ประธาน | (adj) principal, See also: main, chief, Syn. สำคัญ, Thai Definition: ที่เป็นหลักสำคัญ |
ประธาน | (n) president, See also: chairman, chief, leader, Syn. นายงาน, เจ้าของ, ผู้บังคับบัญชา, หัวหน้า, ผู้นำ, ผู้มีอำนาจ, Example: ประธานบริษัทจัดงานเลี้ยงต้อนรับพนักงานใหม่, Count Unit: คน, Thai Definition: ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม |
ประธาน | (n) subject, Example: คำนามตำแหน่งหน้ากริยาคือประธานของประโยค, Count Unit: ตัว, Notes: ไวยากรณ์ |
พระประธาน | (n) principle Buddha image in a temple, See also: image of Buddha in a temple, Example: พระประธานที่ประดิษฐาน ณ อุโบสถวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษกได้รับการออกแบบจากเรืออากาศเอกอาวุธ เงินชูกลิ่น, Count Unit: องค์, Thai Definition: พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหรือวิหาร, Notes: (ราชา) |
รองประธาน | (n) vice chairman, Thai Definition: เป็นตำแหน่งที่สองรองจากตำแหน่งประธาน |
ประธานรัฐสภา | (n) Speaker of Parliament, See also: President of the National Assembly, Example: พรรคฝ่ายค้านพยายามรวบรวมเสียงของส.ส.เพื่อเข้าชื่อกันขอให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ |
ประธานาธิบดี | (n) president, Syn. ผู้นำ, ผู้ปกครอง, ประมุข, Example: ประธานาธิบดีถูกลอบสังหารโดยกลุ่มผู้ปฏิวัติ, Count Unit: คน, Thai Definition: ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ |
ประธานกรรมการ | (n) committee chairman, See also: chairman of the board, Example: ผมได้รับมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการกสช. ในพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด, Count Unit: คน |
ประธานที่ประชุม | (n) chairman, See also: president, Count Unit: คน, ท่าน |
รองประธานกรรมการ | (n) vice-president, Example: ท่านคงจะต้องปรึกษากับรองประธานกรรมการอีกทีหนึ่ง |
ประธานกรรมการผู้บริหารระดับสูง | (n) senior executive managing director |
ประธาน ๑ | น. ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ตำแหน่งประธานรัฐสภา ตำแหน่งประธานกรรมการ, เรียกผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการ. |
ประธาน ๑ | ว. ที่เป็นหลักสำคัญในที่นั้น ๆ เช่น พระประธาน. |
ประธาน ๒ | น. ผู้กระทำ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็นประธานของกริยา วิ่ง คนกินข้าว คน เป็นประธานของกริยา กิน. |
ประธาน ๓ | น. ความเพียร มี ๔ อย่าง คือ ๑. สังวรประธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานประธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาประธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาประธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม. |
ประธานาธิบดี | (ปฺระทานาทิบอดี, ปฺระทานาทิบบอดี) น. ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ. |
ประโยคประธาน | น. หลักไวยากรณ์, หลัก. |
พระประธาน | น. พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหรือวิหารเป็นต้น. |
ร่วมนอกประธาน | น. พื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมฝาด้านในจนถึงริมนอกของเสาร่วมใน และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมนอก ก็เรียก. |
ร่วมในประธาน | น. พื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมนอกของเสาร่วมในแถวหนึ่งถึงริมนอกของเสาร่วมในอีกแถวหนึ่ง และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมใน ก็เรียก. |
เสาในประธาน | น. เสาภายในอุโบสถ วิหาร ที่ตั้งเป็นคู่ ๆ แบ่งพื้นที่ระหว่างเสาเป็นห้อง ๆ ตั้งขึ้นไปรับโครงสร้างหลังคา มีทั้งเสากลม เสาเหลี่ยม เป็นต้น, เสาประธาน หรือ เสาร่วมใน ก็เรียก. |
เสาประธาน | น. เสาภายในอุโบสถ วิหาร ที่ตั้งเป็นคู่ ๆ แบ่งพื้นที่ระหว่างเสาเป็นห้อง ๆ ตั้งขึ้นไปรับโครงสร้างหลังคา มีทั้งเสากลม เสาเหลี่ยม เป็นต้น, เสาในประธาน หรือ เสาร่วมใน ก็เรียก. |
หนี้ประธาน | น. หนี้หลักหรือหนี้ที่เกิดขึ้นโดยตรงจากมูลหนี้อันใดอันหนึ่ง. |
กรรตุวาจก | (กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ). |
กรรมการก | (กำมะ-) น. ผู้ถูกทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก, ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทำเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตำรวจยิง. |
กรรมวาจก | (กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก. |
การก | (กา-รก) ก. กริยาที่ทำหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก. |
การิตการก | (การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน. |
การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน. |
ขึ้นชื่อว่า | ใช้เป็นคำประกอบหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความ เช่น ขึ้นชื่อว่าคนพาลละก็ต้องหลีกให้ห่างไกล. |
คณะองคมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. |
คว่ำกระดาน | ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า. |
เจดีย์ทิศ | น. เจดีย์บริวารตั้งอยู่บนฐานไพทีหรือลานประทักษิณล้อมเจดีย์ประธาน มี ๔ องค์ เหมือนดังประจำทิศต่าง ๆ ตามคตินิยมทางจักรวาล. |
