พระราชา | (n) king, Syn. พระเจ้าแผ่นดิน, พระมหากษัตริย์, กษัตริย์, Ant. พระราชินี, Example: พระราชาแห่งแคว้นมคธโปรดให้สร้างสถูปแห่งนี้, Count Unit: พระองค์, Thai Definition: กษัตริย์ผู้ปกครองประเทศ, Notes: (ราชา) |
พระราชวัง | (n) royal palace, See also: palace, Syn. วัง, ราชสำนัก, พระราชสำนัก, Example: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จมาแปรพระราชฐานที่พระราชวังสนามจันทร์อยู่เสมอ, Count Unit: วัง, Thai Definition: ที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน, Notes: (ราชา) |
พระราชินี | (n) queen, See also: empress, Syn. ราชินี, Ant. พระราชา, Example: ใครๆ พูดไม่ขาดปากว่า นี่คืองานฉลองอภิเษกสมรสของพระราชินีในอนาคต, Count Unit: พระองค์, Thai Definition: พระเจ้าแผ่นดินหญิง, มเหสีของพระราชา, Notes: (ราชา) |
พระราชดำริ | (n) royal thought or idea, Syn. ความคิด, Example: การทำฝนเทียมเป็นโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เกิดจากการเสด็จเยี่ยมราษฎรในชนบท, Notes: (ราชา) |
พระราชธิดา | (n) daughter, Syn. ลูกสาว, ลูกหญิง, Ant. พระราชโอรส, Example: พระราชธิดาของพระองค์มีทั้งสิ้น 40 พระองค์, Count Unit: พระองค์, Thai Definition: ลูกสาวของพระเจ้าแผ่นดิน, Notes: (ราชา) |
พระราชพิธี | (n) royal ceremony, See also: royal rite, state ceremony, Syn. พิธี, Example: ระหว่างที่ประทับอยู่ในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ทรงประกอบพระราชพิธีและเสด็จเยี่ยมสถานที่สำคัญหลายอย่าง, Count Unit: พิธี, แบบ, Thai Definition: พิธีของพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมวงศานุวงศ์, Notes: (ราชา) |
พระราชวงศ์ | (n) royal family, See also: royalty, Syn. ราชวงศ์, Example: หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ทรงแนะนำเกี่ยวกับพระราชวงศ์จักรี, Count Unit: ราชวงศ์, Thai Definition: ตระกูลของพระเจ้าแผ่นดิน, Notes: (ราชา) |
พระราชาคณะ | (n) clerical title, Example: ี้พระอาจารย์สุกเป็นพระราชาคณะฝ่ายวิปัสนาธุระ, Thai Definition: ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์ที่ต่ำกว่าสมเด็จ แต่สูงกว่าพระครู |
พระราชโอรส | (n) son, Syn. ลูกชาย, บุตรชาย, โอรส, Ant. พระราชธิดา, Example: พระองค์ทรงส่งพระราชโอรสไปรับการศึกษาในต่างประเทศ, Count Unit: องค์, พระองค์, Thai Definition: ลูกชาย (ใช้สำหรับลูกของเจ้านาย), Notes: (ราชา) |
ขอพระราชทาน | (v) request to a Thai monarch, See also: beg for his Majesty's grant, Syn. ขอสิ่งของ, ขออนุญาต, Example: นายกรัฐมนตรีขอพระราชทานนำข้าราชการเฝ้าฯ, Thai Definition: เป็นคำราชาศัพท์มีความหมายว่า ขออนุญาตกระทำการหรือขอสิ่งของ (ใช้กราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน) |
พระราชกำหนด | (n) royal act, See also: royal enactment, Example: พระราชกำหนดเครื่องแบบข้าราชการประกาศใช้มานานแล้ว, Count Unit: ฉบับ, มาตรา, Thai Definition: บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจบริหาร, Notes: (กฎหมาย) |
พระราชดำรัส | (n) royal words, See also: royal remark, royal observation royal speech, Syn. พระราชกระแสรับสั่ง, Example: พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสกับปวงชนชาวไทยเนื่องในวันขึ้นปีใหม่, Count Unit: องค์, Thai Definition: คำพูดของพระราชา, Notes: (ราชา) |
พระราชสาส์น | (n) royal letter, See also: royal message, king's letter, Syn. จดหมาย, หนังสือ, Example: เอกอัครราชทูตนิวซีแลนด์เข้าเฝ้าฯ ถวายพระราชสาส์นตราตั้ง ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท, Count Unit: องค์, Thai Definition: จดหมายหรือหนังสือของพระเจ้าแผ่นดินหรือพระบรมวงศานุวงศ์, Notes: (ราชา) |
พระราชหฤทัย | (n) heart, Syn. ใจ, Example: พระมหากษัตริย์ทรงเป็นมิ่งขวัญของปวงอาณาประชาราษฎร์ แม้ว่าจะทรงปลอดจากพระราชภาระทางการเมือง ก็ยังทรงผูกพันต่อทุกข์สุขของประชาชนเต็มเปี่ยม พระราชหฤทัย, Notes: (ราชา) |
พระราชไมตรี | (n) friendly relations, See also: diplomatic relations, Example: เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์มีพระราชไมตรีตอบรับคำเชิญของกระทรวงการต่างประเทศของไทย, Thai Definition: ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน, Notes: (ราชา) |
กรมพระราชวัง | (n) Krom Phrarajawang, See also: Prince of the palace, Example: กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า, Thai Definition: ยศของเชื้อพระวงศ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง |
พระราชนิพนธ์ | (n) writings by the king, See also: royal work, literary work by the king, Example: คาวีซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 พิมพ์ใน จ.ศ. 1249, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: เรื่องที่พระมหากษัตริย์ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น, Notes: (ราชา) |
พระราชปณิธาน | (n) royal wish, Example: โครงการป่ารักษ์น้ำเป็นพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่จะสร้างความชุ่มชื้นแก่ผืนแผ่นดินอีสาน, Thai Definition: การตั้งความปรารถนา, Notes: (ราชา) |
พระราชภารกิจ | (n) royal, Syn. ภารกิจ, ธุระ, ภาระ, กิจ, กรณียกิจ, Example: รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระราชภารกิจในการทำนุบำรุงบ้านเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและการพัฒนา, Thai Definition: งานที่จำต้องทำ, Notes: (ราชา) |
พระราชกฤษฎีกา | (n) royal decree, Example: องค์การสวนสัตว์ฯ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2497, Count Unit: มาตรา, Thai Definition: บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน, Notes: (กฎหมาย) |
พระราชบัญญัติ | (n) act, Syn. พ.ร.บ., Example: พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ออกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2544, Count Unit: ฉบับ, มาตรา, Thai Definition: บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา, Notes: (กฎหมาย) |
พระราชประสงค์ | (n) royal intention, Syn. ความต้องการ, ความประสงค์, Example: การรถไฟแห่งประเทศไทยทูลเกล้าฯ ถวายที่ดิน 100 ไร่ เพื่อสร้างสวนสาธารณะตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, Thai Definition: ความต้องการ, ความประสงค์, Notes: (ราชา) |
พระราชกรณียกิจ | (n) royal duties, See also: king's multifarious duties, Example: พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวโลก, Thai Definition: งานที่พระเจ้าแผ่นดินทรงกระทำ |
