พลาดิศัย | ว. มีกำลังยิ่ง. |
พลั้งพลาด | (-พฺลาด) ก. ผิดพลาดไปโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, พลาดพลั้ง ก็ว่า. |
พลาด | (พฺลาด) ก. ไม่ตรงที่หมาย ในลักษณะเช่น เพลี่ยงไป เลี่ยงไป หรือไถลไป เช่น ยิงพลาด เหยียบบันไดพลาด |
พลาด | ผิดพลาด เพราะไม่รู้เท่าหรือเชื่อตัวเองเกินไปเป็นต้น เช่น ตอบพลาด. |
พลาดท่า | ก. เสียที, เสียรู้. |
พลาดพลั้ง | (-พฺลั้ง) ก. ผิดพลาดไปโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, พลั้งพลาด ก็ว่า. |
พลาดิศัย | ดู พล, พล-. |
เลเพลาดพาด | ว. กระจัดกระจายอยู่เกลื่อนกลาดอย่างยุ่งเหยิง ไม่เป็นระเบียบ ไม่เป็นที่เป็นทาง, เลอะเทอะ, เช่น นอนเลเพลาดพาด ทิ้งข้าวของไว้เลเพลาดพาด. |
กระแหย่ง | (-แหฺย่ง) ว. อาการปีนขึ้นอย่างพลั้ง ๆ พลาด ๆ. (แผลงมาจาก แขย่ง). |
เก้อ | ว. แสดงสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทำอะไรผิดพลาดไป เช่น ทำหน้าเก้อ, รู้สึกผิดคาดผิดหวัง เช่น ไปเก้อ คอยเก้อ, ผิดแผกไปจากผู้อื่นเขาหรือแต่งตัวรอจะไปงานแล้วไม่ได้ไป เช่น แต่งตัวเก้อ |
แก้เก้อ | ก. ทำหรือพูดกลบเกลื่อนความกระดากอายที่เกิดจากความพลั้งพลาดแล้วถูกจับได้. |
แก้ตัว | ก. พูดหรือทำเพื่อปลดเปลื้องความผิดหรือข้อผิดพลาดของตน. |
เข้าด้ายเข้าเข็ม | ว. จวนจะสำเร็จ ถ้าทำผิดพลาดหรือมีอะไรมาขัดจังหวะแม้เพียงเล็กน้อยก็เสียการ. |
ตกกระไดพลอยโจน | เมื่อพลาดไปแล้วก็ยอมเลยตามเลยเพื่อไม่ให้เสียเชิง. |
ตาฝาด | ว. เห็นผิดพลาดไป, เห็นคลาดเคลื่อนไปจากของเดิม. |
ไต่ไม้ลำเดียว | ก. กระทำการใด ๆ ตามลำพังตัวคนเดียวโดยไม่พึ่งพาอาศัยผู้อื่น อาจพลั้งพลาดได้. |
ถลากถลำ | ว. พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลำถลาก ก็ว่า. |
ถลำ | (ถะหฺลำ) ก. ล่วงเข้าไปหรือลงไปโดยพลั้งพลาด เช่น ถลำเข้าไปในแดนข้าศึก ถลำลงคู. |
ถลำตัว | ก. พลั้งพลาดไปจนยากที่จะหลุดพ้นออกมาได้ เช่น เขาถลำตัวเสพยาเสพติดจนถอนตัวไม่ขึ้น. |
ถลำถลาก | ว. พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลากถลำ ก็ว่า. |
ทะลุดทะลาด | ว. ถลำถลาก, พลั้ง ๆ พลาด ๆ, ไม่ระมัดระวัง. |
ท่า ๒ | ชั้นเชิง, ท่วงที, เช่น พลาดท่า ได้ท่า เสียท่า. |
ประคอง | ก. พยุงให้ทรงตัวอยู่ เช่น ประคองตัวเอง, ช่วยพยุงไม่ให้เซไม่ให้ล้มเป็นต้น เช่น ประคองคนเจ็บให้ลุก ประคองคนแก่เดิน, ระมัดระวังไม่ให้หกหรือพลั้งพลาด เช่น ประคองชามแกงให้ดี, โอบรัดเบา ๆ เช่น หนุ่มสาวเดินประคองกันไป |
ปากโป้ง | ก. ชอบพูดเปิดเผยสิ่งที่ไม่สมควรออกมาโดยไม่คำนึงถึงความผิดพลาดเสียหาย. |
ปิ๋ว ๑ | ชวด, พลาดจากที่หวัง, เช่น เขาปิ๋วเงินรางวัลก้อนใหญ่. |
ปีกหัก | ว. ที่ประสบความผิดหวังหรือพลาดพลั้งอย่างรุนแรงจนหมดกำลัง. |
เป่าฝุ่น | ก. หกล้มไม่มีท่า, พลาดพลั้งอย่างไม่เป็นท่า. |
โป้ง | ว. อาการที่พูดโพล่งออกมาโดยไม่ระมัดระวังปาก หรือพูดเปิดเผยสิ่งที่ไม่สมควรออกมาโดยไม่คำนึงถึงความผิดพลาดเสียหาย |
ผิดนัก | ถ้าพลาดไป เช่น ผิดนักก็แค่ตาย. |
เผง | ว. เสียงดังเช่นนั้น, โดยปริยายหมายความว่า แน่เทียว, ไม่ผิดพลาด, เช่น ตรงเผง ถูกเผง, เพะ ก็ว่า. |
พลั้ง | (พฺลั้ง) ก. พลาดโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ พลาด เป็น พลั้งพลาด หรือ พลาดพลั้ง. |
พลั้งเผลอ | (-เผฺลอ) ว. ผิดพลาดเพราะหลงลืมไปชั่วขณะ. |
พลัด | (พฺลัด) ก. พลาด หลุด หรือหล่นไปจากที่ใดที่หนึ่งโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น ของพลัดจากมือ เด็กพลัดจากต้นไม้ |
พลำ, พล้ำ | (พฺลำ, พฺลํ้า) ก. พลาดถลำ. |
เพลี่ยง | (เพฺลี่ยง) ก. เลี่ยง, หลีก, พลาด. |
เพลี่ยงพล้ำ | (-พฺล้ำ) ก. พลั้งพลาด, ผิดพลาด, เสียที. |
เพะ | ว. เผง, ไม่ผิดพลาด, เช่น ตรงเพะ ถูกเพะ. |
ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด | ก. ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อหรือทำผิด ๆ พลาด ๆ. |
ไม่ทัน | ว. ใช้ประกอบหน้ากริยาหมายความว่า ยังมิได้ตั้งตัวตั้งใจ ทำให้พลาดไป เช่น ไม่ทันฟัง ไม่ทันคิด, ใช้ประกอบหลังกริยาหมายความว่า ไม่มีความสามารถที่จะติดตามเรื่องได้ทัน เช่น ฟังไม่ทัน พูดไม่ทัน คิดไม่ทัน. |
เยาะ | ก. พูดหรือแสดงกิริยาให้เจ็บใจชํ้าใจ โดยย้ำถึงความเสียเปรียบ ความด้อยกว่า หรือความผิดพลาด เช่น เยาะว่า ไหนว่าเก่งนัก ทำไมสอบตก. |
โยพนมัท | (โยบพะนะมัด) น. ความมัวเมาในความเป็นคนหนุ่มสาว, ความพลาดพลั้งเพราะความมัวเมาในความเป็นหนุ่มสาว. |
ระมัดระวัง | ก. ดูแลให้ปลอดภัย, ดูแลอย่างรอบคอบไม่ให้พลั้งพลาด, เช่น ระมัดระวังให้ดีเวลาข้ามถนน ระมัดระวังเรื่องสายไฟฟ้ารั่วให้มาก. |
