ประสบ | ก. พบ, พบปะ, พบเห็น. |
ประสบการณ์ | (ปฺระสบกาน) น. ความจัดเจนที่เกิดจากการกระทำหรือได้พบเห็นมา. |
ประสบการณ์นิยม | (ปฺระสบกาน-) น. ลัทธิทางปรัชญาที่ถือว่าประสบการณ์เป็นบ่อเกิดของความรู้ทุกอย่าง |
ประสบการณ์นิยม | การปฏิบัติที่เน้นประสบการณ์ |
ประสบการณ์นิยม | การแสวงหาความรู้โดยอาศัยการสังเกต การทดลอง และวิธีอุปนัย, ประจักษนิยม ก็ว่า. |
กบในกะลาครอบ | น. ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อยแต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก. |
กลัว | (กฺลัว) ก. รู้สึกไม่อยากประสบสิ่งที่ไม่ดีแก่ตัว เช่น กลัวบาป กลัวถูกติเตียน, รู้สึกหวาดเพราะคาดว่าจะประสบภัย เช่น กลัวเสือ กลัวไฟไหม้. |
เก๋า ๒ | ว. เชี่ยวชาญ, มีประสบการณ์หรือความชำนาญมาก, เช่น คุณปู่เก๋ามากในเรื่องพระเครื่อง |
ไก่อ่อน, ไก่อ่อนสอนขัน | น. ผู้มีประสบการณ์น้อยยังไม่รู้ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน. |
ขึ้น ๑ | มีโชค จะทำอะไรก็ประสบผล เช่น มือขึ้น ชะตาขึ้น |
เขี้ยวลากดิน | ว. มีเล่ห์เหลี่ยมมาก, มีประสบการณ์มาก. |
คร่ำหวอด | ว. มีประสบการณ์สูง, มีความชำนาญสูงมาก, เช่น เขาคร่ำหวอดอยู่ในวงการเมือง. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
ความรู้ | ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ เช่น ผู้ชายคนนี้เก่ง แต่ไม่มีความรู้เรื่องผู้หญิง. |
จวบ | น. พบ, ประสบ, ร่วม, ถึง. |
จัดเจน | ก. สันทัด, ชำนาญ, มีประสบการณ์มาก, เจนจัด ก็ว่า. |
เจนจัด | ก. สันทัด, ชำนาญ, มีประสบการณ์มาก, จัดเจน ก็ว่า. |
เจอ, เจอะ | ก. พบ, เห็น, ประสบ, ประจวบ. |
เฉย | ก. แสดงอาการเป็นปรกติไม่สนใจไยดีต่อสิ่งหรือเหตุการณ์ที่ประสบ เช่น ถูกด่าว่าก็เฉย. |
ช่วย | ค้ำจุน, สงเคราะห์, เช่น บริจาคเงินช่วยผู้ประสบภัย |
ชั่วโมงบิน | น. ความชำนาญหรือประสบการณ์ในการทำงาน เช่น สู้เขาไม่ได้เพราะชั่วโมงบินเราน้อยกว่า. |
โชกโชน | ว. ลักษณะที่ได้ผ่านการต่อสู้หรือมีประสบการณ์มาอย่างมากมาย เช่น ต่อสู้มาอย่างโชกโชน ผจญภัยมาอย่างโชกโชน. |
ดลบันดาล | ก. ให้มีให้เป็นหรือไม่ให้มีไม่ให้เป็น เช่น ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์จงดลบันดาลให้ประสบความสำเร็จ หรือให้แคล้วคลาดจากภัยอันตราย. |
เด็กเมื่อวานซืน | น. คำกล่าวเชิงดูหมิ่นหรือเชิงสั่งสอนว่า มีความรู้หรือมีประสบการณ์น้อย. |
ตระโบม | (ตฺระ-) ก. โลมเล้า, กอด, เช่น เชยแก้มลลาโลม ตระโบมจูบพระเพาพะงา บัดเดี๋ยวจะคืนมา ประสบน้องสำราญรมย์ (อนิรุทธ์), กระโบม ก็ว่า. |
ต้องธรณีสาร | ก. ประสบสิ่งอัปมงคล. |
ตะเกียกตะกาย | ก. พยายามป่ายปีนไป, พยายามทุกทางเพื่อช่วยเหลือตนเองให้รอดพ้นจากความยากลำบากหรือเพื่อให้ประสบความสำเร็จ, เช่น ตะเกียกตะกายว่ายน้ำเข้าหาฝั่ง ตะเกียกตะกายเรียนจนจบปริญญาโท. |
ถึงชีวิต | ก. ประสบอันตรายถึงตาย. |
บรรจวบ | (บัน-) ก. ประจวบ, ประสบ, พบปะ, สบเหมาะ, บังเอิญพบ. |
ประจักษนิยม | น. ประสบการณ์นิยม. |
ประชาสงเคราะห์ | น. การช่วยเหลือในด้านสวัสดิการ เช่นการบรรเทาทุกข์ผู้ประสบสาธารณภัยที่รัฐให้แก่ประชาชนที่ตกทุกข์ได้ยาก. |
ปีกหัก | ว. ที่ประสบความผิดหวังหรือพลาดพลั้งอย่างรุนแรงจนหมดกำลัง. |
เปิดบริสุทธิ์ | ก. ร่วมประเวณีกับหญิงที่ยังไม่เคยมีประสบการณ์ในการร่วมเพศมาก่อน เดิมเป็นประเพณีของชาวเขาบางเผ่า เช่น อีก้อ เมื่อเด็กหญิงมีอายุย่างเข้าสู่วัยสาวต้องไปศึกษาเรื่องกามกิจโดยร่วมประเวณีเป็นครั้งแรกกับผู้ที่ชุมชนในเผ่านั้นคัดเลือกให้ทำหน้าที่นี้. |
ผงะ | (ผะหฺงะ) ก. แสดงอาการชะงักงันและถอยไปข้างหลังเล็กน้อยเมื่อประสบเหตุการณ์ประจันหน้าที่เป็นอันตราย น่าขยะแขยง หรือน่ากลัวเป็นต้น โดยกะทันหันไม่ทันรู้ตัวหรือคาดหมายมาก่อน. |
