ผลึก | (n) crystal, See also: quartz, Syn. หินผลึก, Example: การทำนาเกลือต้องใช้เวลาให้เกิดผลึกเกลือขึ้น, Count Unit: ก้อน, เม็ด, Thai Definition: ชื่อแก้วอย่างหนึ่งมีสีใสขาว, สิ่งมีลักษณะขาวใสดั่งแก้ว, Notes: (บาลี) |
ตกผลึก | (v) crystallize, See also: deposit crystals, Syn. กลายเป็นผลึก, เป็นก้อน, เป็นเกล็ด, Example: เขาเอาน้ำละลายสารส้มเคี่ยวจนเดือดแล้วทิ้งไว้ให้สารส้มตกผลึก, Thai Definition: กลายเป็นผลึก (ใช้แก่สารละลาย) |
น้ำผลึก | (n) water of crystallization, Thai Definition: โมเลกุลของน้ำที่ประกอบอยู่กับโมเลกุลของสารประกอบบางชนิดเมื่ออยู่ในภาวะเป็นรูปผลึก |
ผลึกศิลา | (n) crystal stone, Syn. หินผลึก, Example: นักธรณีวิทยารวบรวมผลึกศิลาที่ขุดพบไปทำการวิจัยในขั้นต่อไป, Count Unit: ก้อน, ชิ้น |
แก้วผลึก | (n) milky quartz, See also: crystal, Thai Definition: แก้วหินสีขาวสลัว |
แก้วผลึก | น. แก้วหินสีขาวสลัว. |
ตกผลึก | ก. กลายเป็นผลึก (ใช้แก่สารละลาย) |
ตกผลึก | โดยปริยายหมายความว่าลึกซึ้งแจ่มแจ้งจากการสะสมความรู้หรือความคิด เช่น เขาศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอย่างจริงจังจนความรู้ตกผลึก, งวดเข้า เช่น คดีนี้จวนจะตกผลึก. |
น้ำผลึก | น. โมเลกุลของนํ้าที่ประกอบอยู่กับโมเลกุลของสารประกอบบางชนิดเมื่ออยู่ในภาวะเป็นรูปผลึก. |
ผลึก | (ผะหฺลึก) น. ชื่อแก้วอย่างหนึ่งมีสีใสขาว เรียกว่า แก้วผลึก, สิ่งมีลักษณะขาวใสดั่งแก้ว เช่น น้ำตาลตกผลึก ผลึกน้ำตาล. (ป. ผลิก) |
ผลึก | ของแข็งที่มีโครงสร้างเป็นรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอนเฉพาะตัว. |
กากน้ำตาล | น. ของเหลวสีดำ เหนียวข้น ไม่สามารถตกผลึกน้ำตาลได้อีก ได้จากกระบวนการผลิตน้ำตาลจากอ้อย. |
กานต์ | ว. เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น จันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟได้. |
กาเฟอีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทพิวรีน มีสูตรเคมี C8H10O2N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีในใบชา เมล็ดกาแฟ เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธิ์อย่างแรงต่อหัวใจ ใช้ในการแพทย์. |
เกลือแกง | น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ มีมากในนํ้าทะเล ใช้ปรุงอาหาร ทำเครื่องดองเค็ม, เมื่ออยู่ในสภาพบริสุทธิ์ที่สุด ใช้ละลายในนํ้ากลั่น เรียกว่า นํ้าเกลือ สำหรับให้ผู้ป่วยโดยให้ทางเส้นเลือด ใช้ในอุตสาหกรรมทำสบู่ อุตสาหกรรมผลิตโซดาแผดเผา. |
เกลือเงิน | น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อซิลเวอร์ไนเทรต (AgNO3) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ อุตสาหกรรมชุบโลหะให้เป็นเงิน. |
เกลือจืด | น. เกลือที่ตกผลึกก่อนเกลือชนิดอื่น ๆ ในการทำนาเกลือ มีปนอยู่กับเกลือที่ใช้ในการปรุงอาหารเสมอ ไม่มีรส หรือเกลือที่ได้จากการเผายิปซัม, ยิปซัม หรือ หินฟองเต้าหู้ ก็เรียก. |