พระราชพงศาวดาร | (n) royal annals, See also: royal chronicle, royal historical annals, Syn. ประวัติ, Example: ในประเทศไทยน้อยคนนักที่จะเคยได้อ่าน หรือรู้จักพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาและจารึกสุโขทัย, Thai Definition: เรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น, Notes: (ราชา) |
พระราชหัตถเลขา | (n) royal writing, Syn. จดหมาย, Example: รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับขนมธรรมเนียมประเพณีต่างๆ มากมาย ทั้งนี้ไม่นับพระราชหัตถเลขา ที่ทรงมีถึงบุคคลต่างๆ และจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน, Count Unit: องค์, Thai Definition: จดหมาย (ใช้กับพระมหากษัตริย์), Notes: (ราชา) |
พระราชอัธยาศัย | (n) royal command, Example: การเลือกและแต่งตั้งองคมนตรีให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย, Thai Definition: พระราชประสงค์หรือความต้องการของพระมหากษัตริย์ ซึ่งได้รับการยกเว้นจากกฎเกณฑ์ หรือระเบียบต่างๆ เป็นการทั่วไป |
พระราชอาณาจักร | (n) kingdom, See also: empire, Syn. อาณาจักร, เขตแดน, Example: พระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ไทยมีให้เห็นอยู่ทั่วพระราชอาณาจักรในวันรัฐธรรมนูญ, Count Unit: อาณาจักร, Thai Definition: เขตอำนาจปกครองของรัฐบาลหนึ่งๆ, Notes: (ราชา) |
สำนักพระราชวัง | (n) Bureau of the Royal Household, Syn. พว. |
กระแสพระราชดำรัส | (n) speech (of king), See also: order (of king), king's address, Syn. กระแสรับสั่ง, Example: พระเจ้าอยู่หัวทรงมีกระแสพระราชดำรัสให้เข้าเฝ้า |
ร่างพระราชบัญญัติ | (n) (proposed) bill, See also: proposed Act/legislation, Example: เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับต่างๆ ไม่จำเป็นต้องแต่งตั้งกรรมาธิการกันใหม่เป็นคราวๆ ไป, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: ร่างกฎหมายที่เขียนขึ้นเสนอต่อสภาเพื่ออภิปราย |
เสด็จพระราชดำเนิน | (v) go, See also: proceed, Syn. ไป, Example: สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินเข้าร่วมประชุมการสัมมนาอย่างไม่เป็นทางการเรื่อง สถานะของวิชาประวัติศาสตร์ในประเทศไทย”, Thai Definition: ไปโดยยานพาหนะ, Notes: (ราชา) |
โดยเสด็จพระราชกุศล | (adv) contribute to a charity fund started by the king, Example: ฉันถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศล |
โดยเสด็จพระราชดำเนิน | (v) follow the king, See also: follow the royal lead, Syn. ตามเสด็จ, Example: ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จ ณ แห่งใด ข้าราชบริพารเหล่านี้ก็จะโดยเสด็จพระราชดำเนินด้วย, Thai Definition: ติดตามไปด้วย |
กระแสพระราชดำรัส | (-ราดชะ-) น. คำพูดต่อเนื่อง. |
ขอพระราชทาน | ก. ขอสิ่งของ, ขออนุญาต, (ใช้กราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน). |
โครงการตามพระราชดำริ | ดู โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. |
โครงการตามพระราชประสงค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้เกิดขึ้น โดยทรงศึกษาทดลองปฏิบัติด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เมื่อทรงศึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญและทดลองจนได้ผลสรุปที่ดี และทรงมั่นพระราชหฤทัยว่าเป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลหรือผู้สนใจรับไปดำเนินงานต่อ แบ่งเป็นโครงการทดลองในเขตพระราชฐาน และโครงการทดลองนอกเขตพระราชฐาน. |
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. |
บพิตรพระราชสมภาร | ส. คำที่พระสงฆ์เรียกพระมหากษัตริย์ มักใช้ในการถวายพระธรรมเทศนา. |
แปรพระราชฐาน | (-พฺระราดชะถาน) ก. เปลี่ยนสถานที่ประทับไปอยู่ที่อื่นเป็นการชั่วคราว ใช้แก่พระมหากษัตริย์. |
ผู้เนื่องในพระราชวงศ์ | น. ราชนิกุลรวมทั้งสตรีที่สมรสกับราชนิกุล. |
พระราชกระแส, พระราชกระแสรับสั่ง | น. คำพูด, คำสั่ง ใช้ในราชสำนัก. |
พระราชพิธี | น. พิธีที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดไว้ตามราชประเพณี เช่น พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีสงกรานต์ พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี. |
พระราชวงศ์ | น. วงศ์ตระกูลของกษัตริย์ |
พระราชวงศ์ | เจ้านายในวงศ์ตระกูลของกษัตริย์. |
พระราชาคณะ | น. พระภิกษุที่ได้รับแต่งตั้งและสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ. |
พระราชกฤษฎีกา | น. กฎหมายรูปแบบหนึ่งที่ตราขึ้นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ |
พระราชกฤษฎีกา | บทบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน. |
พระราชกำหนด | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ. |
พระราชบัญญัติ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติ. |
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. |
เสด็จพระราชดำเนิน | ก. เดินทาง (ใช้แก่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) เช่น เสด็จพระราชดำเนินโดยทางสถลมารค เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง. |
กกุธภัณฑ์ | (กะกุดทะ-) น. สัญลักษณ์สำคัญแห่งความเป็นพระมหากษัตริย์ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกรชัยพฤกษ์ ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่าเบญจราชกกุธภัณฑ์ ทั้งนี้ บางสมัยใช้เครื่องราชกกุธภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น ใช้ฉัตรแทนพระมหาพิชัยมงกุฎ.(ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า
ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง.วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี). |
กฎ | ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง |
กฎมนเทียรบาล | น. ข้อบัญญัติพิเศษเกี่ยวกับพระราชฐาน พระราชวงศ์ และระเบียบการปกครองในราชสำนัก, โบราณใช้ว่า กฎมณเฑียรบาล หรือ กฎมณเทียรบาล ก็มี. |
กฎหมาย | ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า) |
กฎหมาย | ออกหมายกำหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ (พระราชกำหนดเก่า) |
กฎหมายตราสามดวง | น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง. |
กรงทอง | น. เรียกกรงที่ใช้กั้นพระราชพิธีลงสรงเจ้าฟ้า ว่า พระกรงทอง. |
กรณฑ์ ๑ | ผอบ เช่น บรรจุพระบรมธาตุในสุวรรณกรณฑ์ (เทศนาพระราช-ประวัติ). |
กรมพระคลัง | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก |
กรมวัง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก |
กรรภิรมย์ | (กัน-) น. ฉัตร ๕ ชั้นและ ๗ ชั้น สำรับหนึ่งมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ทำด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นเขียนทอง เป็นเครื่องสูงอันเป็นสิริมงคลยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ และใช้เข้าพิธีคชกรรมนำช้างสำคัญขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี. |
กรรมชวาต | (กำมะชะวาด) น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์ (ปฐมสมโพธิกถา), เขียนเป็น กรรมัชวาต ก็มี. |
กระยาสนาน | น. เครื่องสรงในพระราชพิธีสรงพระมุรธาภิเษก. |
กระวีชาติ | น. หมู่กวี, พวกกวี, เช่น เสดจ์ในพระที่นั่งพลับพลาทองโดยอุตราภิมุขพร้อมด้วยหมู่มาตยามนตรีกระวีชาติราชปะโรหิตาจารย์เฝ้าพระบาท (สามดวง), เขียนเป็น กระวีชาต หรือ กระวิชาติ ก็มี เช่น พระองค์ทรงพระกรุณาเพื่อจะมิให้มุกขมนตรีกระวีชาตแลราษฎรล่วงเกินพระราชอาญา, พร้อมด้วยหมู่มุกขมาตยามนตรีกระวิชาติราชสุริยวงษพงษพฤฒาโหราจารยเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศ (สามดวง). |
กรำ | (กฺรำ) ว. ตรำ, ฝ่า, สู้ทนลำบาก, เช่น กรำแดด กรำฝน, เคี่ยวเข็ญเย็นคํ่ากรำไป ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย (พระราชนิพนธ์ ร. ๖). |
กฤษฎา ๑ | (กฺริดสะดา) ว. อันกระทำแล้ว เช่น เพื่อพระราชกฤษฎา แต่กี้ (ราชกิจที่ทรงทำมาแล้ว) (ตะเลงพ่าย). |
กฤษฎีกา | คณะกรรมการกฤษฎีกา, สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, พระราชกฤษฎีกา. |
กลางช้าง | น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานประจำปืนใหญ่บนสัปคับที่ตั้งกลางหลังช้าง, ขุนนางซึ่งนั่งประจำที่บนสัปคับที่ตั้งกลางหลังช้างพระที่นั่ง คอยรับพระราชดำรัสสั่งให้สัญญาณแก่ไพร่พลเพื่อให้รุก รับ หรือถอย และส่งศาสตราวุธถวายพระเจ้าอยู่หัวเมื่อประทับตรงคอช้าง. |
ก้อง ๒ | ก. อ่อนน้อมเจริญพระราชไมตรี เช่น พระเจ้ากรุงไทยแต่งขุนนางไปก้องกรุงปักกิ่ง (ประกาศ ร. ๔). |
กัดค่า | ก. กำหนดราคา เช่น ซ้นนกัดค่าพระราชกุมาร (ม. คำหลวง กุมาร). |
กัลเว้า | (กันเว้า) ว. พูดอ่อนหวาน, พูดเอาใจ, เช่น ก็มีพระราชโองการอนนกัลเว้า (ม. คำหลวง มหาราช). |
กาญจนาภิเษก | น. พระราชพิธีที่พระเจ้าแผ่นดินกระทำเมื่อครองราชสมบัติได้ ๕๐ ปี. |
การทะเบียนราษฎร | น. งานทะเบียนต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร. |
การยุบสภา | น.อำนาจของฝ่ายบริหารในการประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ การยุบสภาต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา. |
กำหนด | บทบริหารบัญญัติคล้ายพระราช-กฤษฎีกา โดยมากเป็นบัญญัติที่เกี่ยวกับบุคคลหรือข้าราชการบางจำพวก เช่น พระราชกำหนดเครื่องแบบแต่งกายข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน. |
กุลาตีไม้, กุลาตีอก | น. การเล่นชนิดหนึ่งในงานพระราชพิธี. |
เกามาร | (-มาน) น. กุมาร เช่น กูจะขอพระราชทานเกามารท้งงสองพระองค์ (ม. คำหลวง กุมาร). |
แก้มลิง | น. พื้นที่มีลักษณะเป็นแอ่งตามธรรมชาติหรือขุดขึ้นเพื่อรองรับและกักเก็บน้ำในช่วงฝนตกมีน้ำมาก และระบายออกทะเลในช่วงที่น้ำทะเลลดลง เป็นพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและบรรเทาอุทกภัย. |
แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. |
ขมวดยา | (ขะหฺมวด-) น. ชื่อเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น ใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยนํ้ายาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราชลมารคหรือเสด็จพระราชดำเนินลำลองทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้, โขมดยา ก็ว่า. |
ขรัวตา | น. สามัญชนที่เป็นตาของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา. |
Parliament, Act of | พระราชบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prerogative | อำนาจพิเศษ, พระราชอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prerogative | อำนาจพิเศษ, พระราชอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prerogative of mercy | พระราชอำนาจอภัยโทษ, อำนาจพิเศษที่จะลดโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
preamble of a statute | คำปรารภแห่งบทกฎหมาย, พระราชปรารภ (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Lloyd's Acts | พระราชบัญญัติสถาบันลอยด์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of recall | ๑. หนังสือเรียกทูตกลับ๒. พระราชสาสน์ถอน, สาสน์ถอน (ทูต) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Lord Chamberlain | ๑. สมุหพระราชวัง๒. เลขาธิการพระราชวัง (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lord Keeper of the Great Seal | สมุหพระราชลัญจกร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Royal Decree | พระราชกฤษฎีกา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Royal Decree | พระราชกฤษฎีกา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Royal Household | สำนักพระราชวัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Royal ordinance | พระราชกำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
royal prerogative | พระราชอำนาจ (ของพระมหากษัตริย์) [ ดู jura regalia) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
royal rescript | พระราชหัตถเลขา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Reform Bill of 1832 | ร่างพระราชบัญญัติการปฏิรูป ค.ศ. ๑๘๓๒ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
royal rescript | พระราชหัตถเลขา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
at the royal pleasure; at the King's pleasure | ตามพระราชอัธยาศัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Address, Debate on the | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Act of Parliament | พระราชบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Act of Parliament | พระราชบัญญัติ (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
at the King's pleasure; at the royal pleasure | ตามพระราชอัธยาศัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
act | ๑. การกระทำ๒. พระราชบัญญัติ, รัฐบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
