ตัดประเด็น | ก. ตัดข้อความสำคัญบางเรื่องที่หยิบยกขึ้นพิจารณาออก เช่น คดีนี้ตำรวจตัดประเด็นชู้สาวออก. |
ประเด็น | น. ข้อความสำคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา |
ประเด็น | ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่มีการยกขึ้นเป็นข้ออ้างในคดี. |
กระทงแถลง | น. ส่วนสำคัญในสำนวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย. |
ข้อ | สิ่ง, ประเด็น, เช่น ข้อตกลง ข้อสำคัญ ข้อกล่าวหา |
ข้อกฎหมาย | น. เรื่องหรือประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ความหมายของบทบัญญัติของกฎหมาย ผลบังคับของกฎหมาย หรือการปรับใช้ข้อเท็จจริงที่ยุติแล้วเข้ากับบทบัญญัติของกฎหมาย. |
ข้อคิด | น. ประเด็นที่เสนอให้คิด, ประเด็นที่ชวนคิด. |
ข้อเท็จจริง | เรื่องหรือประเด็นที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ พฤติกรรม หรือสิ่งใด ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มีอยู่ หรือที่เป็นไป. |
เข้าเรื่อง | ว. ตรงประเด็นของเรื่อง |
คำคู่ความ | น. บรรดาคำฟ้อง คำให้การหรือคำร้องทั้งหลายที่ยื่นต่อศาล เพื่อตั้งประเด็นระหว่างคู่ความ. |
คำพิพากษา | น. คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล. |
จุด | ประเด็นสำคัญของเรื่องที่พูดหรือถกเถียงกันเป็นต้น เช่น พูดไม่ถูกจุด ตอบไม่ตรงจุด. |
ชี้สองสถาน | ก. กระบวนการที่ศาลกำหนดประเด็นข้อพิพาทในคดี และระบุให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนำพยานมาสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลัง. |
ตะล่อม ๑ | ว. ลักษณะการพูดหว่านล้อมหรือรวบรัดให้เข้าสู่จุดหมายหรือเข้าประเด็น เช่น พูดตะล่อม. |
ถาม | ก. ตั้งปัญหาหรือประเด็นเพื่อให้ได้คำตอบ. |
แถลงปิดคดี | ก. การที่โจทย์และจำเลยแถลงด้วยปากหรือหนังสือ หรือทั้ง ๒ อย่างเมื่อสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว เพื่อสรุปประเด็นข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายต่อศาลก่อนมีคำพิพากษา. |
ธง | ข้อความที่อธิบายนำไว้เป็นตัวอย่าง, ประเด็นหลัก. |
เปะปะ | ว. ไม่ตรงเป้า เช่น ชกเปะปะ, ไม่ตรงประเด็น เช่น พูดเปะปะ ให้การเปะปะ, ไม่ตรงทาง เช่น เมาเหล้าเดินเปะปะ, ไม่เป็นระเบียบ เช่น นอนมือเท้าเปะปะ, บางทีใช้ว่า สะเปะสะปะ. |
พยานแวดล้อมกรณี | น. พยานหลักฐานทางอ้อมที่อนุมานมาจากพฤติการณ์ต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอันเป็นประเด็นโดยตรง. |
ย่อยข่าว | ก. หยิบยกเฉพาะประเด็นสำคัญของข่าวมากล่าว. |
แยกแยะ | ก. กระจายออกให้เห็นชัดเจน เช่น แยกแยะปัญหาให้เห็นเป็นประเด็น ๆ ไป. |
สรุป, สรูป | (สะหฺรุบ, สะหฺรูบ) ก. ย่อเอาเฉพาะใจความสำคัญของเรื่องเป็นประเด็น ๆ ไป เช่น สรุปข่าว สรุปสถานการณ์, โบราณใช้ว่า สรวป ก็มี. |
สรุป, สรูป | (สะหฺรุบ, สะหฺรูบ) น. ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง เช่น กล่าวโดยสรุป. |
สะเปะสะปะ | ว. ไม่ตรงเป้า เช่น ชกต่อยสะเปะสะปะ, ไม่ตรงทาง เช่น คนเมาเดินสะเปะสะปะ, ไม่เป็นระเบียบ เช่น นอนแขนขาก่ายกันสะเปะสะปะ, อาการที่พูดเลอะเทอะเรื่อยเจื้อยไม่มีประเด็น เช่น พูดสะเปะสะปะ. |
probative evidence | พยานหลักฐานในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
probative facts | ข้อเท็จจริงในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
point | ๑. จุด, ข้อ๒. ประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
point in dispute | ประเด็นข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal issue | ประเด็นข้อกฎหมาย [ ดู issue of law ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of request | หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ) [ ดู rogatory letter ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