แกรไฟต์ | (แกฺร-) น. อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดำ ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดำ เนื้ออ่อน เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทำไส้ดินสอดำ เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจำนวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. |
เขี้ยวหนุมาน | น. แร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีรูปเป็นผลึกหกเหลี่ยม หัวท้ายแต่ละเหลี่ยมมีด้านสามเหลี่ยมเอนเข้าไปบรรจบกันเป็นยอดแหลมดูคล้ายฟันลิง แร่นี้มีแทบทุกสี ตั้งแต่ใสเหมือนกระจกจนขาวขุ่น ชมพู เขียว ม่วง ตลอดจนดำ. |
คาร์บอลิก | น. สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก. |
โคเคน | น. สารอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C17H21O4N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีปรากฏในใบของต้นโคคา ( Erythroxylum coca Lam.) ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ เป็นยาเสพติด. |
จุนสี | (จุนนะสี) น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อ คิวปริกซัลเฟต (CuSO4) เมื่อเป็นผลึกมีสูตร CuSO4.5H2O ลักษณะเป็นผลึกสีนํ้าเงิน ใช้ประโยชน์ในการชุบทองแดงด้วยไฟฟ้า ใช้เป็นสารฆ่าเชื้อรา ฆ่าลูกนํ้า, คนทั่วไปเข้าใจว่าเกิดจากสนิมทองแดง. |
ฉัพพรรณรังสี | (ฉับพันนะ-) น. รัศมี ๖ ประการ คือ ๑. นีล เขียวเหมือนดอกอัญชัน ๒. ปีต เหลืองเหมือนหรดาลทอง ๓. โลหิต แดงเหมือนตะวันอ่อน ๔. โอทาต ขาวเหมือนแผ่นเงิน ๕. มัญเชฐ สีหงสบาทเหมือนดอกเซ่งหรือหงอนไก่ ๖. ประภัสสร เลื่อมพรายเหมือนแก้วผลึก. (ปฐมสมโพธิ). |
ซินนามิก | น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C6H5CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒ ºซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓ ºซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม. |
แซ็กคาริน | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H4SO2·CONH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีความหวานประมาณ ๕๕๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ในทางแพทย์ใช้แทนนํ้าตาลทรายสำหรับคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานและคนที่อ้วนมาก. |
โซเดียมคาร์บอเนต | น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2CO3 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2CO3·10H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำแก้ว สบู่ กระดาษ ทำลายความกระด้างของนํ้า. |
โซเดียมซัลเฟต | น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2SO4 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2SO4·10H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาถ่าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสบู่ ผงซักฟอก สีย้อม แก้ว กระดาษ. |
โซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต | น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร HOOC·(CH2)2·CH(NH2) COONa ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ชูรสอาหาร มักเรียกกันว่า ผงชูรส. |
ด่างทับทิม | เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อโพแทสเซียมเพอร์แมงกาเนต มีสูตร KMnO4 เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกสีม่วงแก่ ใช้ประโยชน์เป็นสารฆ่าเชื้อโรค ใช้ทำยาดับกลิ่น. |