act | ๑. พระราชบัญญัติ, รัฐบัญญัติ๒. การกระทำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jura regalia (L.) | พระราชอำนาจ (ของพระมหากษัตริย์) [ ดู royal prerogative ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Queen's Speech | พระราชดำรัสเปิดสมัยประชุมรัฐสภา (อังกฤษ) [ ดู King's Speech ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Queen, the | พระบรมราชินีนาถ (ที่ครองราชย์), พระราชินี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bill | ร่างกฎหมาย, ร่างพระราชบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mercy, prerogative of | พระราชอำนาจอภัยโทษ, อำนาจพิเศษที่จะลดโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Crown privilege | พระราชเอกสิทธิ์ (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
credentials | ๑. อักษรสาสน์ตราตั้ง, พระราชสาสน์ตราตั้ง (การทูต)๒. ตราสารแต่งตั้ง (ผู้แทนในการประชุมระหว่างประเทศ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Court, Grand Marshal of the | สมุหพระราชมณเฑียร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
during His (Her) Majesty's pleasure | ตามพระราชอัธยาศัย [ ดู durante bene placito nostro ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
during His (Her) Majesty's pleasure | ตามพระราชอัธยาศัย [ ดู durante bene placito nostro ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Decree, Emergency | พระราชกำหนด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Decree, Emergency | พระราชกำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Decree, Royal | พระราชกฤษฎีกา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Decree, Royal | พระราชกฤษฎีกา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Debate on the Address | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
durante bene placito nostro (L.) | ตามพระราชอัธยาศัย [ ดู during His Majesty's pleasure และ during Her Majesty's pleasure ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
great seal of the realm | พระราชลัญจกร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Grand Marshal of the Court | สมุหพระราชมณเฑียร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Emergency Decree | พระราชกำหนด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Emergency Decree | พระราชกำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
King's Speech | พระราชดำรัสเปิดสมัยประชุมรัฐสภา [ ดู Queen's Speech ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Keeper of the Great Seal | สมุหพระราชลัญจกร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Household, Royal | สำนักพระราชวัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
พระโกศ | ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ พระโกศสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ๒ ประเภท ๑. พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ ๒. พระโกศพระบรมอัฐิหรือพระอัฐิ, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-01.JPG" alt="พระโกศ"> <p>ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
ฉากบังเพลิง | เครื่องกั้นในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ บนพระเมรุมาศหรือเมรุ มีลักษณะเป็นฉากพับได้ ติดไว้กับเสาเมรุมาศทั้ง ๔ ด้าน เมื่อใช้งานจะดึงหรือยกมาปิดไว้ ใช้สำหรับศพชั้นโกศเท่านั้น, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/total-chark-2.jpg" alt="ฉากบังเพลิง"> <p>เครื่องกั้นในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ บนพระเมรุมาศหรือเมรุ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระเสลี่ยงกลีบบัว | พระเสลี่ยงกลีบบัว ทำด้วยไม้ปิดทองประดับกระจกทั้งองค์ มีคานหาม ๒ คาน ขนาดกว้าง ๐.๘๒ เมตร ยาวรวมคาน ๔.๒๐ เมตร สูง ๑.๑๐ เมตร ลำคานเป็นไม้กลมกลึงทาสีแดง ปลายกลึงเป็นหัวเม็ดทรงมัณฑ์ปิดทองประดับกระจก ใช้สำหรับพระสงฆ์พระราชคณะสงฆ์สวดนำพระโกศเวียนรอบพระเมรุ [ศัพท์พระราชพิธี] |
เครื่องทองน้อย | พานพุ่มดอกไม้ ธูป เทียน ที่ใช้บูชาพระพุทธรูปในพระราชพิธี [ศัพท์พระราชพิธี] |
ราชยาน | ยานชนิดคานหามของหลวง, เรียกว่า พระยานก็มี เช่น พระยานมาศ, เรียกว่า พระราชยาน ก็มี เช่น พระราชยานกงพระราชยานถม, เรียกว่า พระที่นั่งราชยาน ก็มี เช่น พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง, หรือเรียกเป็นอย่างอื่นก็มีคือ พระที่นั่งราเชนทรยาน [ศัพท์พระราชพิธี] |
ราชรถ | ยานพาหนะชนิดล้อเลื่อน มีบุษบกเป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบันมีอยู่ ๒ คันคือ พระมหาพิชัยราชรถ กับ เวชยันตราชรถ ใช้ประดิษฐานพระบรมโกศและพระโกศ [ศัพท์พระราชพิธี] |
เจ้าพนักงานภูษามาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พนักงานพระภูษา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พนักงานพระมาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
นพปฎลมหาเศวตฉัตร | ฉัตร ๙ ชั้น เป็นฉัตรชั้นสูงสุดสำหรับพระมหากษัตริย์ ทำด้วยผ้าขาวขลิบทอง ใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระบรมราชโองการ | คำสั่งราชการของพระราชา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระราชสาส์น | จดหมายหรือหนังสือของพระเจ้าแผ่นดินหรือพระบรมวงศานุวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระยานมาศสามลำคาน | พระราชยานชั้นสูงใช้เฉพาะในงานพระบรมศพ, Example: &amp;lt;p&amp;gt;&amp;amp;lt;img src=&amp;amp;quot;http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/icon_doc.jpg&amp;amp;quot; alt=&amp;amp;quot;พระยานมาศสามลำคาน&amp;amp;quot;&amp;amp;gt; &amp;lt;p&amp;gt;หกดสหก่ ดาสหก &amp;lt;p&amp;gt;&amp;amp;lt;img src=&amp;amp;quot;http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/icon_doc.jpg&amp;amp;quot; alt=&amp;amp;quot;พระยานมาศสามลำคาน&amp;amp;quot;&amp;amp;gt; &amp;lt;p&amp;gt;กด่าส หกด่าหกสด &amp;lt;p&amp;gt;&amp;amp;lt;img src=&amp;amp;quot;http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/icon_doc.jpg&amp;amp;quot; alt=&amp;amp;quot;พระยานมาศสามลำคาน&amp;amp;quot;&amp;amp;gt; &amp;lt;p&amp;gt;dหกดาสหกดสาหก ดสหกา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระมหาเศวตฉัตร | ฉัตร ๙ ชั้น เป็นฉัตรชั้นสูงสุดสำหรับพระมหากษัตริย์ ทำด้วยผ้าขาวขลิบทอง ใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว [ศัพท์พระราชพิธี] |