redundancy | ๑. เรื่องนอกประเด็น (ก. วิ.)๒. การให้ออกเพราะยุบตำแหน่ง (ก. แรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
raise an issue | ยกประเด็น, ตั้งประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relevant | เกี่ยวกับประเด็น, เกี่ยวเนื่อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relevant evidence | พยานหลักฐานเกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relevant fact | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [ ดู evidential fact ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
remoteness of evidence | พยานหลักฐานไกลจากประเด็น, พยานหลักฐานไม่เกี่ยวแก่ประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rogatory letter | หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ)[ ดู letter of request ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
requesting court | ศาลที่ส่งประเด็นไปขอให้สืบพยาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
obiter dictum (L.) | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder of causes of action | การรวมประเด็นฟ้อง [ ดู joinder of claims ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder of claims | การรวมข้อเรียกร้อง, การรวมประเด็นฟ้อง [ ดู joinder of causes of action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder of issue | การกำหนดประเด็นข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mediate data | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
main issue | ประเด็นหลัก, ประเด็นสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
matter in issue | ประเด็นข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
material issue | ประเด็นสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause of action | มูลฟ้อง, ประเด็นฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commissioned court | ศาลที่รับประเด็นไปสืบพยาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collateral issues | ประเด็นที่ใกล้เคียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
departure | การยกประเด็นขึ้นใหม่ (ที่แตกต่างกับประเด็นเดิม) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dictum | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู obitor dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact in issue | ข้อเท็จจริงในประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, evidential; fact, relevant | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, irrelevant | ข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, relevant; fact, evidential | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
evidential fact | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [ ดู relevant fact ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
issue of fact | ประเด็นข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
issue of law | ประเด็นข้อกฎหมาย [ ดู legal issue ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
issue voting | การออกเสียงตามประเด็น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
irrelevant | นอกประเด็น [ ดู relevant ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interlocutory judgment | คำพิพากษาในบางประเด็นก่อน (ก. แองโกล-แซกซอน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