เจว็ด | โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่ได้รับยกย่องให้เป็นประธานหรือเป็นใหญ่ แต่ไม่มีอำนาจ เช่น ประธานไม่ได้เป็นเจว็ด ต้องมีสิทธิ์พิจารณาเรื่องที่เสนอได้ |
เฒ่าแก่ | ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เถ้าแก่ ก็ใช้. |
ถูก ๑ | เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทำ (มักใช้ในข้อความที่ทำให้ผู้ถูกทำเดือดร้อนหรือไม่พอใจ) เช่น ถูกเฆี่ยน ถูกลงโทษ. |
เถ้าแก่ | น. ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เฒ่าแก่ ก็ใช้ |
แถลง | (ถะแหฺลง) ก. บอก เล่า อธิบาย หรือแจ้งให้ทราบเป็นทางการ เช่น ส่วนรายละเอียดรองประธานจะแถลงให้ทราบต่อไป. |
ทำ | ดำเนินการ, ปฏิบัติงาน, เช่น ทำหน้าที่ประธาน ทำตามคำสั่ง ทำตามกฎหมาย |
ทิศาปาโมกข์ | น. “ผู้เป็นใหญ่เป็นประธานในทิศ”, อาจารย์ผู้มีความรู้และชื่อเสียงโด่งดัง. |
ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. |
ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย | น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีเหลืองรูปสี่เหลี่ยม มีภาพครุฑที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพครุฑจับนาคจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงผูกเป็นแพนเสียบที่กาบ ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เป็นต้น เข้าคู่กับ ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย หรือ ธงชัยราชกระบี่ยุทธ โดยธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวาของประธานในงาน และธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยหรือธงชัยราชกระบี่ยุทธอยู่ทางด้านซ้าย. |
ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย | น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีแดงรูปสี่เหลี่ยม มีภาพพระกระบี่คือหนุมานที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพหนุมานจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงเป็นแพนเสียบที่แผ่นกาบ มีอีกชื่อหนึ่งว่า ธงชัยราชกระบี่ยุทธ ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เป็นต้น เข้าคู่กับ ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย โดยธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยอยู่ทางด้านซ้ายของประธานในงาน และธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา. |
บริวาร | (บอริวาน) น. ผู้แวดล้อมหรือผู้ติดตาม เช่น พระพุทธเจ้ามีภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูปเป็นบริวาร, สิ่งที่เป็นส่วนประกอบหรือสมทบสิ่งอื่นที่เป็นประธาน เช่น บริวารกฐิน. |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
ปรัศว์ | เรียกอาคาร ๒ หลังที่อยู่ขนานกัน ซึ่งอยู่ต่อท้ายพระที่นั่งที่เป็นประธาน ว่า พระปรัศว์ เช่น ในหมู่พระมหามณเฑียร มีพระที่นั่งเทพสถานพิลาสเป็นพระปรัศว์ขวา พระที่นั่งเทพอาศน์พิไลเป็นพระปรัศว์ซ้าย, โบราณเขียนว่า พระปลัด ก็มี. |
ปาพจน์ | น. คำเป็นประธาน, พุทธวจนะ, คำบาลี. |
ปาโมกข์ | น. ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้เป็นประธาน. |
แป | น. ส่วนหนึ่งของโครงสร้างหลังคา วางอยู่บนโครงสร้างอื่น ๆ ได้แก่ จันทัน ปลายเต้า เสาตุ๊กตา ปลายขื่อ และปลายขื่อประธาน ทำหน้าที่รับกลอนหรือรับเครื่องมุงโดยตรง. |
แปหัวเสา | น. แปซึ่งพาดบนหัวเสาประธาน มักมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส. |
พระอันดับ | น. พระลูกวัด, พระอนุจร ก็เรียก, พระผู้มิได้เป็นประธานหรือคู่สวดในสังฆกรรม เช่น พระอันดับนาค (พระอันดับในพิธีบวชนาค) พระอันดับแจง (พระอันดับในพิธีสวดแจง), โดยปริยายหมายถึงผู้น้อยที่เข้าร่วมพิธีโดยมิได้มีบทบาทสำคัญอะไร. |
แพแตก | ว. ลักษณะที่ครอบครัวเป็นต้นแตกกระจัดกระจายแยกย้ายกันไปเพราะหัวหน้าครอบครัวหรือผู้เป็นหลักเป็นประธานประสบความวิบัติหรือเสียชีวิต. |
มหาชัย | น. ชื่อเพลงไทยโบราณ อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน อยู่ในเรื่องทำขวัญ ต่อมาแปลงเป็นทางฝรั่งใช้เป็นเพลงคำนับเมื่อบุคคลสำคัญมาถึงมณฑลพิธี, สำนักพระราชวังและข้อบังคับกระทรวงกลาโหมกำหนดให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยรับและส่งเสด็จในพิธีการที่พระบรมวงศ์เสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จไปทรงเป็นประธาน และบรรเลงรับและส่งประธานในพิธีการที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และบรรเลงเป็นเพลงเคารพธงราชวงศ์เวลาผ่านหรือขึ้นลง นายทหารที่มียศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ. |
มหาดไทย | น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์. |
แม่ | เรียกสิ่งที่เป็นประธานของสิ่งต่าง ๆ ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ |
แม่ลาย | น. ลายตอนที่เป็นประธานมีซํ้า ๆ กันเป็นแถวไป. |
โมกข์ ๒ | ว. หัวหน้า, ประธาน. |
ยืนชิงช้า | น. เรียกข้าราชการที่เป็นประธานในพิธีโล้ชิงช้าแทนพระเจ้าแผ่นดิน ว่า พระยายืนชิงช้า. |
ร่วมนอก | พื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมฝาด้านในจนถึงริมนอกของเสาร่วมใน และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมนอกประธาน ก็เรียก. |
ร่วมใน | พื้นที่ภายในอุโบสถ วิหาร มีความกว้างตั้งแต่ริมนอกของเสาร่วมในแถวหนึ่งถึงริมนอกของเสาร่วมในอีกแถวหนึ่ง และมีความยาวตลอดถึงฝาหุ้มกลองทั้ง ๒ ด้าน, ร่วมในประธาน ก็เรียก. |
รัฐพิธี | น. งานที่รัฐบาลจัดขึ้นโดยกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทรงรับไว้มีกำหนดการเป็นประจำ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน เช่นวันที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า. |
preside | เป็นประธาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
President | ประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
president | ๑. ประธาน, ประธานที่ประชุม, นายก๒. อธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
President | ประธานาธิบดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
president | ๑. ประธาน, ประธานที่ประชุม (ก. ทั่วไป)๒. กรรมการผู้จัดการ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
president pro tempore | ประธานชั่วคราว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
President, Vice | รองประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
president, vice | ๑. รองประธาน, รองประธานที่ประชุม, อุปนายก๒. รองอธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
president-elect | ว่าที่ประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
principal thing | ทรัพย์ที่เป็นประธาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
presidential government | การปกครองระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
presidential system | ระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
presidential-congressional system | ระบบประธานาธิบดีและรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lord Chancellor; Lord High Chancellor | ประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษ (เป็นประธานสภาขุนนางด้วย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lord High Chancellor | ประธานศาลสูงของอังกฤษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rule, gavel | การรักษาระเบียบในสภา (โดยประธานเคาะค้อน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Speaker | ประธานสภาผู้แทนราษฎร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Speaker of the House | ประธานสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
system, presidential | ระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
son, favourite | ตัวเก็งของท้องถิ่น (ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bronchus, main | หลอดลมประธาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
main bronchus | หลอดลมประธาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
main | สำคัญ, ประธาน, ใหญ่, หลัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
catching the Speaker's eye | สบตาประธานสภา (เพื่อขออภิปราย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chairman | ประธาน, ประธานที่ประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
CIO (chief information officer) | ซีไอโอ (ประธานฝ่ายสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CIO (chief information officer) | ซีไอโอ (ประธานฝ่ายสารสนเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Chancellor, Lord High | ประธานศาลสูงของอังกฤษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chief executive officer (CEO) | ประธานบริหาร (ซีอีโอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
chief executive officer (CEO) | ประธานบริหาร (ซีอีโอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chief information officer (CIO) | ประธานฝ่ายสารสนเทศ (ซีไอโอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
chief information officer (CIO) | ประธานฝ่ายสารสนเทศ (ซีไอโอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Chief Justice | ๑. ประธานศาลสูงสุด (อเมริกัน)๒. ประธานศาลฎีกา (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Chief Justice | ประธานศาลฎีกา (ไทย), ประธานศาลสูงสุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
CEO (chief executive officer) | ซีอีโอ (ประธานบริหาร) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CEO (chief executive officer) | ซีอีโอ (ประธานบริหาร) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
gavel rule | การรักษาระเบียบในสภา (โดยประธานเคาะค้อน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, presidential | การปกครองระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
favourite son | ตัวเก็งของท้องถิ่น (ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Vice President | รองประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vice president | ๑. รองประธาน, รองประธานที่ประชุม, อุปนายก๒. รองอธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Presidential candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดี [TU Subject Heading] |
Presidents | ประธานาธิบดี [TU Subject Heading] |
Presidents' spouses | คู่สมรสประธานาธิบดี [TU Subject Heading] |