สวรรคต | ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้ในราชาศัพท์สําหรับพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพระบรมราชวงศ์ที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น). (ส. สฺวรฺค + คต ว่า ไปสู่สวรรค์) [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระสัปตปฎลเศวตฉัตร | ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น พระสัปตปฎลเศวตฉัตรเป็นฉัตรประกอบพระอิสริยยศสำหรับพระมหากษัตริย์ที่ยังไม่ผ่านการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-02.JPG" alt="พระสัปตปฎลเศวตฉัตร์"> <p>ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น [ศัพท์พระราชพิธี] |
ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระพันปี | คำเรียกพระราชชนนี [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระราชกรณียกิจ | งานที่พระเจ้าแผ่นดินทรงกระทำ [ศัพท์พระราชพิธี] |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด [ศัพท์พระราชพิธี] |
บุษบก | ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรูป เป็นต้น มณฑปขนาดเล็กแต่ด้านข้างโปร่ง [ศัพท์พระราชพิธี] |
ประทับ | ก. (ราชา) อยู่ที่, อยู่กับที่, เช่น ประทับที่พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน, (ราชา) นั่ง เช่น ประทับบนพระราชอาสน์; แนบอยู่, แนบชิด, แนบลง, เช่น กอดประทับอก เอาปืนประทับบ่า [ศัพท์พระราชพิธี] |
อนิจกรรม | ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือ ทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม [ศัพท์พระราชพิธี] |
กงเต๊กหลวง | เป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระชฎา | เครื่องสวมศีรษะยอดแหลมสูง (พระราชวงศ์) [ศัพท์พระราชพิธี] |
ระทา | หอสูงรูปสี่เหลี่ยมหลังคาทรงยอดเกี้ยว ประดับดอกไม้ไฟนานาชนิดเช่น พลุ ตะไล จรวดใช้จุดในงานพระราชพิธี [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระที่นั่งทรงธรรม | อาคารโถง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระเมรุ ใช้เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่่จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงบำเพ็ญพระราชกุศล และเป็นที่สำหรับพระสงฆ์สดับปกรณ์ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
ทับเกษตร | อาคารที่ปลูกริมรั้วราชวัติ โดยสร้างเป็นอาคารโถงทรงไทยทับเกษตรนี้ใช้เป็นที่สำหรับข้าราชการที่มาในพระราชพิธีพักและฟังสวดพระอภิธรรม [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระวอสีวิกากาญจน์ | เป็นพระราชยานประทับราบสำหรับเจ้านายฝ่ายในและพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ นอกจากใช้เสด็จพระราชดำเนินในงานพระราชพิธีแล้ว ยังใช้ในงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมราชินีด้วย คือ เชิญพระราชสรีรางคารจากพระเมรุมาศท้องสนามหลวงกลับเ้ข้าพระบรมมหาราชวัง [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระอิสริยยศ | ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระ นามเดิม เช่น พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
รั้วราชวัติ | เป็นเครื่องหมายกำหนดขอบเขตปริมณฑลพระราชพิธี [ศัพท์พระราชพิธี] |
ทุ่งพระเมร | สถานที่ใช้ประกอบการพระราชพิธีพระบรมศพ และพระศพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระกลด | [ กฺลด ] น. ร่มขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ขอบร่มมีระบาย คันยาวกว่าก้านร่ม ใช้ถือกั้นเจ้านาย หรือพระภิกษุที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์, ราชาศัพท์ว่า พระกลด, เรียกร่มขนาดใหญ่มีด้าม สำหรับพระธุดงค์โดยเฉพาะ, เรียกดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ที่มีแสงสีรุ้งเป็นวงกลมล้อมรอบว่า ดวงอาทิตย์ทรงกลด ดวงจันทร์ทรงกลด. (ข. กฺลส). [ศัพท์พระราชพิธี] |
ชาวม่าน | ใช้เรียกเจ้าพนักงานที่ทําหน้าที่ไขพระวิสูตรในงานพระราชพิธีต่าง ๆ [ศัพท์พระราชพิธี] |
Radiation area | บริเวณรังสี, บริเวณที่มีรังสีในปริมาณที่กำหนดไม่ว่ารังสีนั้นจะมาจากวัสดุกัมมันตรังสี หรือ เครื่องกำเนิดรังสี <br>ปริมาณรังสีที่กำหนดตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2546) ออกตามความในพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 เท่ากับหรือมากกว่า 25 ไมโครซีเวิร์ตต่อชั่วโมงที่ระยะ 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี</br> [นิวเคลียร์] |
emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] |
The Securities and Exchange Act B.E. 2535 | พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535, Example: พระราชบัญญัติเพื่อกำกับดูแลธุรกิจหลักทรัพย์ในประเทศไทย ประกาศใช้ในปี พ.ศ.2535 แทนพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 ซึ่งแก้ไขในปี พ.ศ.2527 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนดให้จัดตั้งคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ขึ้นมา เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลและพัฒนาอุตสาหกรรมหลักทรัพย์ทั้งระบบ ซึ่งรวมถึงการออกหลักทรัพย์จำหน่ายในตลาดแรก การซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดรอง การดำเนินงานของตลาดหลักทรัพย์และองค์กรต่าง ๆ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมหลักทรัพย์ รวมถึงการพัฒนาตลาดทุนให้ก้าวหน้า ทันสมัยและมีเสถียรภาพ [ตลาดทุน] |
The Derivatives Act B.E.2546 | พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546, Example: พระราชบัญญัติเพื่อกำกับดูแลธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในประเทศไทย ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2546 โดยกำหนดให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอำนาจหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับดูแลในเรื่องสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สำนักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สมาคมกำกับผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และการป้องกันการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า [ตลาดทุน] |
Provident Fund Act B.E. 2530 | พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530, Example: พระราชบัญญัติเพื่อกำกับดูแลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2530 โดยแต่งตั้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งนายทะเบียน และพนักงานเจ้าหน้าที่ในการออกกฎกระทรวงและกำหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ต่อมาได้แก้ไขพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฉบับที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2542 และเมื่อ พ.ศ. 2543 กระทรวงการคลังได้โอนการกำกับดูแลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้แก่คณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นผู้ให้ความเห็นชอบในเรื่องต่าง ๆ [ตลาดทุน] |