ดีเกลือฝรั่ง | น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อแมกนีเซียมซัลเฟต มีสูตร MgSO4·7H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาระบาย. |
ทรานซิสเตอร์ | (ทฺราน-) น. อุปกรณ์ขนาดเล็กมาก ประกอบด้วยผลึกของสารกึ่งตัวนำ มีขั้วไฟฟ้า ๓ ขั้วสำหรับต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าภายนอก ใช้สำหรับควบคุมและขยายกระแสไฟฟ้า คือกระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้าคู่หนึ่งควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ถูกขยายซึ่งเคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้าอีกคู่หนึ่ง โดยขั้วไฟฟ้า ๒ คู่นี้มีขั้วหนึ่งเป็นขั้วร่วมกัน, ลักษณนามว่า ตัว, (ปาก) เครื่องรับวิทยุกระเป๋าหิ้วขนาดเล็ก ที่ใช้วงจรทรานซิสเตอร์. |
ทิงเจอร์ | น. สารละลายที่ใช้เอทิลแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลาย เช่น ทิงเจอร์ไอโอดีน คือ สารละลายที่เกิดจากการละลายผลึกไอโอดีนในเอทิลแอลกอฮอล์. |
ทีเอ็นที | น. สารประกอบอินทรีย์ ชื่อเต็มคือ ไทรไนโทรโทลูอีน (trinitrotoluene) มีสูตร C7H5(NO2)3 ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกสีเหลืองอ่อน หลอมละลายที่ ๘๒˚ซ. เป็นวัตถุระเบิดชนิดร้ายแรง. |
โบรอน | น. ธาตุลำดับที่ ๕ สัญลักษณ์ B เป็นโลหะ ลักษณะเป็นผงละเอียดสีนํ้าตาล หรือเป็นผลึกสีเหลือง หลอมละลายที่ ๒๓๐๐ °ซ. ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้า แก้ว. |
ผงชูรส | น. เกลือกรดชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต หรือโมโนโซเดียมกลูทาเมต มีสูตร HOOC·(CH2)2·CH(NH2)·COONa ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ใช้ในการปรุงแต่งรสอาหาร. |
ผลิก-, ผลิกะ | (ผะลิกะ-) น. ผลึก. |
ผลิกศิขรี | (-สิขะรี) น. เขาแก้วผลึก คือ เขาไกรลาส. |
ผลิกศิลา | น. หินผลึก. |
มโนศิลา | น. ศิลาอ่อนที่ย่อยให้ละเอียดประสมเป็นสีทาสิ่งอื่นได้, อีกนัยหนึ่งว่าสารหนูแดง, เรียกหินลายสีแดง ๆ เช่น รัตนผลึกเลื่อมมโนศิลาลาย (ม. ร่ายยาว มหาพน). |
มอร์ฟีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C17H19O3N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๒๕๔ °ซ. มีในฝิ่น เป็นยาเสพติดอย่างแรง ทางแพทย์ใช้เกลือไฮโดรคลอไรด์หรือเกลือแอซีเทต หรือเกลือซัลเฟตของมอร์ฟีนเป็นยาระงับความปวด. |
เมนทอล | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C10H20O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๔๒ °ซ. มีกลิ่นหอมเย็น มีอยู่ในนํ้ามันหอมระเหยที่ได้จากพืชบางชนิด เช่น นํ้ามันมินต์ซึ่งสกัดจากใบมินต์ ใช้ประโยชน์ในทางยาปรุงกลิ่นและปรุงรส. |
สตริกนิน | (สะตฺริก-) น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C21H22N2O2 ลักษณะเป็นผลึกหรือผงสีขาว ละลายได้เล็กน้อยในนํ้า หลอมละลายที่ ๒๖๘ °-๒๙๐ °ซ. เป็นพิษอย่างแรง. |