ผ่าน | โดยปริยายหมายความว่า เคยมีประสบการณ์ เช่น รายงานชิ้นนี้ผ่านตามาแล้ว เรื่องนี้ผ่านหูมาก่อน เขาผ่านงานมามาก |
พบ | ก. เห็น (ใช้แก่อาการเห็นซึ่งต่อเนื่องกับกิริยาอื่น เช่น ขุดพบ ค้นพบ ไปพบ หาพบ), ปะ, ประสบ, เจอะ, เจอ, เช่น พบเพื่อน พบอุปสรรค. |
พบพาน | ก. ปะกัน, เจอกัน, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ประสบพบพาน. |
พร | (พอน) น. คำแสดงความปรารถนาให้ประสบสิ่งที่เป็นสิริมงคล เช่น ให้พร ถวายพระพร, สิ่งที่ขอเลือกเอาตามประสงค์ เช่น ขอพร. |
พ้องพาน | ก. ประสบ, แตะต้อง, เช่น ขออย่าให้มีภัยอันตรายมาพ้องพาน. |
พิษฐาน | (พิดสะถาน) ก. มุ่งหมาย, ขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อช่วยบันดาลให้ประสบผลสำเร็จในสิ่งที่ตนมุ่งหมาย. |
แพแตก | ว. ลักษณะที่ครอบครัวเป็นต้นแตกกระจัดกระจายแยกย้ายกันไปเพราะหัวหน้าครอบครัวหรือผู้เป็นหลักเป็นประธานประสบความวิบัติหรือเสียชีวิต. |
มองการณ์ไกล | ก. คาดคะเนเหตุการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง โดยอาศัยเหตุผลหรือประสบการณ์เป็นต้น, เห็นการณ์ไกล ก็ว่า. |
ยึดหัวหาด | ก. ยึดชายฝั่งทะเลซึ่งอยู่ในความครอบครองของข้าศึกเพื่อสะดวกในการยกพลขึ้นบก, โดยปริยายหมายถึงยึดจุดสำคัญหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นเพื่อที่จะทำให้แผนการขั้นต่อไปประสบความสำเร็จ เช่น ต้องยึดหัวหาดในพรรคให้ได้ก่อน. |
ร้องไห้ | ก. อาการที่นํ้าตาไหลเพราะประสบอารมณ์อันแรงกล้า เช่น เจ็บปวด เศร้าโศก ดีใจ, บางทีใช้ว่า ร้อง คำเดียว หรือใช้เข้าคู่กับคำ ร้องห่ม เป็น ร้องห่มร้องไห้ หรือ ร้องไห้ร้องห่ม ก็ได้. |
รอบจัด | ว. มีเล่ห์เหลี่ยมมาก, มีประสบการณ์มาก, เจนจัด (ใช้ในทางไม่ดี). |
เรียนรู้ | ก. เข้าใจความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยประสบการณ์. |
วัตถุดิบ | โดยปริยายหมายถึงเรื่องราว ประสบการณ์ เป็นต้น ที่นักเขียนเสาะหาหรือตระเตรียมสะสมไว้เพื่อแต่งหนังสือ. |
วิถีทาง | น. ทาง เช่น ต้องใช้ความพยายามทุกวิถีทางกว่าจะประสบความสำเร็จ. |
ศัพท์เฉพาะวิชา | น. คำที่ตราหรือกำหนดขึ้นใช้ในแต่ละวิชา เช่น ปฏิชีวนะ ประสบการณ์ มลพิษ. |
สงสาร ๒ | (สงสาน) ก. รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา, เช่น เห็นเด็ก ๆ อดอยากก็รู้สึกสงสาร เห็นเขาประสบอัคคีภัยแล้วสงสาร. |
Knowledge broker | นายหน้าความรู้, นายหน้าความรู้ ทำหน้าที่เชื่อมโยงคน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์อย่างแคล่วคล่องมากขึ้น ซึ่งความรู้ได้นี้จะเป็นความรู้ในคนหรือความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) เป็นหลัก [การจัดการความรู้] |
Radiation induced F1-sterility | การชักนำให้เป็นหมันในรุ่นลูกด้วยรังสี, การใช้รังสีชักนำให้แมลงศัตรูพืชในกลุ่มผีเสื้อเป็นหมันแบบไม่สมบูรณ์ ซึ่งจะถ่ายทอดความเป็นหมันแบบสมบูรณ์ในรุ่นลูก โดยไม่ทำให้พฤติกรรมและความสามารถในการผสมพันธุ์เสียไป ซึ่งเป็นวิธีการควบคุมประชากรแมลงอีกวิธีหนึ่ง <br>วิธีการนี้ประสบความสำเร็จใน หนอนเจาะสมอฝ้ายสีชมพู (pink bollworm) และหนอนทำลายแอปเปิล (codling moth) โดยใช้รังสีแกมมาที่ปริมาณ 80-200 เกรย์ </br> <br> (ดู sterile insect technique ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์] |
Child disaster victims | เด็กที่ประสบภัย [TU Subject Heading] |
Church work with disaster victims | คริสตจักรสงเคราะห์ผู้ประสบภัย [TU Subject Heading] |
Disaster victims | ผู้ประสบภัย [TU Subject Heading] |
Drowning victims | ผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ [TU Subject Heading] |
Empiricism | ประสบการณ์นิยม [TU Subject Heading] |
Experience | ประสบการณ์ [TU Subject Heading] |
Experiential learning | การเรียนจากประสบการณ์ [TU Subject Heading] |