Forbidden City (Beijing, China) | พระราชวังต้องห้าม [TU Subject Heading] |
Prerogative, Royal | พระราชอำนาจกษัตริย์ [TU Subject Heading] |
Statutes | พระราชบัญญัติ [TU Subject Heading] |
Act on Consular Privileges and Immunities B.E. 2541 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุล พ.ศ. 2541 [การทูต] |
Act on Diplomatic Privileges and Immunities B.E. 2527 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางทูต พ.ศ. 2527 [การทูต] |
audience | การเข้าเฝ้าฯ " ใช้สำหรับการเข้าเฝ้าฯ พระมหากษัตริย์ พระราชินี หรือพระราชวงศ์ ชั้นสูง " [การทูต] |
Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] |
credentials, letters of credence | " 1. อักษรสาส์นตราตั้ง พระราชสาส์นตราตั้ง (การทูต) หมายถึง หนังสือแต่งตั้งเอกอัครราชทูตจากประมุขของรัฐผู้ส่ง ถึงประมุขของรัฐผู้รับ 2. ตราสารแต่งตั้ง (ผู้แทนในการประชุมระหว่างประเทศ) " [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
Introducer of Ambassadors | หมายถึง เจ้าหน้าที่แนะนำเอกอัครราชทูต ในนครหลวงของบางประเทศจะมีเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ ซึ่งรับผิดชอบการติดต่อกับเอกอัครราชทูตซึ่งกำหนดจะยื่นสารตราตั้ง ให้เดินทางจากทำเนียบเอกอัครราชทูตไปยังทำเนียบของประมุขแห่งรัฐ และจะเป็นผู้เบิกตัว หรือแนะนำเอกอัครราชทูตผู้นั้นต่อประมุขของรัฐในพิธียื่นสารตราตั้ง ในนครหลวงของอีกบางประเทศ เจ้าหน้าที่แนะนำตัวเอกอัครราชทูตจะมีตำแหน่งเรียกอย่างอื่นคือ Master of Ceremonies ส่วนในประเทศอังกฤษ ณ พระราชสำนักแห่งเซนต์เจมส์ ผู้ที่ทำหน้าที่เช่นนี้จะเรียกว่า Her Majesty?s Marshal of the Diplomatic Corps ส่วนในสหรัฐอเมริกา ผู้กระทำหน้าที่นี้คืออธิบดีกรมพิธีการทูต (Chief of Protocol) [การทูต] |
โดยเสด็จพระราชกุศล | [dōisadet phrarāchakuson] (v, exp) EN: contribute to a charity fund started by the king |
เจริญทางพระราชไมตรี | [jaroēn thāng phrarātchamaitrī] (v, exp) EN: cultivate friendly relations |
การพระราชทานอภัยโทษ | [kān phrarātchāthān aphai thōt] (n, exp) EN: grace ; pardon FR: grâce [ f ] |
กฐินพระราชทาน | [Kathin Phrarātchāthān] (n, exp) EN: royal Kathin ceremony |
กระแสพระราชดำรัส | [krasaēphrarātchadamrat] (n) EN: speech of king ; order of king ; king's address |
พระราชา | [phrarāchā] (n) EN: king FR: roi [ m ] |
พระราชาคณะ | [phrarāchākhana] (n) EN: clerical title |
พระราชินี | [phrarāchinī] (n) EN: queen ; empress FR: reine [ f ] |
พระราช- | [phrarātcha-] (pref, (adj)) EN: royal FR: royal |
พระราชอำนาจ | [phrarātcha-amnāt] (n, exp) EN: royal prerogative FR: prérogative royale [ f ] |
พระราชอำนาจอภัยโทษ | [phrarātcha-amnāt aphai thōt] (n, exp) EN: royal right of pardon |
พระราชบัญญัติ | [phrarātchabanyat] (n) EN: act |
พระราชบัญญัติห้าม... | [phrarātchabanyat hām …] (n, exp) EN: law prohibiting … FR: loi d'interdiction de … |
พระราชบัญญัติเวนคืนที่ดิน | [phrarātchabanyat wēnkheūn thīdin] (n, exp) EN: expropriation Act |
พระราชเอกสิทธิ์ | [phrarātcha-ēkkasit] (n, exp) EN: royal privilege |
พระราชหัตถเลขา | [phrarātchahatthalēkhā] (n) EN: letters patent ; royal writing |
พระราชกำหนด | [phrarātchakamnot] (n) EN: royal act ; royal enactment ; royal emergency decree ; emergency decree |
พระราชกฤษฎีกา | [phrarātchakritsadīkā] (n) EN: Royal Degree |
พระราชไมตรี | [phrarātchamaitrī] (n) EN: friendly relations; diplomatic relations FR: relation amicale [ f ] |
พระราชพิธี | [phrarātchaphithī] (n, exp) EN: royal ceremony FR: cérémonie royale [ f ] |
พระราชพิธีจรดพระนังคัล | [Phrarātchaphithī Jarotphranangkhan] (n, prop) EN: The Royal Ploughing Ceremony FR: Cérémonie du Labour royal [ f ] |
พระราชพิธีลงท่า | [phrarātchaphithī longthā] (n, exp) EN: royal ceremony of giving the king's son a bath in a river ; royal ceremony of giving the king's elephant a bath in a river |
พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ | [Phrarātchaphithī Pheūt Mongkhon Jarotphranangkhan Raēknākhwan] (n, prop) EN: The Royal Ploughing Ceremony FR: Cérémonie du Labour royal [ f ] |
พระราชทาน | [phrarātchāthān] (v) EN: give ; confer |
พระราชทานอภัยโทษ | [phrarātchāthān aphai thōt] (v, exp) EN: grace FR: gracier |
พระราชทานเพลิงศพ | [phrarātchāthān phloēng sop] (v, exp) EN: cremate |
พระราชวัง | [phrarātchawang] (n) EN: royal residence ; toyal palace ; royal castle FR: palais royal [ m ] ; résidence royale [ f ] ; château royal [ m ] |
พระราชวังบ้านปืน | [Phrarātchawang Bān Peūn] (n, prop) EN: Ban Puen Palace |
พระราชวังดุสิต | [Phrarātchawang Dusit] (n, prop) EN: Dusit Palace |
พระราชวังหลวง | [Phrarātchawang Lūang] (n, prop) EN: The Royal Palace FR: Palais Royal |
พระราชวังฤดูร้อน | [Phrarātchawang Reudū røn] (n, prop) EN: Summer Palace |
พระราชวังแวร์ซายส์ | [Phrarātchawang Waēsāi] (n, prop) FR: château de Versailles [ m ] |
พ.ร.บ. (พระราชบัญญัติ) | [phø.rø.pø. (phrarātchabanyat)] EN: act |
address | (n) คำปราศรัย, See also: สุนทรพจน์, กระแสพระราชดำรัส, Syn. oration, speech |
bill | (n) ร่างกฎหมาย, See also: ร่างพระราชบัญญัติ, ร่างรัฐธรรมนูญ, Syn. act, law |
Bureau of the Royal Household | (n) สำนักพระราชวัง |
bestow on | (phrv) มอบให้, See also: พระราชทาน, ให้ |
bestow upon | (phrv) มอบให้, See also: พระราชทาน, ให้ |
castle | (n) ปราสาท, See also: พระราชวัง, Syn. palace |
chamberlain | (n) ผู้ที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลงานภายในพระราชวังหรือที่อาศัยของชนชั้นสูง |
decree | (n) พระราชกฤษฎีกา, See also: กฎ, ข้อบังคับ, พระราชกฤษฎีกา, คำพิพากษา, Syn. command, dictum, edict, order, proclaimation |
Elizabeth I | (n) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษช่วงปี ค.ศ.1558-1603, See also: พระธิดาของกษัตริย์เฮนรี่ที่ 8 และแอนน์โบลีน, สมเด็จพระราชินีนาถของอังกฤษและไอร์แลนด์ใน |
Elizabeth II | (n) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษตั้งแต่ปี ค.ศ.1952ถึงปัจจุบัน, See also: พระธิดาของกษัตริย์จอร์จที่ 6 เป็นสมเด็จพระราชินีนาถของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี ค.ศ.1926 |