หรดาลกลีบทอง | น. หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด เป็นแผ่นอัดแน่น หรือเป็นผง อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจำเพาะ ๓.๔๙ สีเหลือง เป็นมัน มีสูตรเคมี As2S3 ใช้ประโยชน์เป็นสารให้สีเหลือง ใช้เขียนลายรดนํ้า สมุดดำ เป็นต้น. |
หรดาลแดง | น. หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด หรือเป็นก้อนอัดแน่น อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจำเพาะ ๓.๕ สีแดงหรือแดงส้ม เป็นมัน มีสูตรเคมี AsS, As2S2, As4S4 ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหนังสัตว์ ใช้เป็นตัวทำให้ขนร่วง ใช้ในงานอุตสาหกรรมทำกระสุนปืนส่องวิถี ใช้ในงานความร้อนสูง เช่น ดอกไม้ไฟ พลุสี ใช้เป็นสารฆ่าสัตว์แทะ เช่น หนู และใช้เป็นสีทา. |
เฮโรอีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทอนุพันธ์ของมอร์ฟีน มีสูตร C17H17NO (C2H3O2)2 ชื่อทางเคมี คือ ไดอะเซทิลมอร์ฟีน ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๑๗๓ °ซ. เป็นยาเสพติดอย่างร้ายแรงและมีพิษมาก. |
Crystalline polymers | ผลึกโพลิเมอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Crystallogy | ผลึกศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Liquid crystal | ผลึกเหลว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Polymer liquid crystals | โพลิเมอร์ผลึกเหลว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Crystallization | การตกผลึก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Liquid crystal display | จอผลึกเหลว [คอมพิวเตอร์] |
X-ray diffraction | การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์, ปรากฏการณ์ที่รังสีเอกซ์ซึ่งสะท้อนจากภายในผลึก แล้วรวมกัน เกิดเป็นคลื่นสะท้อนที่มีความเข้มสูงสุด [นิวเคลียร์] |
Thermoluminescence | เทอร์โมลูมิเนสเซนซ์, ปรากฏการณ์การเปล่งแสงของสารบางชนิดเมื่อได้รับความร้อน นำมาประยุกต์ใช้วัดปริมาณรังสีที่สารนั้นดูดกลืนไว้ เช่น การวัดปริมาณรังสีด้วยทีแอลดี การหาอายุโบราณวัตถุและโบราณสถาน เทอร์โมลูมิเนสเซนซ์เกิดเมื่อสารได้รับรังสีและดูดกลืนพลังงานจากรังสีไว้ ทำให้อิเล็กตรอนส่วนหนึ่งหลุดออกมา และบางส่วนจะถูกจับไว้ในผลึกที่มีโครงสร้างไม่สมบูรณ์ ซึ่งเมื่อนำมากระตุ้นด้วยความร้อน อิเล็กตรอนดังกล่าวจะถูกปลดปล่อยออกมาพร้อมทั้งคายพลังงานในรูปของแสง ตัวอย่างสารเทอร์โมลูมิเนสเซนซ์ในธรรมชาติ เช่น แร่แคลไซต์ แร่โดโลไมต์ หินฟันม้า หินเขี้ยวหนุมาน เพทาย และสารที่สังเคราะห์ขึ้น เช่น แคลเซียมฟลูออไรด์ (ดู thermoluminescence dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Scintillator | ตัวเปล่งแสงวับ, วัสดุโปร่งแสง ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งเปล่งแสงวับเมื่อทำอันตรกิริยากับรังสีชนิดก่อไอออน เช่น ผลึกโซเดียมไอโอไดด์ ส่วนผสมของไทรเอทิลเบนซีนกับเทอร์เฟนิล แก๊สซีนอน [นิวเคลียร์] |
Scintillation | แสงวับ, แสงที่เปล่งออกมาอย่างรวดเร็ว เมื่อรังสีชนิดก่อไอออนทำอันตรกิริยากับวัสดุบางชนิด เช่น รังสีแกมมากระทำต่อผลึกโซเดียมไอโอไดด์ [นิวเคลียร์] |
Crystal glass | แก้วผลึก [TU Subject Heading] |
Crystal growth | การปลูกผลึก [TU Subject Heading] |
Crystal lattices | แลตทิซผลึก [TU Subject Heading] |
Crystal optics | ทัศนศาสตร์ผลึก [TU Subject Heading] |
Crystallography | ผลึกศาสตร์, ผลิกศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Crystallography, Mathematical | คณิตผลึกศาสตร์, คณิตผลิกศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Crystals | ผลึก [TU Subject Heading] |
Liquid crystal displays | จอภาพผลึกเหลว [TU Subject Heading] |
Photonic crystals | ผลึกช่องว่างแถบพลังงานเชิงแสง [TU Subject Heading] |
Crystallization | การตกผลึก, การก่อผลึก [สิ่งแวดล้อม] |
Chloroprene rubber | ยาง CR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากมอนอเมอร์ของคลอโรพรีน มีทั้งประเภทที่ใช้งานทั่วไปและประเภทใช้งานพิเศษ เช่น ทำกาวยาง ยางใช้เคลือบ และวัสดุอุดรอยรั่ว เป็นต้น เนื่องจากโมเลกุลของยาง CR สามารถจัดเรียงตัวได้อย่างเป็นระเบียบภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ยางชนิดนี้จึงสามารถตกผลึกได้เช่นเดียวกับยางธรรมชาติ มีค่าความทนต่อแรงดึงสูง มีค่าความทนต่อการฉีกขาดและความต้านทานต่อการขัดถูสูง ยาง CR มีสมบัติทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี และทนต่อความร้อน แสงแดด และโอโซนได้ค่อนข้างดี และยังมีสมบัติการหน่วงไฟ จึงนิยมนำไปใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ในงานภายนอกอาคาร เช่น ยางขอบหน้าต่าง ยางรองคอสะพาน ยางปลอกสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Isoprene rubber or Polyisoprene | ยางพอลิไอโซพรีนหรือยาง IR เป็นยางสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างทางเคมีเหมือนกับยางธรรมชาติ จึงมีสมบัติต่างๆ ใกล้เคียงกับยางธรรมชาติมาก และสามารถใช้แทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติแล้ว ยาง IR มีสมบัติเชิงกล เช่น ความทนต่อแรงดึง และความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายางธรรมชาติเล็กน้อย เนื่องจากยาง IR มีสัดส่วนของโครงสร้างแบบ cis- ที่ต่ำกว่ายางธรรมชาติจึงมีแนวโน้มที่จะตกผลึกได้น้อยกว่า แต่มีข้อดีคือ ยางมีคุณภาพสม่ำเสมอมากกว่ายางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และมีสีขาวสวย [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Sulphur or Sulfur | กำมะถัน (หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่ายาสุก) เป็นสารเคมีที่รู้จักกันดีในอุตสาหกรรมยาง เนื่องจากใช้เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยาง ทำให้ยางเกิดการคงรูป มีลักษณะเป็นผลึกของแข็งสีเหลืองที่อุณหภูมิห้อง [เทคโนโลยียาง] |
Angle, Corresponding Interfacial | มุมระหว่างหน้าผลึกที่คล้องจองกัน [การแพทย์] |
Anhydrous | ปราศจากน้ำ, ไม่มีน้ำผลึก, แอนฮัยดรัส [การแพทย์] |
Arborization | ผลึกรูปใบเฟิร์น, การแตกแขนง, รูปคล้ายใบเฟิร์น [การแพทย์] |
Boundary, Grain | ขอบเม็ดผลึก [การแพทย์] |
Calcite Spar | ผลึกคาลไซด์ [การแพทย์] |
Calcium Oxalate Crystal | ผลึกแคลเซียมออกซาเลท [การแพทย์] |
Cholesterol Crystals | ผลึกโคเลสเตอรอล [การแพทย์] |
Complex, Channel-Lattice | สารประกอบเชิงซ้อนโครงร่างผลึกแบบช่องยาว [การแพทย์] |
Conjunctival Eoncretion | ผลึกของแคลเซี่ยมที่เปลือกตา [การแพทย์] |
Corundum | ผลึกคอรันดัม [การแพทย์] |
Covalent Solid | ผลึกโควาเลนท์, ของแข็งโคเวเลนต์ [การแพทย์] |
Crystal Field Theory | ทฤษฎีสนามผลึก [การแพทย์] |
Crystal Growth | การเติบโตของผลึก, การเกิดผลึก, การเจริญของผลึก [การแพทย์] |
Crystal Growth Inhibitors | สารยับยั้งการเติบโตของผลึก [การแพทย์] |
Crystal Habit | การเปลี่ยนแปลงรูปผลึก [การแพทย์] |
Crystal Lattice | โครงผลึก, โครงร่างผลึก [การแพทย์] |
Crystal Lattice Energy | พลังงานโครงผลึก [การแพทย์] |
Crystal Structure | โครงสร้างของผลึก, โครงสร้างผลึก [การแพทย์] |
Crystal, Dichroic | ผลึกไดโครอิก [การแพทย์] |
Crystal, Double Refraction | ผลึกหักเหสองแนว [การแพทย์] |
Crystal, Metallic | ผลึกโลหะ, ผลึกเมตัลลิก [การแพทย์] |
Crystal, Negative | ผลึกลบ [การแพทย์] |
Crystal, Single | ผลึกเดี่ยว [การแพทย์] |
Crystal, Uniaxial | ผลึกแกนเดียว [การแพทย์] |
Crystalline | รูปผลึก, ผลึก [การแพทย์] |
Crystalline Albumin | น้ำยาของผลึกอัลบูมิน [การแพทย์] |
allomerism | (อะลอม' เมอริสซึม) n. ภาวะที่การผันแปรของส่วนประกอบทางเคมีไม่ทำให้รูปผลึกเปลี่ยนแปลง. -allomerous adjl. |
allomorphism | (แอลโลมอร์' ฟิสซึม) n., chem. การเปลี่ยนแปลงของรูปแบบผลึก โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี |
asterism | (แอส'เทอริสซึม) n. คุณสมบัติของผลึกแร่บางชนิดที่มีรูปคล้ายดาว, กลุ่มของดาว |
cirrostratus | n. ชั้นเมฆผลึกน้ำแข็ง มีความสูงอยู่ระหว่าง 20, 000-40, 000 ฟุต |
crystal | (คิส'เทิล) n. ผลึก, สารผลึก, สิ่งประดับที่เป็นผลึก, สิ่งที่ใสเหมือนผลึก adj. ซึ่งประกอบด้วยผลึก, คล้ายผลึก, ใสแจ๋ว, โปร่งแสง, เกี่ยวกับการฉลองครบรอบที่15 |
crystalline | (คริส'ทะลิน, -ทะไลนฺ') adj. เกี่ยวกับผลึก, โปร่งแสง, ใสแจ๋ว, เกิดจากการตกผลึก, ประกอบด้วยผลึก, เกี่ยวกับการเกิดผลึก, See also: crystalility n. ดูcrystalline |
crystallise | (คริส'ทะไลซ) vt., vi. ตกผลึก, See also: crystallisation n. การตกผลึก crystallisation n. การตกผลึก |
crystallization | (คริสทะไลเซ'เชิน) n. การตกผลึก, ผลึก, ก้อนผลึก, Syn. crystallisation |
crystallize | (คริส'ทะไลซ) vt., vi. ตกผลึก, See also: crystallisation n. การตกผลึก crystallisation n. การตกผลึก |
cubic | (คิว'บิค) adj. มี3มิติ, เป็นลูกบาศก์, เกี่ยวกับการวัดปริมาตร, เกี่ยวกับกำลัง3, เกี่ยวกับระบบการตกผลึก, See also: cubicity n. ดูcubic |
effloresce | (เอฟละเรส) vi. ออกดอก, เป็นผง, เป็นผงเกลือผลึกเมื่อสูญเสียน้ำ, See also: efflorescence n. ดูeffloresce efforescent adj. ดูeffloresce |
frostwork | n. ลายดอกผลึกน้ำแข็ง |
geode | (จีโอด) n. โพรงของผลึก, โพรงผลึกใส, , See also: geodic adj. |
grain | (เกรน) n. เมล็ดข้าว, เมล็ดพืชที่ใช้เป็นอาหาร, พืชประเภทข้าว, เมล็ดเล็ก ๆ , หน่วยน้ำหนักที่เล็กที่สุด (0.0648 กรัม) , ลายเนื้อในงา-ไม้หิน, ลายเส้นหรือชั้นของหินหรือถ่านหิน, ภาวะการตกผลึก., Syn. seed, particle |
lattice | (แลท'ทิสฺ) n. โครงตาข่าย, ผลึกตาข่ายหรือช่องตาข่าย v. จัดเป็นร่างตาข่าย, กลายเป็นร่างตาข่าย |
lcd | (แอลซีดี) ย่อมาจากคำว่า liquid crystal display (จอภาพผลึกเหลว) ใช้ทำจอภาพ มีลักษณะเป็นของเหลวใสเหมือนแก้วเจียรนัย อัดอยู่ระหว่างเนื้อแก้วสองชั้น เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงจากภายนอก จะสะท้อนแสงออกมาเป็นมุมต่าง ๆ ใช้เป็นตัวแสดงอักขระและภาพ คอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนิยมใช้จอภาพชนิดนี้ จอภาพนี้แม้จะใช้กำลังไฟฟ้าน้อยมาก แต่จะชัดเจนดี นิยมใช้กับเครื่องคำนวณที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ด้วย |
liquid crystal display | จอภาพผลึกเหลวใช้ตัวย่อว่า LCD (อ่านว่า แอลซีดี) ใช้ทำจอภาพ มีลักษณะเป็นของเหลว ใสเหมือนแก้วเจียรนัย อัดอยู่ระหว่างเนื้อแก้วสองชั้น เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงจากภายนอก จะสะท้อนแสงออกมาเป็นมุมต่าง ๆ ใช้เป็นตัวแสดงอักขระและภาพ คอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนิยมใช้จอภาพชนิดนี้ จอภาพนี้แม้จะใช้กำลังไฟฟ้าน้อยมาก แต่จะชัดเจนดี นิยมใช้กับเครื่องคำนวณที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ด้วย |
molasses | (มะแลส'ซิซ) n. น้ำเชื่อมหวานข้นที่เป็นส่วนที่เหลือจากการตกผลึกของน้ำตาล, Syn. syrup |
naphthalene | (แนฟ'ธะลีน) ผลึกสีขาวชนิดหนึ่งที่ได้จากน้ำมันดิน |
paramorph | n. รูปร่างเทียมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างผลึกไม่ใช่จากการเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบทางเคมี. |
plasma | (พลาซ'มะ, แพลซ'มะ) n. ส่วนของเหลวของน้ำเหลืองและของโลหิต, โปรโตปลาสซึม, หางนม, See also: plasmatic adj. plasmic adj., Syn. plasm พลาสมาหมายถึง จอภาพที่นิยมใช้กันมากในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก ๆ เช่น ขนาดวางตัก laptop หรือขนาดโน้ตบุ๊ก notebook จอภาพพลาสมานี้จะมีลักษณะค่อนข้างแบน เพราะไม่ใช้หลอดภาพ tube ทำให้มีขนาดเล็ก และใช้ก๊าซอัดระหว่างแก้วสองชั้น คล้าย ๆ จอแอลซีดี จอภาพผลึกเหลว ปัจจุบันนำมาใช้เป็นจอโทรทัศน์กันบ้างแล้ว ทำให้บางลงมาก |
schist | (ซิสทฺ) n. หินผลึกที่มีส่วนประกอบแร่ธาตุที่จัดเป็นรูปขนานหรือลักษณะใบไม้ |
snowflake | (สโน'เฟลค) n. เกล็ดหิมะ, ผลึกหิมะ, |
spar | (สพาร์) n. หินแร่ผลึก, เครื่องเสาหรือไม้กลมที่ใช้ค้ำยึด (เช่นเสากระโดงเรือ, ไม้ใบเรือ) , โครงปีกเครื่องบิน vt. จัดให้มีเครื่องเสาหรือโครงดังกล่าว vi., n. (การ) ต่อยมวย, ชกมวย, ซ้อมมวย, ตั้งหมัด, ต่อยหมัด, (ไก่) ต่อสู้กัน, ทะเลาะ, โต้เถียง. |
spathic | (สแพธ'ธิค) adj. คล้ายหินผลึก, คล้ายspar (ดู) |
sublimate | (ซับ'ละเมท) vi., vt. (ทำให้) กลายเป็นบริสุทธิ์, กลายเป็นสูงส่ง, กลายเป็นแก๊ส, ระเหิด, ทดเทิด. n. ผลึกหรือสารที่เหลือจากการระเหิด. =mercuric chloride. adj. ซึ่งถูกทำให้บริสุทธิ์, สูงส่ง, See also: sublimable adj. sublimation n. คำที่มีความหมายเหมือน |