Land mine victims | ผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิดบก [TU Subject Heading] |
Casualties | ผู้ประสบภัย [TU Subject Heading] |
Spectators | ผู้รับสารจากประสบการณ์ตรง [TU Subject Heading] |
Successful people | ผู้ประสบความสำเร็จ [TU Subject Heading] |
Terrorism victims' families | ครอบครัวของผู้ประสบภัยจากการก่อการร้าย [TU Subject Heading] |
Traffic accident victims | ผู้ประสบภัยจากอุบัติเหตุทางถนน [TU Subject Heading] |
Victims of terrorism | ผู้ประสบภัยจากการก่อการร้าย [TU Subject Heading] |
War victims | ผู้ประสบภัยจากสงคราม [TU Subject Heading] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area - Mercado Común del Sur (Southern Common Market) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนกับตลาดร่วมอเมริกาใต้ ประกอบด้วยประเทศอาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย โดยความร่วมมือในชั้นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในเรื่องการ รวมตัวทางเศรษฐกิจของแต่ละฝ่าย [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area - North America Free Trade Area | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนกับเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ ซึ่งประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก โดยเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในเรื่องการจัดตั้ง เขตการค้าเสรีของแต่ละฝ่าย [การทูต] |
ASEM Trust Fund | กองทุนอาเซม " เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นในธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูและ การพัฒนา (World Bank) โดยได้รับการสนับสนุนจากประเทศสมาชิกอาเซม เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศในเอเชียที่ประสบกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ " [การทูต] |
Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Condolences | เมื่อใดที่ประมุขของรัฐผู้รับ หรือบุคคลในครอบครัวของประมุขนั้นถึงแก่กรรม เป็นธรรมเนียมที่ผู้แทนทางการทูตซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ ประจำอยู่ในรัฐนั้น หลังจากที่ได้รายงานให้กระทรวงการต่างประเทศของผู้แทนทางการทูตนั้นก่อนทาง โทรเลขหรือโทรสารจะไปเยี่ยมหรือพบกับเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมของรัฐนั้นเพื่อ แสดงความเสียใจในนามของประมุขของรัฐของตน โดยมิต้องรอรับคำสั่งเป็นพิเศษจากกระทรวงการต่างประเทศก่อนตามปกติ โทรเลขหรือโทรสารแสดงความเสียใจนั้นจะส่งจากประมุขของรัฐ ไปยังบุคคลที่เหมาะสมในครอบครัวที่ประสบความทุกข์โศกนั้นโดยตรง [การทูต] |
Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Indigent Nationals | คนในชาติที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้นในต่างแดน ในเรื่องนี้ มีหลายประเทศได้อนุญาตให้ผู้แทนทางการทูตและทางกงสุลของตนอำนวยความช่วย เหลือเท่าที่จำเป็นแก่คนชาติของตนที่ประสบความยากจนข้นแค้นในต่างประเทศรวม ทั้งค่าส่งตัวกลับประเทศด้วย มีหลายรายที่กำหนดให้คนชาติที่ต้องทุกข์นั้น แจ้งถึงสาเหตุที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้น และสัญญาว่าเงินที่ได้รับนี้จะต้องชดใช้คืนภายหลัง ตามปกติ ผู้แทนทางการทูตหรือกงสุลจะต้องปรึกษากับกระทรวงการต่างประเทศของตน ก่อนที่จะนำเงินให้คนชาติของตนกู้ยืมหรือไปรับรองบุคคลเหล่านั้น หรือไปรับผิดชอบทางการเงินใดๆ [การทูต] |
International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] |