เร่งรีบ | ว. อาการที่เร็วขึ้นกว่าปรกติ เช่น ทำงานเร่งรีบอาจผิดพลาดได้, รีบเร่ง ก็ว่า. |
ลิงตกต้นไม้ | น. ผู้เชี่ยวชาญในวิชาใดก็ตามอาจพลาดพลั้งในวิชานั้นได้. |
ลูกหลง | ลูกปืนที่ค้างอยู่ในกระบอกปืนโดยหลงลืม, ลูกปืนหรือสิ่งอื่นที่พลาดไปถูกผู้อื่นซึ่งมิได้หมายไว้, โดยปริยายหมายถึงการที่ผู้ใดผู้หนึ่งพลอยได้รับเคราะห์หรืออันตรายจากการกระทำของผู้อื่นโดยผู้กระทำมิได้มีเจตนาเช่นนั้น เช่น กรรมการห้ามมวยถูกลูกหลงของนักมวยลงไปหมอบกับพื้นเวที. |
เลยตามเลย | ว. ตามแต่จะเป็นไปเพราะพลาดและล่วงเลยไปแล้ว เช่น เอาเงินเกินไปแล้วก็เลยตามเลย ไม่ขอคืน. |
เลอะเทอะ | ว. เปรอะเปื้อน เช่น ขุดดินมือเลอะเทอะ กินข้าวหกเลอะเทอะ, เลเพลาดพาด เช่น วางข้าวของไว้เลอะเทอะ, โดยปริยายหมายความว่า เลื่อนเปื้อน, เหลวไหล, ไม่ได้เรื่อง, เช่น คนเมาพูดจาเลอะเทอะ, โบราณใช้ว่า เลอะเพอะ ก็มี. |
เลินเล่อ | ว. อาการที่ขาดความระวังหรือไม่รอบคอบในสิ่งที่ควรกระทำ เช่น นาย ก ทำงานเลินเล่อ มีข้อผิดพลาดมาก. |
เลี้ยงตัว | อาการที่ประคองตัวให้ทรงอยู่บนสิ่งที่ล่อแหลมต่อการพลั้งพลาดหรือบางทีอาจเป็นอันตราย เช่น เลี้ยงตัวบนเส้นลวด. |
สติไม่ดี | หลง ๆ ลืม ๆ เช่น หมู่นี้สติไม่ดี ทำงานผิดพลาดบ่อย ๆ. |
Error messages (Computer science) | ข้อความระบุความผิดพลาด (คอมพิวเตอร์), Example: <strong>ข้อความระบุความผิดพลาด</strong> ซึ่งเป็นข้อความที่จะปรากฏขึ้นบนจอแสดงภาพโดยอัตโนมัติ หรือที่พิมพ์ออกมาทางรายงาน เพื่อเตือนให้ผู้ใช้งานทราบว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้น มีบางอย่างผิด จึงทำให้โปรแกรมไม่สามารถดำเนินการเสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยเหตุผลบางประการ ซึ่งข้อความดังกล่าวจะเป็นลักษณะข้อความไม่ยาวมาก เพียงพอสำหรับระบุว่าเกิดความผิดพลาดขึ้นที่ใด แต่ไม่ได้บอกว่าจะแก้ไขความผิดพลาดนั้นอย่างไร ดังนั้นประสบการณ์ในการทำงานจึงจำเป็นมากสำหรับค้นหาและแก้ไขความผิดพลาด ดังตัวอย่างต่อไปนี้</p> <li> <strong>400 - Bad File Request</strong><br /> ไวยากรณ์ (Syntax) ที่ใช้กับ URL นั้นมีข้อผิดพลาดเช่น มีการใส่ตัวอักษรเล็ก - ใหญ่สลับกัน หรืออาจจะมีการใช้เครื่องหมายต่างๆ ผิด</li> <p style="text-align: center"> <img alt="" height="221" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/phpcNs2FO" style="width: 454px; height: 221px" width="487" /></p> <li> <strong>403 - Forbidden/Access Denied</strong><br /> ผู้ใช้ไม่ได้รับอนุญาตให้ดูแฟ้มที่ร้องขอ การเข้าใช้งานต้องใช้รหัสผ่าน หรือโดเมนของผู้ใช้งานถูกปิดกั้นการใช้งาน หรือไฟล์อาจจะใช้ได้เฉพาะกับผู้ใช้ภายในเท่านั้น</li> <li> <strong>404 - File Not Found</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์ไม่สามารถหาไฟล์ที่คุณต้องการได้ ซึ่งไฟล์นั้นอาจจะถูกย้ายไปที่อื่นหรือถูกลบไปแล้ว หรือคุณอาจจะใส่ URL หรือชื่อเอกสารผิด ถ้าคุณเจอปัญหานี้ให้ลองตรวจสอบชื่อที่ใส่ใน URL ว่าถูกต้องหรือไม่</li> <li> <strong>408 Request Timeout</strong><br /> ข้อผิดพลาดนี้เกิดจากการหยุดโหลดเว็บเพจก่อนที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลสำเร็จ ซึ่งอาจจะเกิดจากผู้ใช้ไปคลิกปุ่ม stop หรือปิดบราวเซอร์ หรือไปคลิกลิงค์ก่อนที่เว็บเพจนั้นจะโหลดขึ้นมา โดยมากมักจะเกิดตอนที่เซิร์ฟเวอร์ช้าหรือไฟล์มีขนาดใหญ่</li> <li> <strong>500 - Internal Error</strong><br /> ไม่สามารถเรียกไฟล์เอกสาร HTML ได้เนื่องจากอาจมีปัญหาการตั้งค่าเซิร์ฟเวอร์ วิธีแก้ไขคือ ให้คุณติดต่อผู้ที่ดูแลเว็บไซต์ (Administrator)</li> <li> <strong>501 - Not Implemented</strong><br /> เว็บเซิร์ฟเวอร์นั้นไม่รองรับรูปแบบ (Feature) ที่คุณต้องการ</li> <li> <strong>502 - Service Temporarily Overloaded</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์นั้นมีผู้เข้ามาใช้งานมาก ให้ลองโหลดใหม่ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้</li> <li> <strong>503 - Service Unavailable</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์นั้นมีผู้เข้ามาใช้งานมาก หรือเว็บไซต์นั้นอาจจะย้ายไปแล้ว หรือคุณไม่ได้เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตแล้ว</li> <li> <strong>Connection Refused by Host</strong><br /> อาจจะเกิดจากคุณไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้งานเว็บไซต นั้นหรือใส่พาสเวิร์ดไม่ถูกต้อง</li></p> อ้างอิงจาก : </br> ครรชิต มาลัยวงศ์. (2543). พจนานุกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.</br> คูคิน, แดน และ วัง, วอลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก (ชนินทร์ เชาวมิตร, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Error control coding | รหัสแก้ไขความผิดพลาด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Error message (Computer science) | ข้อความระบุความผิดพลาด (คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์] |