issue | ๑. ออก, ตราขึ้น (ก. ทั่วไป)๒. ประเด็น (ก. ทั่วไป)๓. ผลประโยชน์ (ก. แพ่ง)๔. ผู้สืบสายโลหิต (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
irrelevant fact | ข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
no case to answer | ไม่มีประเด็นที่จะต้องให้การแก้ฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ultimate issue | ประเด็นสำคัญที่สุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Issues management | การบริหารประเด็นเชิงยุทธ์ [TU Subject Heading] |
ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] |
aide-mémoire | บันทึกช่วยจำ " 1. เป็นเอกสารที่สร้างข้อผูกพัน ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของสัญญา 2. ในทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นเอกสารที่ช่วยย้ำประเด็นที่ได้มาพบและพูดไว้ " [การทูต] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
ASEAN-EU Senior Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนกับ ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป จัดขึ้นทุก 12-18 เดือน เพื่อหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ [การทูต] |
ASEAN-US Dialogue | การประชุมอาเซียน-สหรัฐอเมริกา " เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ปลัดกระทรวงต่างประเทศ) จัดขึ้นทุก 18 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ " [การทูต] |
Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Flexible Engagement | ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่น " ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่นเป็นข้อเสนอของ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยที่เสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) ครั้งที่ 31 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการหารือและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ เปิดกว้างและเป็นกันเองในเรื่องหรือประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกันหรือที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความ มั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของนานาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันสืบเนื่องจากการที่อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ และอยู่ในภาวะที่เผชิญปัญหาท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวพันกัน " [การทูต] |
Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
non-traditional security issues | ประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม่ [การทูต] |
ASEAN Post Ministerial Conferences 10+1 Session with a Dialogue Partner | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาเป็น รายประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการแยกหารือในประเด็นของความสัมพันธ์ระหว่างสิบประเทศสมาชิกอา เซียนกับแต่ละคู่เจรจา [การทูต] |
ASEAN Post Ministerial Conferences 10+10 Session | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาทั้ง หมด เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการหารือร่วมกันทั้งหมดระหว่างสิบประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศ คู่เจรจาในประเด็นที่มีความกังวลร่วมกันหรือปรารถนาที่จะมีความร่วมมือ ระหว่างกัน [การทูต] |