marginalisation (marginalization) | การถูกเบียดตกขอบ สภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่ออนาคตการพัฒนาและเศรษฐกิจของประเทศใด ประเทศหนึ่ง ทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์จากเศรษฐกิจโลกที่มีบูรณาการ (integration) เพิ่มขึ้น สภาพการณ์ดังกล่าวมักถูกมองว่าเกิดขึ้นควบคู่ไปกับโลกาภิวัตน์ และประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุดมีโอกาสเสี่ยงที่จะตกอยู่ใน สภาวการณ์นี้ เนื่องจากประสบความยากลำบากในการปฏิบัติตามพันธกรณีการเปิดเสรีทางการค้า กอปรกับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ประเทศเหล่านี้พึ่งพาตกต่ำลง [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
The Netherlands Fellowship Progrmmes | แผนงานด้านทุนของเนเธอร์แลนด์ รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้ให้ความร่วมมือด้านทุนการศึกษา และฝึกอบรมในระดับหลังปริญญาตรีแก่ผู้สนใจในประเทศกำลังพัฒนา โดยมีหลักสูตรต่าง ๆ ดังรายละเอียดใน http://www.nuffic.nl โดยผู้สมัครจะต้องเป็นผุ้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีและต้องทำงานไม่ ต่ำกว่า 2 - 3 ปี เพื่อให้มีประสบการณ์ในการทำงานและเพื่อนำสิ่งที่ได้จากการฝึกอบรมมาพัฒนา งานของตน ทั้งนี้เน้นการให้ทุนฝึกอบรมระยะสั้นเพื่อเพิ่มพูนความรู้มากกว่าการศึกษา [การทูต] |
PA | Palestinian Authority หรือ Palestinian National Authority (PNA) เป็นองค์การบริหารดินแดนยึดครอง (Occupied Territories) ในเขต Gazza และเขต West Bank ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2537 ซึ่งเป็นผลจากความตกลงออสโล (Oslo Accords) ระหว่างอิสราเอลกับ Palestinian Liberation Organization (PLO) เพื่อเป็นองค์กรบริหารดินแดนยึดครองก่อนที่การเจรจา Final Statua จะประสบความสำเร็จ [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Ad hoc Group on Article 13 | (คณะกรรมการ) ที่จัดตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยแรก, (คณะกรรมการ) ที่จัดตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยแรก เพื่อหาทางช่วยเหลือรัฐบาลที่เกี่ยวข้องในการขจัดอุปสรรคที่อาจประสบในการดำเนินการตามพันธกรณี [Climate Change] |
Achievement | ประสบความสำเร็จ, ชัยชนะจากอุปสรรคทั้งปวง, ความสำเร็จ, ความสำเร็จของงาน, สัมฤทธิ์ผล, ประสิทธิผล, ความสำเร็จของงาน [การแพทย์] |
Configuration | โครงแบบ, รูปร่าง, คอนฟิกเกอเรชั่น, การจัดประสบการณ์, การเปลี่ยนแปลงในลักษณะ, การจัดเรียงหมู่, สัณฐาน [การแพทย์] |
Experience | ประสบการณ์ [การแพทย์] |
Experience, Direct | ประสบการณ์โดยตรง [การแพทย์] |
Experience, Immunological, Prior | ประสบการณ์เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันของโรคมาก่อน [การแพทย์] |
Experience, Medical, Prior | ประสบการณ์ด้านรักษาพยาบาลมาก่อน [การแพทย์] |
Experience, Pathological | ประสบการณ์ที่ผิดปกติ [การแพทย์] |
Experience, Previous | ประสบการณ์ในอดีต [การแพทย์] |
Experience, Sensory | ประสบการณ์จากการเร้าภายนอก [การแพทย์] |
Experience, Static, Man's | ประสบการณ์คงที่ของคน [การแพทย์] |
Experience, Trauma | ประสบการณ์รุนแรง [การแพทย์] |
Experienced Factors | ปัจจัยทางด้านประสบการณ์ [การแพทย์] |
สุขภาพจิตตามพื้นที่พิเศษ | สุขภาพจิตตามพื้นที่พิเศษ, การดำเนินงานสุขภาพจิตทุก ๆ มิติงาน ในสถานที่ที่มีความเฉพาะ อาทิเช่น สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนฯ เรือนจำ/ราชทัณฑ์ สถานสงเคราะห์ ศาลครอบครัว ศาลไกล่เกลี่ย รวมถึงพื้นที่เสียงภัย ประสบภัยพิบัติ หรือประสบเหตุจากการสู้รบ เป็นต้น ซึ่งสถานที่นั้นมีกลุ่มคนท [สุขภาพจิต] |
achieve | (vt) สำเร็จ, See also: สัมฤทธิผล, ประสบผลสำเร็จ, บรรลุ, Syn. complete, finish, execute |