Spontaneous mutations | การกลายพันธุ์เกิดเอง, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิต ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แสงแดด อุณหภูมิ หรือเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการสร้างและซ่อมแซมดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตนั้น [นิวเคลียร์] |
Sealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งปิดผนึกอย่างถาวรในปลอกหุ้ม หรือห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตภาพรังสีในสภาวะการใช้งานปกติ รวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ [นิวเคลียร์] |
syntax error | ผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์] |
Potential exposure | การรับรังสีไม่คาดหมาย, การรับรังสีเชิงศักย์, การรับรังสีที่ไม่ได้คาดไว้ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากการดำเนินงานตามปกติ เช่น เกิดจากอุบัติเหตุของต้นกำเนิดรังสี เครื่องมือชำรุดเสียหาย หรือเกิดความผิดพลาดในการดำเนินงาน การรับรังสีนี้ สามารถวิเคราะห์ ประเมิน และกำหนดแนวทางป้องกัน เพื่อลดโอกาสการรับรังสี [นิวเคลียร์] |
Nuclear accident | อุบัติเหตุนิวเคลียร์, เหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นในโรงงานนิวเคลียร์โดยไม่เจตนา รวมถึงความผิดพลาดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมทางนิวเคลียร์ หรือของอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบความปลอดภัย ทำให้มีการปลดปล่อย หรือ เกือบมีการปลดปล่อยสารกัมมันตรังสี ออกสู่สิ่งแวดล้อม (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
error | ความผิดพลาด [คอมพิวเตอร์] |
error message | ข้อความระบุความผิดพลาด [คอมพิวเตอร์] |
Compensation for judicial error | ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] |
Error-correcting codes (Information theory) | รหัสแก้ความผิดพลาด (ทฤษฎีข่าวสาร) [TU Subject Heading] |
Errors, Sceintific | ความผิดพลาดเชิงวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Judicial error | ความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] |
Medical errors | ความผิดพลาดทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Cluster munitions | ระเบิดพวง เป็นลูกระเบิดชนิดที่ปล่อยจากเครื่องบินหรือลูกกระสุน ปืนใหญ่ที่ภายในบรรจุลูกระเบิดขนาดเล็ก (submunition) ไว้จำนวนมาก อาจมีจำนวนถึงหลายร้อยลูก ซึ่งจะระเบิดกลางอากาศและปล่อยลูกระเบิดขนาดเล็ก และสะเก็ดระเบิดกระจายเป็นวงกว้าง มีอัตราความคลาดเคลื่อนผิดพลาดจากเป้าหมายสูงและบางครั้งอาจไม่ระเบิดใน ทันที และตกค้างบนพื้นดิน ซึ่งมีผลทำลายล้างเหมือนกับทุ่นระเบิด [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
sealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งถูกปิดผนึกอย่างถาวรในปลอกหุ้ม หรือถูกห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มต้องมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตรังสี ภายใต้สภาวะการใช้งานปกติรวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ [พลังงาน] |
Error | ข้อผิดพลาด [การบัญชี] |
Write off | แก้ไขข้อผิดพลาดรายการบัญชี, ตัดออก [การบัญชี] |
Internal mixer | เครื่องผสมยางระบบปิดเป็นเครื่องผสมยางที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน เครื่องผสมยางระบบปิดมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วนได้แก่ ห้องผสม (chamber) ตัวบดผสม (rotor) แท่งกด (ram) และระบบหล่อเย็น (cooling system) เครื่องผสมระบบปิดให้ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการผสมมากกว่าการใช้ Two-roll mill เพราะสารเคมีไม่ฟุ้งกระจายระหว่างการผสม ลดการสูญเสียสารเคมีขณะผสม และลดการผิดพลาดเนื่องจากการใช้แรงงานคนในการผสมสามารถผสมยางกับสารเคมีได้ ในปริมาณสูง เช่น 50-100 กิโลกรัม [เทคโนโลยียาง] |
Masterbatch | ของผสมระหว่างยางและสารเคมีต่างๆ ที่รู้ปริมาณที่แน่นอนผสมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในการเตรียมการผสมขั้นตอนสุดท้ายในการผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ มาสเตอร์แบทซ์อาจจะใช้เพื่อความสะดวกในการผลิตหรือเพื่อเพิ่มสมบัติของ ผลิตภัณฑ์หรือทั้งสองอย่าง เช่น ใช้ในกรณีที่สารเคมีกระจายในยางได้ไม่ดี หรือในกรณีที่มีการใช้สารเคมีนั้นน้อยมาก อาจจะก่อให้เกิดการผิดพลาดได้ง่าย ถ้าสารเคมีฟุ้งกระจายหายไป [เทคโนโลยียาง] |
Dyschondroplasias | การเจริญเติบโตของกระดูกอ่อนอย่างผิดพลาดดีสคอนโดรเพลเซีย [การแพทย์] |
Error Control | การควบคุมภาวะผิดพลาด [การแพทย์] |
Errors | ความคลาดเคลื่อน, ความคลาดเคลื่อน, ข้อผิดพลาด, ค่าผิดพลาด, ความผิดพลาด [การแพทย์] |
Errors of Techniques | ข้อผิดพลาดเนื่องจากเทคนิคการใช้ [การแพทย์] |
Errors, Allowable | ข้อผิดพลาดที่ยอมได้ [การแพทย์] |
Errors, Analytical | ความคลาดเคลื่อนของเทคนิควิเคราะห์, ความผิดพลาดขณะตรวจวัด [การแพทย์] |
Errors, Counting | ความผิดพลาดเนื่องจากการวัดปริมาณ [การแพทย์] |
Errors, Experimental | ความคลาดเคลื่อนจากการทดลอง, ความผิดพลาดเนื่องจากการปฎิบัติ [การแพทย์] |
Errors, Human | ความผิดพลาดซึ่งเกิดจากผู้ปฏิบัติ [การแพทย์] |
Errors, Indeterminate | ความผิดพลาดแบบสุ่ม [การแพทย์] |
Errors, Instrument | ความผิดพลาดจากเครื่องมือที่ใช้วัด [การแพทย์] |
Errors, Maximum Potential | ความผิดพลาดที่จะเป็นไปได้สูงสุด [การแพทย์] |
Errors, Personal | แต่ละคนมีข้อผิดพลาดในการวัดเอง [การแพทย์] |
Errors, Postanalytical | ความผิดพลาดหลังการตรวจวัด [การแพทย์] |
Errors, Preanalytical | ผิดพลาดก่อนการตรวจวัด [การแพทย์] |
Errors, Random | การตรวจสุ่มหาข้อผิดพลาด, ความผิดพลาดที่เกิดจากความบังเอิญ, ข้อผิดพลาดแบบสุ่ม, ความผิดพลาดแบบสุ่ม, ความคลาดเคลื่อนที่เกิดเป็นครั้งคราว [การแพทย์] |
Errors, Systematic | ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเป็นประจำในเทคนิควิเคราะห์, ความผิดพลาดที่เกิดจากอคติข้อผิดพลาดแบบระบบ [การแพทย์] |
Errors, Systemic | ความผิดพลาดแบบเป็นระบบ [การแพทย์] |
Extrapolation | การคาดเหตุการณ์ข้างหน้า, คาดคิดเกินไป, การขยายความ, ความผิดพลาดในการคำนวณ [การแพทย์] |
Failure, User | ความผิดพลาดในการคุมกำเนิด [การแพทย์] |
Faults, Instrumental | ความบกพร่องหรือความผิดพลาดของอุปกรณ์ [การแพทย์] |
collision | การชนกัน, การชน, 1. คอมพิวเตอร์ : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่ายที่มีการส่งข้อมูลในจังหวะเวลาและช่องทางเดียวกัน พร้อมกัน ทำให้การรับข้อมูลนั้นมีการตีความผิดพลาด 2. ฟิสิกส์ : การกระทำต่อกันและกันระหว่างวัตถุ อะตอม หรือโมเลกุล เมื่อเคลื่อนที่เข้าใกล้กันหรือกระทบกันในช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
precision | ความเที่ยง, ความละเอียดถูกต้องแน่นอนของการวัด หรือความเที่ยงของค่าประมาณการทำงานของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ วัดได้จากความผิดพลาดของการวัดหรือการทำงานของอุปกรณ์ เครื่องมือนั้น ๆ ถ้าความผิดพลาดมีมาก ความเที่ยงจะต่ำแต่ถ้าความผิดพลาดมีน้อย ความเที่ยงจะสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
modem | โมเด็ม, อุปกรณ์ช่วยในการแปลงสัญญาณดิจิทัลจากคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งออกไปเป็นสัญญาณแอนะล็อก จากนั้นจะแปลงกลับเป็นสัญญาณดิจิทัลเมื่อสัญญาณถูกส่งถึงผู้รับ โดยใช้เทคนิคการบีบอัดข้อมูลร่วมกับการแก้ไขข้อผิดพลาดของข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นจากการส่งสัญญาณด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
parity bit | บิตพาริตี, บิตข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทาง หรือสายที่ควบคุมการโต้ตอบ เพื่อควบคุมจังหวะของการรับ-ส่งข้อมูลแต่ละชุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
System Development Life Cycle (SDLC) | วงชีพของการพัฒนาระบบ, ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย การวางแผน การวิเคราะห์ระบบงาน การออกแบบระบบงานใหม่ การพัฒนาโปรแกรม การนำไปใช้งาน และการปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Logical Fallacies | ความผิดพลาดทางตรรกศาสตร์ [การแพทย์] |
Malformations | รูปร่างผิดปกติ, พิการ, เด็กที่คลอดออกมาผิดปกติ, ความพิการ, การสร้างที่ผิดพลาด, ความผิดปกติมาแต่กำเนิด [การแพทย์] |
accuracy | (n) ความระมัดระวัง, See also: ความสามารถที่จะหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาด |
accurate | (adj) ถูกต้อง, See also: แน่นอน, แม่นยำ, ไร้ข้อผิดพลาด, Syn. correct, precise |
admonition | (n) การตักเตือน, See also: การท้วงติง, การเตือนให้ระวังข้อผิดพลาด |
awry | (adj) ผิดพลาด, See also: ผิด, ซึ่งไม่เป็นไปตามที่คาด, Syn. wrong, amiss, astray |
backslide | (vt) ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังพยายามเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม, Syn. relapse |
balls up | (vt) ทำให้ล้มเหลวเพราะทำพลาดหรือผิดกฎ |
balls-up | (n) ความล้มเหลวเพราะทำพลาดหรือผิดกฎ, Syn. foul-up, cock-up |
bloomer | (n) ความผิดพลาด |
blow | (vt) พลาดโอกาส (คำสแลง) |
blunder | (n) การทำผิดพลาดอย่างร้ายแรงเนื่องจากความสะเพร่า, Syn. gaffe |
boggle | (vt) ทำผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ, See also: ทำให้เสียหาย |
botch | (vt) ทำผิดพลาด, Syn. bungle |
bug | (n) ความบกพร่อง, See also: ข้อผิดพลาด, จุดด่างพร้อย, Syn. defect |
bumbling | (adj) ซึ่งทำผิดพลาด |
bungle | (n) พลาด, See also: งุ่มง่าม, เสียที, Syn. error, Ant. correctness |
be down on | (phrv) หาข้อผิดพลาดได้เร็ว, See also: จับผิดได้เร็ว |
be on the blink | (idm) ทำงานล้มเหลว, See also: ทำผิดพลาด, ทำงานไม่ได้ผล, ไม่สำเร็จ, Syn. go on |
be out | (phrv) ทำผิดพลาด, See also: คิดผิด, ทำผิด, Syn. throw out |
be out in | (phrv) ทำผิดพลาด, See also: ทำผิด, Syn. throw out |
blunder away | (phrv) สูญเสียเพราะทำผิดพลาด |
carp | (vt) บ่นถึงข้อผิดพลาด, See also: จับผิดและบ่นถึงข้อผิดพลาด, Syn. cavil, find fault, criticize |
caveat | (n) คำเตือนเพื่อให้พิจารณาก่อนทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะได้ไม่ผิดพลาด, Syn. warning, alert, caution |
cavil | (vi) หาข้อผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ, See also: พยายามจับผิด, Syn. carp, quibble |
caviling | (adj) ที่หาข้อผิดพลาด, See also: ที่พยายามจับผิด |
censorious | (adj) ที่พยายามมองหาข้อผิดพลาดอยู่เสมอ, Syn. faultfinding, carping |
clinker | (n) ข้อผิดพลาด (คำสแลง), Syn. mistake, error |
connivance | (vi) การมองข้ามความผิดพลาด |
connive | (adj) มองข้ามความผิดพลาด |
correct | (adj) ถูกต้อง, See also: ไม่มีผิดพลาด, แม่นยำ, Syn. right |
corrigendum | (n) ข้อผิดพลาดที่ต้องแก้ไข, Syn. error, mistake |
crab | (vi) หาข้อผิดพลาด, Syn. criticize |
confuse with | (phrv) ทำให้ผิดพลาดกับ, See also: ทำให้เข้าใจผิดกับ, Syn. mistake for, take for |
crop up | (phrv) ทำผิดพลาด (คำไม่เป็นทางการ) |
dead | (adj) ซึ่งไม่มีผิดพลาด, See also: ซึ่งไม่พลาด, ซึ่งแม่นยำ, Syn. accurate, sure |
defect | (n) ข้อบกพร่อง, See also: จุดอ่อน, จุดผิดพลาด, มลทิน, ปมด้อย, ข้อตำหนิ, Syn. flaw, blemish, deficiency, Ant. adequate, strength |
delusion | (n) การเข้าใจผิด, See also: ความผิดพลาด, ความเชื่อที่ผิด, Syn. error, illusion, misconception, Ant. truism, fact, certainty |
demerit | (n) ความผิดพลาด, Syn. record, smear, smirch, stain, taint, Ant. accolate, credit, honor |
disabled | (vt) ทำให้หายเข้าใจผิด, See also: ช่วยแก้ไขข้อผิดพลาด, Syn. undeceive, clarify |
editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, See also: เกี่ยวกับการแก้ไขข้อผิดพลาด |
err | (vi) ทำผิด, See also: ทำผิดพลาด |
error | (n) ข้อผิดพลาด, See also: ความผิดพลาด, Syn. fault, mistake, oversight |
extenuate | (vt) ลดน้อยลง (ความผิด, ข้อผิดพลาด), See also: บรรเทาเบาบาง, Syn. diminish, lessen, reduce |
fail | (vi) ล้มเหลว, See also: ประสบความล้มเหลว, เพลี่ยงพล้ำ, ผิดพลาด, เหลว, ไม่ผ่านการพิจารณา, เจ๊ง, พัง, เสีย, ตก, ไม่ได้ผล, Syn. unsuccess |
fail-safe | (adj) ที่ติดตั้งด้วยอุปกรณ์ป้องกันภัย, See also: การรับประกันว่าไม่มีข้อผิดพลาด |
fallacious | (adj) ซึ่งคิดไม่ถูกต้อง, See also: ซึ่งผิดพลาด, Syn. erroneous, misleading |
fallibility | (n) ความผิดพลาด, Syn. imperfection, unrealiability |
fallible | (adj) ซึ่งผิดพลาดกันได้, See also: ซึ่งทำผิดกันได้, Ant. infallible |
falsify | (vt) แสดงให้เห็นว่าไม่จริง, See also: ทำให้ผิดพลาด, ทำให้ไม่ถูกต้อง, บิดเบือน, Syn. distort, counterfeit, misrepresent |
fault | (n) ข้อผิดพลาด, See also: ข้อบกพร่อง, ข้อเสียหาย, รอยตำหนิ, Syn. error, mistake, defect, flaw, Ant. virtue |
faultily | (adv) อย่างผิดพลาด, See also: อย่างบกพร่อง, อย่างเสียหาย, Syn. badly, incompletely |
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
blob | (บลอบ) n. หยด, หยดสี, รอยเปื้อน, ก้อนกลุ่ม, กอง, ความผิดพลาด vt. หยด, ใส่ลงหยดหนึ่ง, ทำให้เปื้อน, Syn. globule |
blooey | (บลู'อี) adj. ติดขัด, มีข้อเสีย, ผิดพลาด |
blooie | (บลู'อี) adj. ติดขัด, มีข้อเสีย, ผิดพลาด |
blunder | (บลัน'เดอะ) { blundered, blundering, blunders } n. ความผิดพลาด -v. ทำผิดพลาด, เดินเซ่อ, งุ่มง่าม, ซุ่มซ่าม, พูดออกมาอย่างโง่, แพร่งพรายออกมา, See also: blunderer n. ดูblunder blunderful adj. ดูblunder blundering บลัน'เดอริง adj. ซึ่งทำผิดพลาดได้ง่ |
bobble { bobbled | n. การกระโดดขึ้นลง, ความผิดพลาด vt. เสียลูก vi. กระโดดขึ้นลง, รับพลาด, เตะพลาด |
bobbles } | n. การกระโดดขึ้นลง, ความผิดพลาด vt. เสียลูก vi. กระโดดขึ้นลง, รับพลาด, เตะพลาด |
bobbling | n. การกระโดดขึ้นลง, ความผิดพลาด vt. เสียลูก vi. กระโดดขึ้นลง, รับพลาด, เตะพลาด |
bug | (บัก) { bugged, bugging, bugs } n. แมลง, เชื้อจุลินทรีย์, ความบกพร่อง, แฟน, คนคลั่ง, เครื่องดักฟัง, ความคลั่ง, เหยื่อตกปลาที่คล้ายแมลง vt. รบกวน, ติดตั้งเครื่องดักฟังในที่ลับ, Syn. fault, defect จุดบกพร่องหมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นกับโปรแกรมอันเนื่องมาจากคำสั่งในโปรแกรมนั้นเอง ซึ่งทำให้การทำงานของโปรแกรมไม่ถูกต้อง มีข้อผิดพลาด หรือไม่ราบรื่นเท่าที่ควร นอกจากปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมแล้ว อาจเป็นปัญหาเกี่ยวกับตัวเครื่องก็ได้ คำนี้มาจากคำ bug ที่แปลว่า ตัวด้วง ตัวแมลง ที่ชอบทำให้คอมพิวเตอร์สมัยก่อนเสีย เกิดการลัดวงจรขึ้น การแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรม จึงใช้คำว่า "debug" |
certain | (เซอ'เทิน) adj. แน่ใจ, แน่นอน, ไม่มีพลาด, บ้าง, See also: certainly adv. -Conf. sure |
check bit | บิตตรวจสอบบิตที่เพิ่มเข้าไปในข้อมูล ใช้เมื่อจะตรวจสอบเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการส่งข้อมูล |
chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
clinker | (คลิง'เคอะ) n. อิฐแข็งเย็น, ของชั้นหนึ่ง, คนที่ชนแก้วกัน, สิ่งที่กระทบดังกริ๊ง, ความผิดพลาด, Syn. mistake |
cold start | เปิดเครื่อง (คอมพิวเตอร์) การเริ่มต้นระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ทั้งหมด โดยเปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่อง การเริ่มต้นเช่นนี้เป็นการเริ่มต้นครั้งแรกหรือเริ่มต้นใหม่เนื่องจากบางครั้ง ขณะที่ใช้อยู่ เกิดข้อผิดพลาดบางประการเกี่ยวกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จนทำให้ไม่สามารถประมวลผลต่อไปได้ จึงต้องใช้วิธีปิดสวิตช์ แล้วเริ่มต้นใหม่ดู warm start เปรียบเทียบ |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computerize | (-พิว'ทะไรซ) vt. คำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, See also: computerization n. ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง งานต่าง ๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วย แทนที่จะทำด้วยมือ Manual ซึ่งจะให้ผลที่รวดเร็ว แน่นอน และมีความผิดพลาดน้อย ตัวอย่างเช่นการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ย่อมจะสู้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ไม่ได้ เพราะเร็วกว่า แก้ไขง่ายกว่า เก็บบันทึกไว้ใช้ใหม่ก็ได้ เป็นต้น |
crc | (ซีอาร์ซี) ย่อมาจากคำ cyclic redundancy check หมายถึง เทคนิคการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดในการบันทึกหรือถ่ายทอดข้อมูล มักจะใช้วิธีการวนทำซ้ำ เพื่อทบทวนดูความแม่นตรง ถ้ามีที่ผิด การทำสองครั้งย่อมจะให้ผลไม่ตรงกัน |
cyclic redundancy check | การตรวจสอบด้วยส่วนซ้ำซ้อนแบบวนใช้ตัวย่อว่า CRC หมายถึง เทคนิคการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดในการบันทึกหรือถ่ายทอดข้อมูล มักจะใช้วิธีการวนทำซ้ำ เพื่อทบทวนดูความแม่นตรง ถ้ามีที่ผิด การทำสองครั้งย่อมจะให้ผลไม่ตรงกัน |
ddt | (ดีดีที) ในความหมายทั่วไป คำนี้หมายถึง "ยาฆ่าแมลง" นำมาใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ เป็นคำแสลงหมายถึง การแก้ไขข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดในโปรแกรมในกรณีที่มีมาก ๆ (ทั้งนี้เพราะในการเขียนโปรแกรมนั้น เราเรียกจุดบกพร่องในโปรแกรมว่า แมลง หรือ bug โดยปกติแล้ว การแก้ไขธรรมดา ๆ จะใช้คำว่า debug) |
diagnostic program | ชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส |
disabuse | (ดิสอะบวิซ') vt. แก้ไขให้ถูกต้อง, แก้ไข, ขจัดข้อผิดพลาดออก, -disabusal n. |
err | (เออร์) { erred, erring, errs } vi. ทำผิด, ทำผิดพลาด, เข้าใจผิด, เถล, ออกนอกทาง, ทำไม่ถูกต้อง, ทำบาป, ทำชั่ว |
errancy | (เออ'เรินซี) n. การทำผิด, การทำผิดพลาด, การเข้าใจผิด, การออกนอกทาง |
error | (เอ'เรอะ) n. ความผิด, การกระทำผิด, บาป, สิ่งที่กระทำผิด, คำผิด, ข้อผิดพลาด, Syn. blunder |
error code | รหัสระบุความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่มีกำหนดไว้ เพื่อบ่งบอกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ว่าเป็นข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด เช่น ศัพท์ที่ใช้ในชุดคำสั่งภาษานั้น ๆ ตัวแปลภาษาไม่รู้จัก (bad command) หรือไวยากรณ์ผิด (syntax error) เป็นต้น |
error correcting code | รหัสแก้ความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่สามารถช่วยแก้ไขข้อผิดพลาด ซึ่งอาจเกิดขึ้นในขณะอ่านข้อมูล ส่งข้อมูล และพิมพ์ผลลัพธ์ การค้นพบนี้จะอาศัยการใช้บิตเสริม (parity bit) พิเศษในข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจะชี้ไปที่บิตที่มี ความผิดพลาด และจะเปลี่ยนค่าจาก 0 เป็น 1 หรือ 1 เป็น 0 ให้ |
error messsage | ข้อความระบุความผิดพลาดหมายถึงข้อความที่เตือนบนจอภาพเพื่อบอกให้รู้ว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้นมีอะไรผิด อาจเป็นไปได้ว่า ผู้ใช้ใช้คำสั่งผิด หรือทำผิดขั้นตอน สำหรับเครื่องแมคอินทอช ถ้าเป็นความผิดรุนแรง อาจเห็นเป็นลูกระเบิดบนจอภาพ ในกรณีที่เป็นเช่นนี้ จะต้องเริ่มต้นใหม่หมด |
error rate | อัตราความผิดพลาดหมายถึง มาตรฐานการวัดคุณภาพของวงจร หรือระบบถ่ายโอนข้อมูล การคำนวณโดยใช้วิธีการ นำจำนวนข้อผิดพลาดของข้อมูล หารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด หรืออาจจะคิดเป็น อัตราต่อหน่วยเวลาก็ได้ |
even parity | ภาวะคู่หมายถึง การตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล โดยการเพิ่มบิตต่อกันเข้ากับข้อมูล (concate nate) เพื่อให้จำนวนบิตที่มีค่าเป็น 1 เปลี่ยนเป็นเลขคู่ ดู odd parity เปรียบเทียบ |
fallacious | (ฟะเล'เชิส) adj. หลอกลวง, ลวง, ซึ่งทำให้เข้าใจผิด, ผิดพลาด, ซึ่งทำให้ผิดหวัง., See also: fallaciously adv. fallaciousness n., Syn. false, Ant. true |
fallacy | (แฟล'ละซี) n. การหลอกลวง, การทำให้เข้าใจผิด, ความผิดพลาด, การอ้างเหตุผลหรือความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion |
fatal error | ข้อผิดพลาดร้ายแรงหมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งจะทำให้โปรแกรมหรือเครื่อง คอมพิวเตอร์หยุดทำงานโดยสิ้นเชิง ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช จะเห็นเป็นลูกระเบิด |
fault | (ฟอลทฺ) n. ความผิดพลาด, ข้อบกพร่อง, ความคลาดเคลื่อน, ชั้นหินที่หักหรือเคลื่อนลง, การเสิร์ฟลูกออก, การเสิร์ฟลูกติดเน็ท. -Phr. (find fault (with)) บ่น, หาเรื่อง. -to a fault มากเกินไป. -Phr. (at fault งงงวย), Syn. defect, flaw |
faulty | (ฟอล'ที) adj. ซึ่งมีข้อบกพร่อง, ซึ่งมีข้อผิดพลาด., See also: faultily adv. faultiness n. |
faux pas | (โฟพา') ความประพฤติผิด, ความผิดพลาด |
fluff | (ฟลัฟ) n. สิ่งที่เป็นนิ่มและเบา, ก้อนปุยนิ่มและเบา, ขนอ่อน, ความผิดพลาด, สิ่งที่ไร้ค่า, ละครที่ไร้สาระ, หญิงสาว. vt. ทำให้เป็นปุย, สลัดขน. vi. เป็นปุย, ขนขึ้น, ล่องลอย, ทำผิดพลาด |
goof | (กูฟ) { goofed, goofing, goofs } n. คนโง่, ความผิด vi. ทำผิด, ทำพลาด, ฆ่าเวลา, ปล่อยเวลาล่วงไปโดยเปล่าประโยชน์ vt. ทำให้ยุ่ง -Phr. (goof off เสียเวลา, เลี่ยงงาน) |
hamartia | n. ความผิดพลาดในการตัดสินใจ |
hollerith card | บัตรฮอลเลอริทหมายถึงบัตรที่ฮอลเลอริท (Dr. John Hollerith) เป็นผู้ออกแบบ ทำด้วยกระดาษ ต้องมีขนาดมาตรฐาน (7 1/8 x 3 1/4 นิ้ว) ใช้สำหรับบรรจุข้อมูลโดยเจาะเป็นรูตามรหัสที่กำหนด คอมพิวเตอร์สามารถอ่านรูบนบัตรเหล่านี้แล้วนำไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อใช้ประมวลผลได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว เพราะใช้สื่อเก็บข้อมูลอย่างอื่น สะดวกกว่า ผิดพลาดน้อยกว่า เช่น จานบันทึก แถบบันทึก มีความหมายเหมือน computer card |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ |
ill-judged | (อิล'จัดจฺดฺ') adj. ไม่รอบคอบ, ไม่ฉลาด, ซึ่งวินิจฉัยผิดพลาด, Syn. injudicious |
improper | (อิมพรอพ' เพอะ) adj. ไม่เหมาะสม, ไม่ถูกต้อง, ผิดพลาด, ไม่สมควร., See also: improperly adv. improperness n., Syn. unbecoming, unsuitable, Ant. suitable |
impropriety | (อิมพระไพร' อิที) n. ความไม่เหมาะสม, ความไม่ถูกต้อง, ความไม่บังควร, ความผิดพลาด, การใช้คำที่ไม่เหมาะสม, Syn. mistake, slip, blunder |
infallible | (อินแฟล'ละเบิล) adj. ไม่รู้จักผิดพลาด, ไม่ทำผิดพลาด, แน่นอนที่สุด. n. บุคคลที่ไม่ทำผิดพลาด, บุคคลที่ถูกตลอด, สิ่งที่ถูกต้องตลอด., See also: infallibility, infallibleness n. infallibly adv., Syn. allwise, unerring |
interbreed | (อินเทอบรีด') v. ทำให้ผสมพันธุ์กันระหว่างพันธุ์ต่าง ๆ , ทำให้ผสมพันธุ์กัน. ภาวะเชิงโต้ตอบหมายถึง ภาวะการตอบโต้อย่างทันทีทันควัน เช่น การพิมพ์ป้อนโปรแกรมภาษาเบสิกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าพิมพ์ผิด ก็จะมีรายงานบนจอภาพทันที ผิดกับการใช้โปรแกรมบางภาษาที่ไม่สามารถโต้ตอบได้ ต้องรอจนจบโปรแกรมก่อน จึงจะโต้ตอบ หรือรายงานข้อผิดพลาด หรือหาผลลัพธ์ ให้คำตอบได้ |
lapse | (แลพซฺ) { lapsed, lapsing, lapses } n. การพลาดพลั้ง, การละเลย, การผิดพลาด, การตกลงมา, การลดลงมา, ระยะเวลาที่ผ่านไป, การสิ้นสุดของสิทธิหรือสิทธิพิเศษ (เนื่องจากการละเลยหรือการพลาดพลั้ง) , การสิ้นสุดการประกันภัย (เนื่องจากการไม่จ่ายเงินค่าประกันภัยหรือการหมดอายุสัญญา) vi |
lose | (ลูส) { lost, losing, loses } vt. ขาดทุน, สูญ, เสีย, แพ้, ทำให้สูญเสีย, พลาด, เสียโอกาส vi. ได้รับความเสียหาย, แพ้, เล่นเสีย, (นาฬิกา) เดินช้า. -Phr. (lose out แพ้), See also: losable adj. losableness n., Syn. fail-A. find |
loss | (ลอส) n. การขาดทุน, การสูญเสีย, การแพ้, การหาย, ความเสียหาย, ความผิดพลาด, การทำลาย, ความหายนะ, การสูญเสียทหาร, จำนวนทหารที่สูญเสียไป, ภาวะที่ไม่แน่นอน, ภาวะที่งงงวย, Syn. deprivation |
lovelorn | (ลัฟว'ลอร์น) adj. อกหัก, พลาดรัก, ถูกคนรักทอดทิ้ง., See also: lovelornness n. ดูlovelorn |
amiss | (adv) ผิดพลาด, ไม่เหมาะสม, เสีย, ผิดปกติ |
blunder | (n) ความผิดพลาด, ความซุ่มซ่าม, ความเซ่อ |
blunder | (vi) ทำพลาด, ซุ่มซ่าม, เดินเซ่อ |
bungle | (n) ความซุ่มซ่าม, การทำพลาด, การทำห้าแต้ม |
bungle | (vt) ซุ่มซ่าม, ทำพลาด, ทำห้าแต้ม, ทำลวกๆ |
err | (vi) ทำผิด, ทำพลาด, ทำชั่ว, ทำบาป |
erroneous | (adj) ผิดพลาด, ทำผิด, เข้าใจผิด, ไม่ถูกต้อง |
error | (n) ข้อผิดพลาด, ความคลาดเคลื่อน, ความผิด, บาป |
fallacious | (adj) หลอกลวง, ผิดพลาด |
fallible | (adj) ถูกหลอกได้, ผิดพลาดได้, ทำผิดได้ |
falsity | (n) การปลอมแปลง, ความเท็จ, ความผิดพลาด, ความไม่ถูกต้อง |
fault | (n) ความผิด, ข้อผิดพลาด, ข้อบกพร่อง, ความคลาดเคลื่อน |
faultless | (adj) ไม่ผิด, ไม่ผิดพลาด, ถูกต้อง, สมบูรณ์, ไม่เสียหาย |
faulty | (adj) มีผิด, ซึ่งบกพร่อง, ซึ่งมีข้อผิดพลาด, ผิดๆถูกๆ |
infallible | (adj) ถูกต้อง, ไม่ผิดพลาด, แน่นอน |
lapse | (n) การหมดอายุ, การพลั้งพลาด, การถลำตัว, การละเมิด |
lose | (vi, vt) เสียไป, พลาดไป, สูญสิ้น, ทำหาย, แพ้, หลง, ขาดทุน |
malpractice | (n) การปฏิบัติผิดพลาด, การประพฤติผิด, การทุจริตต่อหน้าที่ |
miscarriage | (n) ความผิดพลาด, การคลอดก่อนกำหนด, การแท้งลูก, ความล้มเหลว |
miscarry | (vi) ผิดพลาด, ล้มเหลว, แท้งลูก, หลงทาง |
miss | (vt) พลาดไป, เสีย, ขาดไป, ไม่ทัน, ผิด, หายไป, คิดถึง |
misspent | (adj) ใช้ผิดพลาด, ฟุ่มเฟือย, สุรุ่ยสุร่าย |
misstep | (n) ความผิดพลาด, ทางที่ผิด, การพลาดพลั้ง |
mistake | (n) ความผิด, การสำคัญผิด, ข้อผิดพลาด, การเข้าใจผิด |
mistake | (vt) ทำผิด, สำคัญผิด, เข้าใจผิด, ผิดพลาด, หลงผิด |
slip | (n) ความผิดพลาด, การเลื่อน, ผ้าอ้อม, เศษกระดาษ, ปลอกหมอน, กางเกงใน |
trip | (n) การหกล้ม, การเดินทาง, การเดินเร็ว, การกระทำผิดพลาด |
trip | (vi) ทำผิดไป, เต้น, หกล้ม, เดินทาง, พลาดพลั้ง |
unfailing | (adj) ไม่ท้อถอย, ไม่เคยพลาด, ไม่มีขาด |
vicious | (adj) ชั่วร้าย, เลวทราม, ผิดพลาด, บกพร่อง, โหดร้าย |
wrong | (vt) กระทำผิดต่อ, ทำผิดพลาด, ละเมิด, ใส่ร้าย, ประทุษร้าย |
wrongful | (adj) ผิดพลาด, ไม่ยุติธรรม, ผิดกฎหมาย, ไม่ถูกต้อง, ผิดศีลธรรม |