retreat | การประชุมหารืออย่างเป็นกันเอง ปัจจุบันมีทั้งในระดับหัวหน้ารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และระดับปลัดกระทรวง โดยส่วนใหญ่จะเป็นการหารือเป็นการเฉพาะระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน โดยไม่มีเจ้าหน้าที่ติดตามและไม่มีระเบียบวาระที่แน่นอน แต่จะเปิดกว้างให้มีการหารือได้ในทุก ๆ ประเด็น [การทูต] |
South-South Cooperation | ความร่วมมือใต้-ใต้ หรือ ความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายหลังจากที่ความ ช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศที่พัฒนาแล้วได้ให้แก่ประเทศกำลัง พัฒนา/ด้อยพัฒนามีแนวโน้มลดลงและมีการนำเงื่อนไขอื่น ๆ มาผูกกับการให้ความช่วยเหลือมากขึ้น อาทิ ประเด็นสิ่งแวดล้อม โดยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา/ด้อยพัฒนานี้ จะเป็นทั้งในลักษณะของการให้ (อาทิ ทุนการศึกษา/ทุนฝึกอบรม/ทุนดูงาน/ผู้เชี่ยวชาญ/วัสดุอุปกรณ์) ของประเทศใดประเทศหนึ่งแต่ฝ่ายเดียว อาทิ การให้ความร่วมมือด้านทุนฝึกอบรมระยะสั้นในสาขาการเกษตรของไทยแก่ประเทศใน แอฟริกา และในลักษณะของการแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน " [การทูต] |
traditional security issues | ประเด็นความมั่นคงในลักษณะเดิม [การทูต] |
visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] |
World Economic Forum | การประชุม "เวทีเศรษฐกิจโลก" นาย Klaus Schwab ได้ริเริ่มให้มีการประชุมครั้งแรกขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 ที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งในปี พ.ศ. 2514 นาย Schwab ได้จัดตั้งเป็น European Management Forum ในลักษณะขององค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และเปิดให้นักธุรกิจชั้นนำ รวมทั้งนักการเมืองระดับสูงเป็นสมาชิก ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น World Economic Forum และเปิดรับสมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีสำนักงานตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กิจกรรมสำคัญประจำปี ได้แก่ การประชุมประจำปีที่เมืองดาวอส (มกราคม หรือ กุมภาพันธ์) การจัดพิมพ์ World Competitiveness Report และการจัดประชุมเพื่อหารือประเด็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในประเทศต่าง ๆ [การทูต] |
Analysis | การวิเคราะห์, การวิเคราะห์ตามประเด็น [การแพทย์] |
abstract | (n) ข้อสรุป, See also: ประเด็นสำคัญ, บทคัดย่อ, Syn. summary |
analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements |
analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown |
critique | (n) บทวิจารณ์, See also: ข้อเขียนที่วิจารณ์ประเด็นต่างๆ |
crux | (n) ประเด็นสำคัญ |
crux of the matter | (idm) ประเด็นหลัก |
digress from | (phrv) ออกนอกเรื่อง, See also: ออกนอกประเด็น |
discursive | (adj) ซึ่งอ้อมค้อม, See also: ซึ่งไกลประเด็น, Syn. disconnected, cursory |
evasive | (adj) ซึ่งตอบไม่ตรงประเด็น, See also: ซึ่งตอบไม่ตรงคำถาม, Syn. deceptive, equivocal, misleading |
miss the point | (idm) ไม่เข้าใจประเด็น |
inapposite | (adj) ซึ่งอยู่นอกประเด็น (คำทางการ), See also: ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง, ซึ่งไม่เหมาะสม, Syn. irrelevant, unsuitable, Ant. apposite, relevant, suitable |
issue | (n) ประเด็น, See also: หัวข้อที่หยิบยกขึ้นมาพิจารณา, Syn. topic, point, subject |
keep to | (phrv) พยายามควบคุมหรือจำกัดให้อยู่ในประเด็น, See also: พูดตรงประเด็น ไม่ออกนอกเรื่อง, Syn. stick to |
message | (n) ประเด็น, See also: เนื้อความ, เนื้อหา, ความหมาย |
oblique | (adj) อ้อมๆ, See also: ไม่ตรงประเด็น, ไม่ชัดเจน, ไม่ตรงจุด, Syn. indirect, roundabout, Ant. direct, straightforward |
one-track | (adj) ซึ่งมุ่งไปที่จุดเดียว, See also: ซึ่งมุ่งไปที่ประเด็นเดียว |
pat | (adj) ตรงประเด็น, See also: ตรงจุด, Syn. apt, exactly, perfectly |
pith | (n) แก่น, See also: สาระสำคัญ, ประเด็นสำคัญ, Syn. core, essence, gist, heart |
place | (n) ประเด็น, Syn. point |
point | (n) ประเด็น, See also: ข้อ, แง่, หัวข้อ, เรื่อง, Syn. idea, matter |
question | (n) หัวข้อ, See also: ประเด็นที่นำขึ้นมาพูด, เรื่องที่นำมาพิจารณา, Syn. topic, issue, proposal |
relevant | (adj) เข้าประเด็น, See also: ซึ่งเกี่ยวเนื่องกัน, ตรงประเด็น, ซึ่งสัมพันธ์กัน, Syn. pertinent, Ant. irrelevant |
respect | (n) ประเด็น, Syn. aspect, characteristic, point |
lost the plot | (sl) สับสน, See also: ออกนอกประเด็น |
sidetrack | (vt) ทำให้ออกนอกประเด็น, See also: หันเห, เปลี่ยนหัวข้อ, เปลี่ยนประเด็น, Syn. push aside |
significance | (n) ความสำคัญ, See also: ประเด็นหลัก, ลักษณะที่สำคัญ, Syn. point, importance, Ant. unimportance, insignificance |
subject | (n) หัวข้อ, See also: ประเด็น, เนื้อหาสาระ, Syn. point, topic, substance |
theme | (n) หัวข้อ, See also: ประเด็นหลัก, ใจความสำคัญ, สาระสำคัญ, แก่นสาร, Syn. subject, topic |
there | (pron) ประเด็นนั้น |
wander from | (phrv) ออกนอกประเด็น, See also: ออกนอกทิศทาง, Syn. stray from, wander off |
wander off | (phrv) ออกนอกประเด็น, See also: ออกนอกทิศทาง |
abroad | (อะบรอด') adj., adv. ข้างนอก, ต่างประเทศ, แพร่หลาย, ไปทั่ว, พิศวง, ไม่หนักแน่น, ไม่ตรงประเด็น, Syn. circulating, outdoors |
cogent | (โค'เจินทฺ) adj. ซึ่งโน้มน้าวจิตใจ, น่าเชื่อ, ถูกจุด, ตรงประเด็น |
crux | (ครัคซฺ) n. จุดสำคัญ, ประเด็นสำคัญ, กากบาท, กางเขน, จุดยุ่งยาก, ปัญหายุ่งยาก, ความลำบากของปัญหา, Syn. body, heart, essence, root, key -pl. cruxes, cruces |
digress | vi. วกวนนอกเรื่อง, พูดหรือเขียนนอกประเด็น, หันไปทางข้าง, See also: digresser n. |
digression | n. การวกวนนอกประเด็น, คำพูด (คำเขียน) ที่ออกนอกประเด็น, ข้อปลีกย่อย |
digressive | adj. ซึ่งวกวนนอกประเด็น |
discursive | (ดิสเคอร์'ซิฟว) adj. อ้อมค้อม, ไกลประเด็น, สับสน., Syn. digressive, diffuse, Ant. organized |
divergence | (ไดเวอ'เจินซฺ) n. ความแตกต่าง, การแยกออก, การเบนออก, การห่างประเด็น, ความหลากหลาย, ความผันแปร, Syn. digression |
divergent | (ไดเวอ'เจินทฺ) adj. แตกต่างกัน, ผันแปร, ซึ่งเบนออก, ซึ่งห่างประเด็น, หลากหลาย |
excursive | (เอคซฺเคอ'ซิฟว) adj. นอกลู่นอกทาง, ห่างประเด็น, นอกเรื่อง., See also: excursiveeness n. ดูexcursive, Syn. outgoing |
extraneous | (อิคซฺเทร'เนียส) adj. ภายนอก, นอกประเทศ, นอกประเด็น, ไม่เกี่ยวข้อง., See also: extraneousness n. |
gist | (จิสทฺ) n. ส่วนสำคัญ, แก่นสาร, ประเด็น, Syn. pith, substance |
gordian | (กอ'เดียน) adj. เกี่ยวกับเรื่องแก้ยาก, เป็นประเด็นสำคัญ |
gravamen | (กระเว'มัน) n.ข้อกล่าวหาที่หนัก, ประเด็นสำคัญในการฟ้อง, เรื่องคับแค้นใจ -pl. gravamina |
hereto | (เฮียร์ทู') adv. ถึงตอนนี้, เกี่ยวกับประเด็นนี้., Syn. hereunto |
irrelevant | (อิเรล'ละเวินท.) adj. ไม่เกี่ยวข้อง, ไม่ถูกจุด, ไม่ตรงประเด็น. |
keynote | (คี'โนท) n. เสียงหลักของทำนองเพลงประเด็นสำคัญของคำปราศรัย ความคิด การกระทำหรืออื่น ๆ vt. กล่าวคำปราศรัยที่สำคัญ, Syn. theme, essence, gist, core |
nitty-gritty | (นิท'ทิ กริฟ'ที) n. ประเด็นหรือจุดสำคัญของปัญหา |
outlying | (เอาทฺ'ไลอิง) adj. ห่างไกล, นอกทาง, ห่างไกลจากศูนย์กลาง, รอบนอก, ชายแดน, นอกเรื่อง, นอกประเด็น, Syn. remote |
pat | (แพท) vt., n. ตบเบา ๆ ก้อนเล็ก ๆ adj., adv. ตรงประเด็น, ตรงจุด, พร้อมแล้ว, หนักแน่น, ไม่เปลี่ยนแปลง |
pith | (พิธ) n. ไส้ในของไม้, เนื้อเยื่อส่วนใน (ที่เป็นparenchyma) ของต้น, ส่วนในของขุน, ส่วนสำคัญ, แก่นสาร, สาระสำคัญ, ประเด็นสำคัญ, น้ำหนัก, ความแข็ง, ไขสันหลัง, ไขกระดูก, กำลัง, พลัง, แรง |
point | (พอยทฺ) n. จุด, จุดประสงค์, จุดเครื่องหมาย, จุดทศนิยม, สิ่งที่มีปลายแหลม, สถานที่, ตำแหน่ง, ทิศทาง, ขั้น, ตอน, สิ่งที่สำคัญที่เข้าใจ, ประเด็น, จุดสำคัญ, เอกลักษณ์, ข้อแนะ, ข้อคำขำ, หน่วย, หน่วยวัด, ขีด, คะแนน, การชี้, vt., vi. ชี้, เล็ง, แจ้ง, ทำให้แหลม, เสริม, ใส่จุดทศนิยม -Phr. (inpoint เข้าประเด็น ทำได้, เกี่ยวข้อง) |
relevance | (เรล'ลิเวินซฺ) , relevancy (เรล'ลิเวินซี) n. ความสัมพันธ์กัน, การเข้าประเด็น, ความเข้าเรื่องกัน, Syn. pertinence |
relevant | (เรล'ลิเวินทฺ) adj. เข้าประเด็น, ตรงประเด็น, สัมพันธ์กัน, เข้าเรื่องกัน, See also: relevantly adv., Syn. pertinent, apt, related |
respect | (รีสเพคทฺ') n. ความนับถือ, ความเคารพ, ความยำเกรง, ความคารวะ, ความเอาใจใส่, ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวข้อง, ประเด็น, ข้อ, ประการ vt. นับถือ, เคารพ, สัมพันธ์กับ, เกี่ยวกับ, คำนึง, พิจารณา, See also: respecter n., Syn. regard, esteem |
score | (สคอร์) n. รอยบาก, รอยขีด, รอยแผล, รอย, บาก, เส้นขีด, หมาย, รายการบัญชี, บัญชีหนี้สิน, ประเด็น, คะแนน, ยี่สิบ, เหตุผล, มูลเหตุ, การนับแต้ม, จำนวนมากมาย, กระทง, โน๊ตเพลง vt., vi. ทำคะแนน, ทำแต้ม, ประเมินผล, ทำรอยบาก, ขีด, จดคะแนน, นับแต้ม, ลงบัญชีหนี้สิน, มีชัย, ตำหนิ. |
subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, |
there | (แธร์) adv. ที่นั่น, ตรงนั้น, ด้านนั้น, ในข้อนั้น. -pron. ที่นั่น, ตรงนั้น, ประเด็นนั้น. n. ภาวะนั้น, สภาพนั้น, เงื่อนไขนั้น, สถานที่นั้น |
unthinkable | (อันธิง'คะเบิล) adj. คิดไม่ถึง, นึกไม่ถึง, นอกประเด็น, ไม่พิจารณา. |
wander | (วอน'เดอะ) vi. vt. ท่องเที่ยว, เดินเตร่, เตร็ดเตร่, ไปโดยไม่มีจุดหมายแน่นอน, ทิ้งความสนใจ, สาบสูญ, หลงทาง, หันเหจากเดิม, ห่างประเด็น, See also: wanderer n., Syn. stray, roam |
cogent | (adj) น่าเชื่อ, ตรงประเด็น, ตรงจุด, ถูกจุด |
crux | (n) ปมปัญหา, ประเด็นสำคัญ, กางเขน, กากบาท |
digress | (vi) เฉไป, วกวน, ออกนอกเรื่อง, ออกนอกประเด็น |
digression | (n) ความวกวน, ข้อปลีกย่อย, การพูดนอกประเด็น |
excursive | (adj) ซึ่งท่องเที่ยวไป, ซึ่งออกนอกลู่นอกทาง, นอกเรื่อง, นอกประเด็น |
extraneous | (adj) ของผู้อื่น, ของนอก, นอกประเด็น, ภายนอก |
former | (n) อันก่อน, กรณีแรก, ประเด็นแรก, ประการแรก, ข้อแรก |
gist | (n) ใจความ, หัวใจ, หัวข้อ, เนื้อหาสำคัญ, แก่นสาร, ประเด็น |
impertinent | (adj) ทะลึ่ง, เสือก, สะเออะ, อ้อมค้อม, ไม่ตรงประเด็น |
inconsequent | (adj) ไม่สมเหตุผล, นอกประเด็น, ไม่ต่อเนื่องกัน |
irrelevant | (adj) นอกเรื่อง, ไม่ถูกจุด, ไม่ตรงประเด็น |
keynote | (n) ระดับเสียง, ใจความสำคัญ, จุดสำคัญ, ประเด็นสำคัญ |
pertinent | (adj) เข้าเรื่อง, ตรงประเด็น, ตรงปัญหา |
pith | (n) ไส้, แก่น, ไขสันหลัง, แก่นสาร, ประเด็นสำคัญ |
point | (n) จุด, ทิศทาง, ข้อ, จุดทศนิยม, ตำแหน่ง, ประเด็น, ใจความสำคัญ |
relevance | (n) ความสัมพันธ์กัน, การเข้าเรื่อง, การเข้าประเด็น |
relevant | (adj) สัมพันธ์กัน, เข้าเรื่อง, ตรงประเด็น |
SUBJECT subject matter | (n) ประเด็น, เนื้อเรื่อง, หัวข้อ |
unthinkable | (adj) คิดไม่ถึง, นอกประเด็น |