acquaintance | (n) ความรู้, See also: ประสบการณ์, Syn. familiarity, experience |
adventure | (n) ประสบการณ์ที่น่าตื่นเต้น, Syn. exploit, venture, escapade |
apprentice | (n) ผู้ที่ไม่มีประสบการณ์, See also: มือสมัครเล่น |
arrive | (vi) ประสบความสำเร็จ (ไม่เป็นทางการ), See also: ถึง, Syn. achieve success, grow famous |
banner | (adj) ที่ดีหรือเด่นเป็นพิเศษ, See also: ที่ประสบผลสำเร็จ |
big | (adv) ประสบความสำเร็จ |
big time | (n) ช่วงแห่งการประสบความสำเร็จในอาชีพ |
babe in the woods | (idm) ผู้บริสุทธิ์, See also: คนซื่อ, คนไม่มีประสบการณ์ |
ball of fire | (idm) คนขยันทำงานซึ่งประสบความสำเร็จ |
baptism of fire | (idm) ประสบการณ์ครั้งแรก |
be at pains to do something | (idm) มีปัญหาหนัก, See also: ประสบปัญหาอย่างมาก |
be hard pressed | (idm) ประสบความยุ่งยาก (เกี่ยวกับเวลา, เงิน, งาน ฯลฯ), See also: ไม่มีเวลา, ยุ่งมาก, Syn. press for, push for |
be out of the running | (idm) ไม่ประสบผล, Ant. be in |
be within | (phrv) มีประสบการณ์, See also: รู้, อยู่ในอำนาจ, อยู่ในขอบเขต, Syn. fall within |
bring home the bacon | (idm) ประสบความสำเร็จในการหาอาหารหรือสิ่งจำเป็นสำหรับครอบครัว |
bring off | (phrv) ประสบความสำเร็จในสิ่งที่ทำยาก, Syn. carry off, come off, go off, pass off |
bring on | (phrv) ทำให้ประสบกับ, See also: ทำให้พบกับ, ทำให้บางสิ่งเกิดขึ้นกับ |
bring the house down | (idm) ประสบความสำเร็จในการแสดง |
bring up against | (phrv) ทำให้ประสบกับ (ความยุ่งยาก), Syn. be up against, come up against |
callow | (adj) ที่เด็กและขาดประสบการณ์, Syn. inexperienced, immature |
center | (n) ศูนย์เฉพาะกิจ เช่น ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม |
centre | (n) ศูนย์เฉพาะกิจ เช่น ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม |
colt | (n) คนหนุ่มที่ไม่มีประสบการณ์ |
comer | (n) คนหรือสิ่งที่จะประสบความสำเร็จ |
compass | (vt) ประสบผลสำเร็จ |
conversant | (adj) ที่มีประสบการณ์, See also: ที่มีความเชี่ยวชาญ, Syn. experienced, skilled |
cub | (n) เด็กหนุ่มที่ไร้ประสบการณ์, See also: คนอ่อนหัด |
carry before | (phrv) ประสบความสำเร็จในทุกสิ่ง (มักใช้ในภาษาเขียน) |
carry off | (phrv) ประสบความสำเร็จในเรื่อง (ที่คนอื่นทำได้ยาก) |
carry the day | (idm) ประสบความสำเร็จ |
carve out | (phrv) พยายามอย่างมากเพื่อประสบความสำเร็จ, See also: ทำ บางสิ่ง ด้วยความพยายามอย่างมาก |
do badly | (phrv) ไม่ประสบความสำเร็จ |
do well | (phrv) ประสบความสำเร็จ, Ant. do badly |
fail in | (phrv) ไม่ประสบความสำเร็จในเรื่อง, See also: ล้มเหลวกับ |
fail of | (phrv) ล้มเหลวในเรื่อง, See also: ไม่ประสบความสำเร็จจากเรื่อง |
fall flat | (phrv) ไม่ประสบผลสำเร็จ, Syn. drop through, fall down |
fall within | (phrv) เป็นเรื่องที่รู้หรือมีประสบการณ์, Syn. be within, bring within, come within |
fetch up | (idm) ไม่ประสบความสำเร็จ, See also: ไม่สำเร็จ |
finish up nowhere | (idm) ไม่ประสบผลสำเร็จ, Syn. end up |
fold up | (phrv) ล้มเหลว, See also: ไม่ประสบความสำเร็จ |
dean | (n) ผู้อาวุโส, See also: ผู้มีประสบการณ์และโดดเด่นในกลุ่ม, Syn. doyen, senior, person of higher rank |
defeatism | (n) แนวคิดหรือการกระทำของผู้ยอมรับหรือคาดว่าจะพ่ายแพ้หรือไม่ประสบความสำเร็จ, See also: การยอมรับความล้มเหลว |
destabilise | (vt) ทำให้ไม่มั่นคง (โดยเฉพาะทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ), See also: ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะทางการเมือง |
destabilize | (vt) ทำให้ไม่มั่นคง (โดยเฉพาะทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ), See also: ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะทางการเมือง |
effectual | (adj) ที่ได้ผลตามที่ตั้งใจ, See also: ได้ผล, ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างที่คาดหวังไว้, Syn. efficient, qualified |
eminent | (adj) มีชื่อเสียง, See also: ซึ่งโดดเด่น, ซึ่งประสบความสำเร็จ, Syn. distinguished, prominent, renowned |
empirical | (adj) ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือการทดลองมากกว่าทฤษฎี, See also: เชิงประจักษ์, Syn. experiental, observation |
empiricism | (n) การนำประสบการณ์หรือการทดลองมาประยุกต์ใช้, See also: การกระทำสิ่งต่างๆ โดยอาศัยประสบการณ์ |
empiricism | (n) ความเชื่อว่าความรู้มาจากประสบการณ์, Syn. experientialism, induction |
a posteriori | (เอ'โพสเทอรีออ'ไร) จากผลถึงเหตุ, จากประสบการณ์, จากการสังเกต |
adventure | (แอดเวน' เชอะ) n. การเสี่ยงภัย, อันตรายที่คาดไม่ถึง, ความตื่นเต้น, ประสบการณ์ที่ตื่นเต้น, การร่วมในกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ตื่นเต้น, การเสี่ยง (เรื่องการเงิน) , อันตราย, โอกาส. -vt., vi. เสี่ยง, ถือโอกาส, เสี่ยงพูด. -adventureful adj. |
also-ran | (ออล' โซเรน) n. นักวิ่งที่ไม่ติดอันดับที่หนึ่งถึงที่สาม, นักวิ่งหรือม้าที่ไม่ค่อยชนะการแข่งขัน, บุคคลที่ไม่ประสบผลสำเร็จหรือประสบผลสำเร็จเล็กน้อย (one who is defeated in any competition) |
amateur | (แอม' มะเทอะ) n., adj. นักสมัครเล่น, นักกีฬาสมัครเล่น, ผู้ไร้ประสบการณ์, ผู้ไร้ความชำนาญ, ผู้อุทิศตัวในศิลปะหรือกิจกรรมหนึ่ง |
ascend | (อะเซนดฺ') vi., vt. ขึ้น, ประสบความสำเร็จ, เฟื่องฟู, Syn. advance, rise |
au fait | (โอฟี') fr. มีประสบการณ์ |
autobiographic | (al) (ออโทไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับประสบการณ์หรือชีวประวัติของตัวเอง, เกี่ยวกับอัตชีวประวัติ |
blight | (ไบลทฺ) n., vi., vt. (ประสบ, ทำให้ประสบ) โรคเหี่ยวแห้งและตายของพืช, สาเหตุของความเสื่อมโทรม, ความหายนะ, ความยุ่งเหยิง, Syn. affliction, decay |
boffo | (บอฟ'โฟ) adj. ประสบความสำเร็จมาก |
born | (บอร์น) adj. กำเนิด, แต่กำเนิด, โดยกำเนิด -Phr. (born yesterday ไร้เรียงสา, ไร้ประสบการ) -Conf. borne |
bump | (บัมพฺ) { bumped, bumping, bumps } vt. ชนกระทบ, กระทบ, จับชน, ทำให้ชน, ชนล้ม, ไล่ออกจากงาน, ยก vi. กระทบ, สัมผัส, เอาตะโพกชน, พบโดย บังเอิญ, ประสบ, วิ่งโคลงเคลง -Id. (bump off ฆ่า) n. การชน, การกระแทก, หัวโหนก, ส่วนนูน, การเอาก้นชน |
callow | (แคล'โล) adj. ไร้ประสบการณ์, อ่อนหัด, ยังบินไม่ได้ (นกตัวอ่อน) , ต่ำและเปียกชื้น n. สนามที่ต่ำและเปียกชื้น, Syn. youthful |
chicken | (ชิค'เคิน) n. ลูกไก่, ลูกนก, ลูกเป็ด, เด็ก, ผู้ที่อายุน้อย, ผู้ที่ด้อยประสบการณ์, เนื้อไก่, เนื้อนก, เนื้อเป็ด. -adj. ทำด้วยเนื้อไก่ -vi. chicken out หดหนีหรือไม่ทำเพราะความกลัว, Syn. sissy |
competent | (คอม'พิเทินทฺ) adj. มีความสามารถ (ความชำนาญประสบการณ์และคุณสมบัติที่เหมาะสมอื่น ๆ) , เพียงพอ, Syn. capable, able |
competitive | (คัมเพท'ทิทิฟว) adj. เกี่ยวกับการแข่งขัน, ซึ่งสามารถแข่งขันได้, มีความปรารถนาอันแรงกล้าที่จะแข่งหรือเพื่อประสบความสำเร็จ, See also: competitiveness n. ดูcompetitive, Syn. emulative, rivaling, Ant. cooperative |
coup | (คู) n. การดำเนินการอย่างกะทันหัน, การกระทำที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก, รัฐประหาร -pl. coups |
cropper | (ครอพ'เพอะ) n. ผู้เก็บเกี่ยว, ผู้เพาะปลูก, คนตัดไม้ประดับ, เครื่องมือตัดหญ้า, เครื่องมือตัดไม้ประดับ, เครื่องตัดผ้า, ล้มหัวทิ่ม, การประสบความล้มเหลวอย่างกะทันหันหรืออย่างสิ้นเชิง |