Elizabethan | (adj) เกี่ยวกับสภาพชีวิตของผู้คนในสมัยสมเด็จพระราชินีนาถอะลิซาเบ็ธที่ 1 |
Elizabethan | (n) คนอังกฤษโดยเฉพาะนักเขียนในสมัยสมเด็จพระราชินีนาถอะลิซาเบ็ธที่ 1 |
empire | (n) อาณาจักร, See also: พระราชอาณาจักร, จักรวรรดิ, Syn. kingdom, realm |
empress | (n) พระราชินี, See also: จักรพรรดินี, Syn. queen |
enact | (vt) ออกกฎหมาย, See also: ออกพระราชบัญญัติ, ออกพระราชกำหนด, Syn. decree, legislate, ordain |
enactment | (n) กฎหมาย, See also: พ.ร.บ., พระราชบัญญัติ, กฎหมาย, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, Syn. law, legislation, regulation |
invest with | (phrv) มอบให้, See also: พระราชทาน, ให้, สวมให้ |
His Majesty | (n) พระองค์ (พระราชา, กษัตริย์) |
indue | (vt) มอบให้, See also: ให้, พระราชทาน, Syn. endue |
king | (n) กษัตริย์, See also: พระเจ้าแผ่นดิน, พระมหากษัตริย์, พระราชา |
king | (n) หมากรุกตัวพระราชา |
kingdom | (n) ราชอาณาจักร, See also: อาณาจักร, ดินแดน, ประเทศที่ปกครองโดยพระราชาหรือพระราชินี, Syn. realm |
knight | (vt) แต่งตั้งอัศวิน, See also: พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็นขุนนาง |
Kremlin | (n) พระราชวังเครมลินในเมืองมอสโคว์ (เป็นที่ทำการของรัฐบาลรัสเซีย) |
legislation | (n) การออกกฎหมาย, See also: การออกพระราชบัญญัติ, การบัญญัติกฎหมาย, Syn. legislating, lawmaking |
mandate | (n) คำสั่ง, See also: ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, Syn. command, decree, order, commission |
measure | (n) กฎหมาย, See also: พระราชบัญญัติ, ร่างพระราชบัญญัติ, Syn. proposition, proposal |
monarch | (n) พระมหากษัตริย์, See also: กษัตริย์, พระราชา, เจ้าแผ่นดิน, Syn. king, queen, emperor |
ordinance | (n) กฎหมาย, See also: กฎ, พระราชบัญญัติ, Syn. order, rule, law |
palace | (n) พระราชวัง, See also: ตำหนัก, ปราสาท, Syn. royal residence, manor |
patriarch | (n) พระสังฆราช, See also: พระราชาคณะ |
patriarchate | (n) ตำแหน่งและเขตปกครองของพระราชาคณะ |
prelacy | (n) ตำแหน่งพระราชาคณะ, See also: บาทหลวง, Syn. diocese, pontificate |
prelate | (n) พระราชาคณะ, Syn. bishop, cardinal, pope |
prelatism | (n) ตำแหน่งพระราชาคณะ, See also: บาทหลวง, Syn. prelacy |
prelature | (n) ตำแหน่งพระราชาคณะ, See also: บาทหลวง, Syn. bishopric |
prince consort | (n) ตำแหน่งของพระสวามีของพระราชินี |
purple | (n) ตำแหน่งพระราชา |
queen | (n) ราชินี, See also: พระราชินี, Syn. female ruler, regent, consort, fairy queen |
red hat | (n) หมวกแดงขอบกว้างของพระคาร์ดินัลองค์ใหม่, See also: เป็นสัญลักษณ์ของตำแหน่งพระคาร์ดินัล หรือพระราชาคณะ |
rescript | (n) คำแถลงการณ์, See also: คำประกาศ, พระราชกำหนด, Syn. law |
raise a man to the purple | (idm) แต่งตั้งเป็นพระราชา |
scepter | (n) คทา, See also: คทาของกษัตริย์ เป็นสัญลักษณ์แห่งพระราชอำนาจ, Syn. cane, pole, sceptre, stick, wand |
sceptre | (n) คทา, See also: คทาของกษัตริย์ เป็นสัญลักษณ์แห่งพระราชอำนาจ, Syn. cane, pole, scepter, stick, wand |
seal | (n) ตราประทับ, See also: ตรา, สัญลักษณ์, พระราชลัญจกร, เครื่องหมาย, เครื่องผนึก, Syn. stamp, sticker, fastener, symbol, emblem |
statute | (n) รัฐบัญญัติ, See also: พระราชบัญญัติ, Syn. enactment, law |
Victoria | (n) สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย, See also: พระราชินีปกครองประเทศอังกฤษในช่วงปีค.ศ 1819-1901 และปกครองอินเดียในช่วงปีค.ศ 1876-1901 |
bill | (บิล) { billed, billing, bills } n. ตั๋วเงิน, พันธบัตร, ธนบัตร, บิล, ใบเสร็จ, ใบแสดงรายงานซื้อขาย, พระราชบัญญัติ, ญัตติ, ร่างญัตติ, คำโฆษณา, รายการ, หนังสือยื่นฟ้อง, จะงอยปาก, ปากนก -Phr. (a Bill of Oblivion พระราชบัญญัติอภัยโทษ) -Id. (bill the bill สนองความต้องการทั้งหมด |
bill of rights | n. พระราชบัญญัติลัทธิและเสรีภาพของพลเมือง |
breve | (บรีฟว) n. เครื่องหมายการออกเสียงสั้น, พระราชโองการแรกเริ่ม, เครื่องหมายเน้นเสียง |
buckingham palace | n. พระราชวังบัคกิงแฮมของอังกฤษ |
cardinal | (คาร์'ดิเนิล) n. พระราชาคณะของคาทอลิก, นกจำพวกหนึ่งตัวผู้สีแดงจัด, สีแดงเข้ม adj. สำคัญยิ่ง, มีสีแดง, พื้นฐาน., See also: cardinalship n. ดูcardinal, Syn. principal |
decree | (ดีครี') n. คำสั่ง, คำบัญชา, คำพิพากษา, พระราชกฤษฎีกา, ประกาศิตของสวรรค์ v. สั่ง, บัญชา, พิพากษา, ประกาศใช้กฎหมาย |
diadem | (ได'อะเดม) n., vt. (ใส่) มงกุฎ, รัดเกล้า, พระราชอำนาจ, พระฐานันดรศักดิ์., Syn. crown |
episcopal | (อีพิส'คะเพิล) adj. เกี่ยวกับพระราชาคณะ (bishop) , เกี่ยวกับนิกายAnglican Church |
fiat | (ไฟ'เอิท, ไฟ'แอท) n. คำสั่ง, พระราชกฤษฎีกา, พระบรมราชโองการ, คำพิพากษา vt. ตี, ชก, ต่อย |
harem | (แฮ'เรม) n. พระราชวังหลัง, พวกนางสนมหรือนางบำเรอ, ภรรยาและอนุภรรยา, Syn. haram, hareem |
hat | (แฮท) n. หมวก, หมวกพระราชาคณะ |
hierarch | (ไฮ'อะราค) n. คณะสงฆ์, พระราชาคณะ, หัวหน้ากลุ่มปกครองโดยลำดับชั้น., See also: hierarchal adj. |
hierophant | n. พระชั้นสูง, พระราชาคณะ, พระที่แปลหรือวิเคราะห์ ความหมายที่ลึกลับ., See also: hierophantic adj. |
invest | (อินเวสทฺ') vt. ลงทุน, ใช้จ่าย, สวม, ปกคลุม, ให้, มอบ, พระราชทาน, ทำให้มี., See also: investable, investible adj. investor n., Syn. spend, empower |
maid-in waiting | (เมด'อินเวท'ทิง) n. หญิงที่ยังไม่แต่งงานที่เป็นหญิงรับใช้พระราชินีหรือเจ้าหญิง pl. maids-in-waiting |
marshal | (มาร์'เชิล) n. จอมพล, นายอำเภอ, พนักงานศาล, นายตำรวจ, เจ้าหน้าที่ชั้นสูงในราชสำนัก, พิธีกร, สมุหพระราชพิธี. vt. จัดให้เหมาะสม, จัดให้ชัดเจน, นำ., See also: marshalcy, marshalship n. marshal l er n. |
master of ceremonies | n. พิธีกร, ผู้อำนวยงานพิธี, สมุหพระราชพิธี |
monarch | (มอน'เนิร์ค) n. กษัตริย์, พระราชา, พระมหากษัตริย์, พระราชินี, ประมุขของรัฐ |
monseigneur | (มอนซิเนอร์') n. fr. ฝ่าพระบาท, ใต้เท้า, พระคุณเจ้า, เจ้าชาย, พระราชาคณะ pl. messeineurs, Syn. monseigneur |
monsignor | (มอนซี'เนอ) n. พระคุณเจ้า, ท่าน, คำเคารพที่ใช้เรียกพระ, พระ, พระราชาคณะ., Syn. monsignor, Monsignore |
ordinance | (ออร์'ดะเนิซฺ) n. คำสั่ง, กฎ, พระราชกฤษฎีกา, เทศบัญญัติ, พิธีทางศาสนา, Syn. law |
ordonnance | (ออ'ดะนันซฺ) n. การจัด, การวัดผลงานทางศิลปะหรือวรรณคดี, คำสั่ง, พระราชกฤษฎีกา., See also: ordonnant adj. |
palais | (พะลี') n. พระราชวัง, วัง, ทำเนียบ |
