัษฎ-.
อุจจารมรรค(อุดจาระมัก) น. ทวารหนัก.
(คอ) พยัญชนะตัวที่ ๔ เรียกว่า คอ ควาย เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
โคตรภู(โคดตฺระพู) น. บุคคลผู้ตั้งอยู่ในญาณซึ่งเป็นลำดับอริยมรรค, พระสงฆ์ที่ไม่เคร่งครัดในศาสนา มีขนบธรรมเนียมห่างจากธรรมวินัย แต่ยังถือตนว่าเป็นภิกษุสงฆ์อยู่ เรียกว่า โคตรภูสงฆ์.
โคตรภูญาณ(โคดตฺระพูยาน) น. ปัญญาที่อยู่ในลำดับอริยมรรค.
จตุราริยสัจ(จะตุราริยะสัด) น. อริยสัจ ๔ ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.
ฉวาง(ฉะหฺวาง) ก. ขวาง เช่น อันว่าพยัคฆราช อันฉวางมรรคาพระมัทรี (ม. คำหลวง มัทรี).
ตระง่อง(ตฺระหฺง่อง) ก. จ้อง, คอยดู, เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.
ตระหง่อง, ตระหน่อง(ตฺระ-) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา (ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.
ตราบ(ตฺราบ) น. ข้าง, ฟาก, ริม, เช่น สองตราบจับสูล จำรูลจับศักดิ์ สภักผ้าเกราะผ้ากราย (ม. คำหลวง มหาราช), ไกวกนนแสงแคลงยยาบ สองตราบข้างมรรคา (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ทางสายกลางน. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(ทุกขะนิโรทะคามินีปะติปะทา) น. ทางแห่งความดับทุกข์, มรรค ก็เรียก.
ทูร-(ทูระ-) ว. คำประกอบหน้าคำศัพท์ หมายความว่า ไกล เช่น ทูรบถ ทูรมรรคา ว่า ทางยาว, ทางไกล.
ธรรมาภิสมัย(ทำมา-) น. การตรัสรู้ธรรม, การสำเร็จมรรคผล.
นายประเพณีน. หัวหน้ารักษาประโยชน์ของวัดและบำรุงวัดได้บังคับว่ากล่าวทั่วไป (ทำนองมรรคนายก).
บรรลุ(บัน-) ก. ลุ, ถึง, สำเร็จ, เช่น บรรลุมรรคผล, ประลุ ก็ว่า.
ผลในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติผล สกิทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล, คู่กับ มรรค
มัค-, มัคคะ(มักคะ-) น. ทาง. (ดู มรรค).
มีก. ถือเป็นเจ้าของ, อยู่ในครอบครอง, เช่น มีเงิน มีลูก, ประกอบด้วย เช่น อริยสัจ ๔ มี ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค, ปรากฏ เช่น มีดาวหางขึ้นในท้องฟ้า, เกิด เช่น มีโรคระบาด, คงอยู่ เช่น มีคนอยู่ไหม.
โลกุตรธรรม(โลกุดตะระทำ) น. ธรรมที่พ้นวิสัยของโลก มี ๙ คือ มรรค ๔ (คือ โสดาปัตติมรรค สกิทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค) ผล ๔ (คือ โสดาปัตติผล สกิทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล) และนิพพาน ๑.
องค-, องค์ส่วนย่อยที่เป็นองค์ประกอบ เช่น มรรคมีองค์ ๘
อริย-, อริยะ(อะริยะ-) น. ในพระพุทธศาสนา เรียกบุคคลผู้บรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปัตติมรรคเป็นต้น ว่า พระอริยะ หรือ พระอริยบุคคล.
อริยบุคคลน. บุคคลผู้บรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปัตติมรรคเป็นต้น.
อริยผลน. ชื่อโลกุตรธรรมในพระพุทธศาสนา มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล, คู่กับ อริยมรรค.
อริยสัจชื่อธรรมสำคัญหมวดหนึ่งในพระพุทธศาสนา มี ๔ ข้อ คือ ๑. ทุกข์ ๒. ทุกขสมุทัย (เหตุให้เกิดทุกข์) ๓. ทุกขนิโรธ (ความดับทุกข์) และ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา หรือ มรรค (ทางแห่งความดับทุกข์).
อุตริมนุสธรรม(-มะนุดสะทำ) น. คุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ ได้แก่ธรรมวิเศษมีการสำเร็จฌาน สำเร็จมรรคผลเป็นต้น.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
sodomyการร่วมเพศทางทวารหนัก, การสมสู่วัจมรรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Eightfold Pathมรรค 8 [TU Subject Heading]
Patsambhidamaggaปฏิสัมภิทามรรค [TU Subject Heading]
Visuddhimaggaวิสุทธิมรรค [TU Subject Heading]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
He's an old bugger down there. เขาเป็นคนเสพเวจมรรคเก่าลงไปที่นั่น Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984)
But, oh, he was a persistent little bugger for a two-cylinder. แต่โอ้เขาเป็นคนเสพเวจมรรค ถาวรน้อยสำหรับสองกระบอก Cars (2006)
Because it didn't work out with what's-her-name? เพราะมันไม่ได้เกิดมรรคผลอะไรขึ้นมาเลย? Nights in Rodanthe (2008)
Bugger. คนเสพเวจมรรค. One Chance (2013)
Bugger me with a didgeridoo. คนเสพเวจมรรคฉันด้วยดิดเจอริ Anchorman 2: The Legend Continues (2013)
Because listening to you will work out so much better. เพราะเลือกเชื่อคุณ จะเกิดมรรคผลดีกว่างั้นสิ The Queen Is Dead (2013)
Bugger! คนเสพเวจมรรค! Chappie (2015)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อรหัตมรรค[arahattamak] (n) EN: path of Arhatship
มรรค[mak] (n) EN: way ; path ; course ; street ; road  FR: chemin [ m ] ; passage [ m ]
มรรค[mak] (n) EN: magga (pali) ; way to the cessation of suffering  FR: magga (pāli) ; voie de la cessation de la souffrance [ f ]
มรรค[mak] (n) EN: way ; path ; course ; street ; road  FR: chemin [ m ]
มรรคนายก[makkhanāyok] (n) EN: lay temple officiator
เวจมรรค[wetjmak] (n) EN: anus  FR: anus [ m ]
เวจมรรค[wetjamak] (n) EN: buggery ; sodomy   FR: sodomie [ f ]

Time: 0.0435 seconds, cache age: 7.478 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/