cross | (ครอส) { crossed, crossing, crosses } n. กากบาท, ไม้กางเขน, -Phr. (the Crossไม้กางเขนที่พระเยซูถูกตรึงตนตาย) , สัญลักษณ์ศาสนาคริสต์, ศาสนาคริสต์, แกงไต, รูปไขว้, ตรา, การตัดสลับกัน, การประสบอุปสรรค, ความลำบาก, ความยุ่งยากใจ, การผสมข้ามพันธ์ (สัตว์หรือพืช) , พันธุ์ผสม, หมัดเหว |
cub | (คับ) ลูกสัตว์, ลูกสุนัขจิ้งจอก, เด็กหนุ่มที่ไร้ประสบการณ์, คนอ่อนหัด, ลูกมือฝึกหัด, See also: cubbish adj. -S... |
empiric | (เอมเพอ'ริค) n. ผู้ที่อาศัยความชำนาญหรือประสบการณ์ (ไม่ใช่ความรู้) . ผู้อาศัยความสังเกต (ไม่ใช่อาศัยเหตุผล) หมอเถื่อน, หมอกำมะลอ. adj. ดูempirical, See also: empiricism n. ดูempiric empiricist n. ดูempiric |
empirical | (เอมพี'ริเคิล) adj. ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือการทดลองหรือการสังเกต (โดยไม่อาศัยวิทยาศาสตร์หรือทฤษฎี), See also: empiricalness n. ดูempirical |
encounter | (เอนเคา'เทอะ) vt. เผชิญหน้า, พบ, ประสบ, ปะทะ., See also: encounterer n. |
experience | (อิคซฺเพีย'เรียนซฺ) n. ประสบการณ์, ความชัดเจน, vt. ประสบ, พบ, รู้สึก., Syn. exposure |
experienced | (อิคเพีย'เรียนซฺทฺ) adj. มีประสบการณ์, ชัดเจน, ฉลาด, เชี่ยวชาญ, ชำนาญ |
expert | (เอค'ซฺเพิร์ทฺ) adj. ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีประสบการณ์ adj. เกี่ยวกับความชำนาญ., See also: expertness n., Syn. master |
fadge | (เฟดจฺ) vt. เหมาะกัน, พ้องกับ, ประสบความสำเร็จ, เจริญ, |
fare | (แฟรฺ) { fared, faring, fares } n. ค่าโดยสาร, โภชนาอาหาร. vi. กินอาหาร, มีประสบการณ์, ปรากฎ, ไป, ท่องเที่ยว., See also: farer n., Syn. food, get on |
fighting chance | โอกาสประสบความสำเร็จหลังการต่อสู้ดิ้นรน |
find | (ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search |
fledgeling | (เฟลดจฺ'ลิง) n. ลูกนกที่เริ่มมีปีก, คนที่ไม่มีประสบการณ์, Syn. tyro |
fledgling | (เฟลดจฺ'ลิง) n. ลูกนกที่เริ่มมีปีก, คนที่ไม่มีประสบการณ์, Syn. tyro |
fold | (โฟลดฺ) { folded, folding, folds } vt. พับ, ทบ, ห่อ, ไขว้, ปิด, ผนึก, หุ้ม, ผสม. vi. พับ, ปิด. -Phr. (fold up ล้มเหลว, ประสบความล้มเหลว) . n. ส่วนพับ, ส่วนทบ, ส่วนไขว้. -foldable adj., Syn. pleat |
fresh | (เฟรช) adj. สด, ใหม่, สดใส, สีไม่ตก, ไม่มีประสบการณ์ -n. การเริ่มต้น vt. vi. ทำให้สด. -adv. ใหม่, เมื่อเร็ว ๆ นี้, เดียวนี้ adj. ทะลึ่ง, ไม่มีมารยาท, See also: freshly adv. freshness n., Syn. recent, new |
gasser | (แกส'เซอะ) n. คนปล่อยแก๊ส, สิ่งที่ปล่อยแก๊ส, สิ่งที่ขบขันมาก, สิ่งที่ประสบความสำเร็จมาก, คนขี้โว |
gosling | (กอช'ลิง) n. ลูกห่าน, คนโง่ที่ไร้ประสบการณ์ |
green | (กรีน) adj. สีเขียว, เขียวชอุ่ม, ประกอบด้วยผัก, ยังไม่สุก, ยังไม่โตเต็มที่, อ่อนหัด, ไร้ประสบการณ์, ใหม่, สด, เร็ว ๆ นี้, ขีด, ซึ่งถูกฆ่าใหม่ ๆ , ไม่ติดไฟ. n. สีเขียว, วัตถุสีเขียว, ทุ่งหญ้าสีเขียว, ใบไม้สด ๆ , กิ่งไม้และใบไม้ที่ใช้เป็นอาหาร., Syn. li |
greenhorn | n. คนที่อ่อนหัด, คนที่ไม่มีประสบการณ์., Syn. greenhand |
groove | (กรูฟว) n. ร่อง, ราง, ท่อ, เพลา, ช่อง, เวลาที่เพลิดเพลิน, ประสบการณ์ที่เพลิดเพลิน. -in the groove ทันสมัย. vt. ทำเป็นร่อง, ใส่ในร่อง. vi. เพลิดเพลินมาก, ไปด้วยกันได้ดีกับ, เข้าใจ, เห็นคุณค่ายิ่ง, Syn. channel, furrow |
handsel | (แฮน'เซิล) n. ของขวัญ, ประสบการณ์แรกเริ่ม vt. ให้ของขวัญแก่, ทำพิธีเปิดกิจการ, ใช้เป็นครั้งแรก, พยายามหรือประสบเป็นครั้งแรก., Syn. hansel |
has-been | n. บุคคลหรือสิ่งของที่มีชื่อเสียงในอดีต, บุคคลที่เคยประสบความสำเร็จ สิ่งที่เคยประสบความสำเร็จ |
have | (แฮฟว) { have, had, had, having, has } vt. มี, ประกอบด้วย, ได้รับ, เป็น (โรค) , เอา, เอาได้, ประสบการณ์, ผ่าน, แสดง, ดำเนินการ, ม' (ลูก) , vi. มีเงิน. (auxiliary verb) -Phr. (had better (best) ควรจะ), Syn. possess, own, suffer |
hazard | (แฮซ'เซิร์ด) n. อันตราย, การเสี่ยง, สิ่งที่เป็นอันตราย, สิ่งที่ทำให้เกิดความลำบาก, ความไม่แน่นอน, เหตุบังเอิญ, อุบัติเหตุ, สิ่งกีดขวางในสนามกอล์ฟ vt. ทำให้เสี่ยง, เสี่ยง, ทำให้ประสบอันตราย, Syn. risk, danger, peril |
heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense |
implementation | การทำให้เกิดผลหมายถึง การลงมือทำเพื่อให้โครงการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่งประสบผลสำเร็จ อาจใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือบางชนิดช่วยก็ได้ |
incur | (อินเคอร์') vt. ก่อให้เกิด, ทำให้เกิด, ประสบ, ได้รับ., See also: incurable adj., Syn. acquire |
inexperience | (อินอิคซฺเพีย'เรียนซฺ) n. การไม่มีประสบการณ์, ความอ่อนหัด, การขาดความชำนาญ, Syn. immaturity |
inexperienced | (อินอิคซฺเพีย'เรียนซฺทฺ) adj. ไม่มีประสบการณ์, อ่อนหัด, ขาดความชำนาญ |
jackpot | n. เงินกองกลางที่พอกขึ้นในการเล่นการพนันหรือโป๊กเกอร์รางวัลใหญ่, รางวัลที่หนึ่ง, เงินพนันจำนวนมาก. -Phr. (hit the jackpot ประสบความสำเร็จมาก, ประสบโชคลาภอย่างกะทันหัน), Syn. jack pot |
jinx | (จิงคฺซฺ) n. ผู้หรือสิ่งที่นำโชคร้ายมา, ตัวซวย vt. นำโชคร้าย, มา, ทำให้ประสบเคราะห์ร้าย, Syn. hex |
learning | (เลิร์น'นิง) n. การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การปรับบุคลิกภาพจากการปฏิบัติฝึกฝนหรือประสบการณ์, Syn. education |
chick | (n) ลูกไก่, ลูกนก, เด็ก, ผู้ด้อยประสบการณ์ |
chicken | (n) ลูกไก่, ลูกนก, เด็ก, ผู้ด้อยประสบการณ์ |
colt | (n) ลูกม้า, เด็กหนุ่ม, คนอ่อนหัด, คนด้อยประสบการณ์ |
empirical | (adj) เกี่ยวกับการทดลอง, ชัดเจน, โดยอาศัยการสังเกต, ซึ่งได้จากประสบการณ์คี |
experience | (n) ความเคยชิน, ประสบการณ์, ความเจนจัด |
experience | (vt) รู้สึก, ประสบ, พบเห็น, เคยชิน |
experienced | (adj) ชำนาญ, มีประสบการณ์, จัดเจน, เชี่ยวชาญ |
experimental | (adj) เป็นการทดลอง, เกี่ยวกับประสบการณ์ |
fare | (vi) ปรากฏ, มีประสบการณ์, เป็นไป, เกิดขึ้น, ท่องเที่ยวไป, จินตนาการ |
find | (vi, vt) พบ, หา, ค้น, สืบหา, ประสบ, สืบสวน, ตัดสิน, ชี้ขาด, รู้, ทราบ, สำนึก |
fledgling | (n) ลูกนก, คนด้อยประสบการณ์ |
foretaste | (vt) ลิ้มรส, ลองชิม, มีประสบการณ์มาก่อน |
greenhorn | (n) คนอ่อนหัด, คนหน้าใหม่, มือใหม่, คนหนุ่ม, คนด้อยประสบการณ์ |
inexperience | (n) การขาดประสบการณ์, ความอ่อนหัด |
inexperienced | (adj) ไม่จัดเจน, อ่อนหัด, ขาดประสบการณ์, ขาดความชำนาญ |
knockout | (n) การน๊อกเอ๊าท์, การประสบความสำเร็จ |
novelty | (n) ความใหม่, ของใหม่, ของแปลก, ประสบการณ์ใหม่ |
obtain | (vi) แพร่หลาย, ประสบผลสำเร็จ |
practised | (adj) คล่อง, มีประสบการณ์, มีสมรรถภาพ |
receive | (vt) ต้อนรับ, ได้รับ, ยอมรับ, ประสบ, รับฟัง |
success | (n) ชัยชนะ, ความสำเร็จ, ผลสำเร็จ, การประสบความสำเร็จ |
suffer | (vi) เจ็บปวด, ตกทุกข์, ประสบ, ทนทุกข์, อดทน |
triumph | (vi) มีชัย, ประสบชัยชนะ |
undergo | (vt) ได้รับ, ทน, ประสบ, ผ่าน |
versed | (adj) ชำนาญ, เชี่ยวชาญ, มีประสบการณ์ |
veteran | (adj) เก่าแก่, มีประสบการณ์, จัดเจน, ช่ำชอง |
veteran | (n) ทหารผ่านศึก, ผู้มีประสบการณ์ |
way | (n) ทาง, นิสัย, ท่าทาง, สภาพ, แผน, ประสบการณ์ |
winning | (adj) ซึ่งชนะ, ซึ่งประสบผลสำเร็จ |