pds | (พีดีเอส) ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรี หมายถึงผู้สร้างซอฟต์แวร์นั้น ๆ ยินยอมให้คนทั่วไปคัดลอกไปใช้ได้ ไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ดู public domain ประกอบ |
prelate | (เพรล'เลท) n. พระราชาคณะ, บาทหลวงชั้นสูง., See also: prelateship n. prelatic adj. |
prince | (พรินซฺ) n. เจ้าชาย, พระราชนัดดา, กษัตริย์, เจ้าผู้ครองนคร, ผู้ดีเด่น, See also: princeship, n. |
privy seal | n. พระราชลัญุจกร |
public domain | n. ที่ดินของรัฐ, สิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวรรณกรรมที่สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์หมดอายุ, สาธารณสมบัติ, ของสาธารณะหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นแล้วผู้สร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ มาคัดลอกนำไปใช้ได้ โดยไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เช่น โปรแกรม Cuwriter ในระบบเครือข่าย จะมีกลุ่มโปรแกรมกลุ่มหนึ่งเรียกว่า PDS ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรีต่าง ๆ ที่ใคร ๆ ก็สามารถคัดลอกไปใช้ได้ |
purple | (เพอ'เพิล) n., adj. สีม่วง, ผ้าสีม่วง , ตำแหน่งพระราชา, ตำแหน่งที่สูงเด่น, ตำแหน่งพระราชาคณะ, สีแดงเข้ม, สีแดงสด, สำนวนสละสลวยเกินไป, vt., vi. ทำให้เป็นสีม่วง กลายเป็นสีม่วง, Syn. eminence |
queen dowager | n. มเหสีหม้ายของกษัตริย์, พระพันปีหลวง, พระราชชนนี |
queen mother | n. มเหสีหม้ายของกษัตริย์, พระพันปีหลวง, พระราชชนนี |
red hat | n. หมวกทางการขอบกว้างของพระราชาคณะของนิกายโรมันคาทอลิก, พระราชาคณะดังกล่าว |
rescript | (รีสคริพทฺ') n. พระราชกำหนด, พระราชกฤษฎีกา, คำแถลง, คำประกาศ, สิ่งที่เขียนใหม่, เอกสารที่เขียนใหม่ |
scepter | (เซพ'เทอะ) n. คทา, คทาของกษัตริย์ , พระราชอำนาจ vt. มอบคทาให้, มอบอำนาจให้, See also: sceptral adj. |
sceptre | (เซพ'เทอะ) n. คทา, คทาของกษัตริย์ , พระราชอำนาจ vt. มอบคทาให้, มอบอำนาจให้, See also: sceptral adj. |
see | (ซี) vt., vi. เห็น, มอง, ดู, นึกดู, ตรวจดู, ดูแล, หา, สังเกต, พบ, ผ่าน, เยี่ยม, ชม, ค้นพบ, ไปส่ง, ทราบ, ได้ทราบ, เข้าใจ, ชอบใจ, เห็นด้วย, ต้อนรับ, นัดพบ, ให้ความช่วยเหลือ, ดูแล, วางเดิมพัน, สอบถาม, พิจารณา, นึก, สังเกต n. เขตอำนาจหน้าที่ของพระราชาคณะในคริสต์ศาสนา -Phr. (see about ตร |
seigneury | (ซีน'ยะรี) n. (ในแคนาดา) ที่ดินศักดินาที่ได้รับพระราชทานจากกษัตริย์ฝรั่งเศส |
statute | (สแทช'ชูท) n. บทบัญญัติ, พระราช-บัญญัติ, กฎ, ข้อบังคับ, ระเบียบ, ลายลักษณ์อักษร |
act | (n) การกระทำ, พฤติการณ์, พระราชบัญญัติ, กฎหมาย, องก์(ละคร) |
bill | (n) บิล, ใบเสร็จ, ธนบัตร, พันธบัตร, ตั๋วเงิน, ใบแจ้งความ, พระราชบัญญัติ, ร่างญัตติ |
cardinal | (n) พระราชาคณะ |
court | (n) ศาล, ลาน, สนาม, ราชสำนัก, พระราชฐาน, สภา, การเกี้ยว, การจับ |
decree | (n) กฎ, พระราชกฤษฎีกา, คำสั่ง, คำบัญชา, ประกาศิต, คำพิพากษา |
decree | (vt) ประกาศพระราชกฤษฎีกา, สั่ง, บัญชา, พิพากษา |
diadem | (n) มงกุฎ, มาลัยสวมหัว, รัดเกล้า, กะบังหน้า, พระราชอำนาจ |
edict | (n) คำสั่ง, คำประกาศ, คำประกาศิต, พระบรมราชโองการ, พระราชกฤษฎีกา |
enact | (vt) ประกาศเป็นกฎหมาย, แสดงบทบาท, ออกพระราชบัญญัติ |
enactment | (n) การประกาศเป็นกฎหมาย, พระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ |
investiture | (n) พิธีแต่งตั้ง, พิธีพระราชทาน, การมอบหมาย, การลงทุน |
king | (n) พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, พระราชา |
legislate | (vi) ออกกฎหมาย, ออกพระราชบัญญัติ, ตรากฎหมาย |
levee | (n) เขื่อน, ที่จอดเรือ, สโมสรสันนิบาต, การพระราชทานเลี้ยง |
ordinance | (n) คำสั่ง, กฎ, เทศบัญญัติ, พระราชกฤษฎีกา |
palace | (n) พระราชวัง, วัง, ตำหนัก, พระที่นั่ง, ทำเนียบ |
palatial | (adj) เหมือนพระราชวัง, เหมือนวัง, ใหญ่โต, โอ่อ่า, หรูหรา |
patriarch | (n) พระราชาคณะ, พระสังฆราช, บาทหลวง, หัวหน้าครอบครัว, ปรมาจารย์, ผู้เฒ่า |
preamble | (n) คำนำ, อารัมภกถา, บทความเบื้องต้น, พระราชปรารถ |
prelacy | (n) ที่ทำการของสังฆราชา, ตำแหน่งพระราชาคณะ |
prelate | (n) เจ้าอาวาส, พระราชาคณะ, บาทหลวงชั้นสูง |
proceed | (vt) ดำเนินการ, ปฏิบัติ, กระทำต่อไป, เสด็จพระราชดำเนิน |
rescript | (n) คำประกาศ, คำแถลง, พระราชกำหนด |
seal | (n) แมวน้ำ, ตราประจำตำแหน่ง, พระราชลัญจกร, ตราประทับ |
signet | (n) พระราชลัญจกร, ตราประทับ |
statute | (n) พระราชบัญญัติ, มาตรา, ข้อบังคับ, กฎ, ระเบียบ |
statutory | (adj) ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติ, ชอบด้วยกฎหมาย |
*dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด |
act | (n) พระราชบัญญัติ, พ.ร.บ. |
Act of Parliament | (n, phrase, uniq) พระราชบัญญัติ, Syn. act |
alhambra | ชื่อพระราชวังและป้อมปราการในประเทศสเปน ตั้งอยู่ที่กรานาด้า |
alhambra decree | (n) พระราชประกาศอาลัมบรา เป็นพระราชประกาศที่ออกโดยสมเด็จพระราชินีนาถอิสซาเบลลาแห่งสเปน และสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอาราอน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1492 เพื่อขับไล่ชาวยิวออกจากสเปน (wikipedia.org), Syn. Edict of Expulsion |
Canki | (n) จังกีพราหมณ์ ในพุทธประวัติ ครอบครองหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อโอปาสาทะ ซึ่งพระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชทานให้ครอบครอง |
Emergency Decree | (n, phrase, uniq) พระราชกำหนด, Syn. Royal Ordinance |
Imperial Household Agency | (org) สำนักพระราชวังหลวง เป็นฝ่ายบริหารจัดการส่วนราชวงศ์ญี่ปุ่น |
Imperial Palace | (n) พระราชวังหลวง |
pal | ฉันรับราชการในพระราชวัง |
Royal Decree | (n) พระราชกฤษฎีกา |
Royal Ordinance | (n, phrase, name, uni) พระราชกำหนด |
Royal Ordinance | (n, phrase, name, uni) พระราชกำหนด |
Royal Ordinance | (n, phrase, uniq) พระราชกำหนด, Syn. Emergency Decree |
Royal site | (n) พระราชฐาน |
securities and exchange act | (n) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์, พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ |
trade competition act | (n) พระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า, พ.ร.บ.แข่งขันทางการค้า |
UK Bribery Act | (n, uniq) พระราชบัญญัติการติดสินบนแห่งสหราชอาณาจักร |
ปรัตถะ | (n) ประโยชน์เพื่อคนอื่น, ประโยชน์ผู้อื่น มาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า 152 |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |