ปัจฉิม | (adj) last, See also: concluding, closing, Ant. ปฐม, Example: บทสรุปที่สำคัญของการประชุมนี้จะถูกจัดพิมพ์รวมอยู่ในปัจฉิมบท, Thai Definition: ที่หลัง, ภายหลัง, ข้างหลังสุด, Notes: (บาลี) |
ปัจฉิม | (n) West, Syn. ประจิม, ทิศตะวันตก, ทิศปัจฉิม, Ant. บูรพา, ตะวันออก, Example: ว่าแล้วทางขุนศึกใหญ่ก็ได้สั่งให้ไพร่พลทหารเคลื่อนทัพไปยังทิศปัจฉิมอย่างระมัดระวัง, Count Unit: ทิศ, Thai Definition: ชื่อทิศตะวันตก, Notes: (บาลี) |
ปัจฉิมภาค | (n) after-part, See also: latter end, latter period, Syn. ช่วงสุดท้าย, ช่วงเวลาหลัง, Ant. ปฐมภาค, Example: ในช่วงเวลาปัจฉิมภาคของการเรียนการสอนเด็กๆ ต่างพากันเรียนอย่างขะมักเขม้น, Thai Definition: ส่วนเบื้องปลาย |
ปัจฉิมยาม | (n) latter period, Example: เขาคิดว่าถ้าเขาเร่งเก็บเงินไปเรื่อยๆ ตั้งแต่ตอนนี้ เมื่อถึงภายภาคปัจฉิมยามเขาก็สามารถอยู่ได้อย่างมีความสุข, Thai Definition: ยามหลัง, ยามที่สุด |
ปัจฉิมวัย | (n) old-age, See also: final period of life, Syn. วัยชรา, Ant. ปฐมวัย, Example: ไม่น่าเชื่อว่าคนปัจฉิมวัยอย่างคุณป้ายังจะสามารถรักษาความสาวได้เพียงนี้, Notes: (บาลี) |
ปัจฉิมวาจา | (n) last word, Ant. ปฐมวาจา, Example: ผู้อำนวยการสุทนกล่าวปัจฉิมวาจาในงานเลี้ยงเกษียนของเขาด้วยความปลื้มปิติใจที่ลูกน้องให้ความรักนับถือเขามาโดยตลอด, Thai Definition: วาจาครั้งสุดท้าย, Notes: (บาลี) |
ปัจฉิมนิเทศ | (n) post training, Example: ปัจฉิมนิเทศเป็นประเพณีของโรงเรียนที่ปฏิบัติมาทุกปีสำหรับผู้สำเร็จการศึกษา, Thai Definition: การให้คำแนะนำเมื่อจบการศึกษา |
ปัจฉิมลิขิต | (n) postscript, See also: epilogue, Syn. ป.ล., Example: ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ได้ให้ความรู้เพิ่มเติมกับผู้อ่านในปัจฉิมลิขิต, Thai Definition: ข้อความหรือหนังสือที่เขียนภายหลัง |
ปัจฉิม, ปัจฉิม- | (ปัดฉิม, ปัดฉิมมะ-, ปัดฉิม-) ว. ตะวันตก |
ปัจฉิม, ปัจฉิม- | ภายหลัง, ทีหลัง, ข้างหลังสุด. |
ปัจฉิมชน | (ปัดฉิมมะ-) น. ชนที่เกิดภายหลัง. |
ปัจฉิมทิศ | (ปัดฉิมมะ-) น. ทิศตะวันตก. |
ปัจฉิมพรรษา | (ปัดฉิมมะพันสา, ปัดฉิมพันสา) น. “พรรษาหลัง”, ช่วงระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาหลัง คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, คู่กับ บุริมพรรษา หรือ ปุริมพรรษา. |
ปัจฉิมภาค | (ปัดฉิมมะ-) น. ส่วนเบื้องปลาย. |
ปัจฉิมยาม | (ปัดฉิมมะ-) น. ยามหลัง, ยามสุดท้าย, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปัจฉิมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา ถึงย่ำรุ่ง หรือ ๖ นาฬิกา. |
ปัจฉิมลิขิต | (ปัดฉิม-) น. “เขียนภายหลัง” คือหนังสือที่เขียนเพิ่มเติมลงท้ายเมื่อเซ็นชื่อแล้ว, ใช้อักษรย่อว่า ป.ล. |
ปัจฉิมวัย | (ปัดฉิมมะ-) น. วัยตอนปลาย, วัยชรา. |
ปัจฉิมวาจา | (ปัดฉิมมะ-) น. วาจาครั้งสุดท้าย. |
ทิศ ๖ | น. ทิศที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคล มี ทิศเบื้องหน้าหรือบูรพทิศ ได้แก่ บิดามารดากับบุตร ทิศเบื้องขวาหรือทักษิณทิศ ได้แก่ ครูอาจารย์กับศิษย์ ทิศเบื้องหลังหรือปัจฉิมทิศ ได้แก่ สามีกับภรรยา ทิศเบื้องซ้ายหรืออุตรทิศ ได้แก่ มิตร ทิศเบื้องบนหรือปุริมทิศ ได้แก่ สมณพราหมณ์กับศาสนิกชน และทิศเบื้องล่างหรือเหฏฐิมทิศ ได้แก่ นายกับบ่าวหรือผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา. |
บุริมพรรษา | (บุริมมะพันสา, บุริมพันสา) น. “พรรษาต้น”, ช่วงระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาต้น คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, ปุริมพรรษา ก็ว่า, คู่กับ ปัจฉิมพรรษา. |
ปฐมยาม | (ปะถมมะ-) น. ยามต้น, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปฐมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ย่ำค่ำ หรือ ๑๘ นาฬิกา ถึง ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา. |
ปรัศจิม | (ปฺรัดสะ-) น. ปัจฉิม. |
มัชฌิมยาม | น. ยามกลาง, ในบาลีแบ่งคืนเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม ปัจฉิมยาม มัชฌิมยาม กำหนดเวลาตั้งแต่ ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา ถึงตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา. |
มีอายุ | ว. สูงอายุ, ย่างเข้าปัจฉิมวัย. |
ยาม, ยาม- | ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น ๓ ยาม ยามหนึ่งมี ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม |
epilog | (เอพ'พะลอก) n. ถ้อยคำส่งท้าย, ตอนส่งท้าย, เพลงส่งท้าย, ปัจฉิมกถา -vt. จัดให้มีถ้อยคำส่งท้าย., See also: epilogist n. ดูepilog |
epilogue | (เอพ'พะลอก) n. ถ้อยคำส่งท้าย, ตอนส่งท้าย, เพลงส่งท้าย, ปัจฉิมกถา -vt. จัดให้มีถ้อยคำส่งท้าย., See also: epilogist n. ดูepilog |
postscript | (โพสทฺ'สคริพทฺ) n. ปัจฉิมลิขิต, ภาคผนวก, ภาพเสริมท้าย, คำเสริม ท้าย, โพสต์สคริปต์ <คำอ่าน>เป็นชื่อภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าของระบบอะโดบี (Adobe system) ใช้กับเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) หรือหน่วยแสดงผลที่มีความละเอียดสูงมาก ๆ การที่จะใช้ภาษาโพสต์สคริปต์ได้ จำเป็นต้องมีชอฟต์แวร์ตัวนี้ (PostScript printer driver) ใน โปรแกรมที่ใช้ หรือในระบบปฏิบัติการ ข้อดีอย่างยิ่งก็คือ สามารถทำงานจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop publishing) ได้ อันที่จริง การสร้างหรือออกแบบงานพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นงานแผ่นพับ รายงานประจำสัปดาห์ ใบปลิว ใบโฆษณา ฯ เราสามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ธรรมดาออกแบบก่อนได้ แล้วส่งไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์ชั้นดี ซึ่งจะทำให้ผลงานออกมาสวย และมีความคมชัดเหมือนกับเครื่องพิมพ์ใหญ่ ๆ |