ASEAN-Australia Forum | การประชุมอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกๆ 18 - 24 เดือน โดยหัวหน้าคณะ ผู้แทนของออสเตรเลียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนจะเป็นระดับเจ้าหน้าที่ อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) และเป็นประธานร่วมของการประชุม เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างกันในทุกด้าน [การทูต] |
Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] |
ASEAN Ministerial Meeting | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " เป็นการประชุมประจำปีของรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำอาเซียนจะเป็น เจ้าภาพ ส่วนใหญ่จะจัดการประชุมในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี " [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
Asia Europe Meeting | การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต] |
East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] |
Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] |
Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
General Border Committee | คณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
High Level Panel on Threats, Challenges and Change | คณะผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงว่าด้วยภัยคุกคาม ความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง แต่งตั้งโดยนาย Kofi Annan เลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 16 คน มีนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายก - รัฐมนตรีเป็นประธาน [การทูต] |
International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] |
International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] |
International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Palestinian Liberation Organization | องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2507 เพื่อเป็นตัวแทนของชาวปาเลสไตน์ มีนาย Yasser Arafat เป็นประธาน PLO มีฐานะเป็นผู้สังเกตการณ์ (observer) ในสหประชาชาติ [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] |
Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] |
Subcommittee on Neighbouring Countries Economic Development Cooperation | คณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2546 ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (อพบ.) ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้มีคำสั่งที่ 4 / 2547 เมื่อ 6 พฤษภาคม 2547 จัดตั้ง อพบ. แล้ว โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและเอกชนเป็นอนุกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับกรมเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นอนุกรรมการและฝ่ายเลขานุการ อพบ. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเสนอแนะนโยบาย แผนงานและโครงการตามแผนงานการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงาน ACMECS ด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของ ACMECS มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทำหน้าที่เป็นหน่วย งานหลักในการประสานกับหน่วยงานภายในของไทยให้ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติ การ และกระทรวงการต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับประเทศ สมาชิก ACMECS [การทูต] |
Termination of Consular Office | การยุติลงของการหน้าที่ทางการกงสุล กล่าวคือ หน้าที่ของหัวหน้าคณะในสถานที่ทำการทางกงสุลจะยุติลงเนื่องจาก 1. วายชนม์2. รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับ3. รัฐผู้รับเพิกถอนอนุมัติบัตร (Exequatur)4. การหน้าที่ของผู้นั้นได้ถึงกำหนดครบวาระหรือยุติลง5. เกิดสงครามระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับไม่เหมือนกับกรณีคณะผู้แทนทางการทูต สถานที่ทำการทางกงสุลนั้น ภาระหน้าที่จะไม่ยุติลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนกษัตริย์หรือประธานาธิบดีของ รัฐผู้ส่งหรือรัฐผู้รับ ข้อ 25 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาบัญญัติไว้ว่า ?การหน้าที่ของบุคคลในสถานที่ทำการกงสุลจะยุติลงก) เมื่อรัฐผู้ส่งได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้รับว่า การหน้าที่ของบุคคลดังกล่าวได้ยุติลงแล้วข) เมื่อมีการเพิกถอนอนุมัติบัตรค) เมื่อรัฐผู้รับได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้ส่งว่า รัฐผู้รับได้เลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล [การทูต] |
visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] |
white tie | ชุดราตรีสโมสร " เสื้อสูทหางยาวสีดำ กางเกงสีดำมีผ้าผูกคอหูกระต่าย (bow-tie) สีขาว เสื้อเชิ้ตสีขาว แถบดิ้นไหมสีดำ ใช้ในโอกาสงานกลางคืนที่จัดอย่างเป็นทางการ (งานราตรีสโมสร-formal evening entertainments) เช่น งานพระราชทานเลี้ยงกระยาหารค่ำเพื่อเป็นเกียรติแก่ประธานาธิบดี ซึ่งมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการ งานแสดงอุปรากร งานเต้นรำ " [การทูต] |
Fragments, Main | ชิ้นประธาน [การแพทย์] |
active | (adj) ซึ่งประธานเป็นผู้กระทำ(คำกริยา) |
agreement | (n) ความสอดคล้องทางไวยากรณ์, See also: ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา |
Air Force One | (n) เครื่องบินสำหรับประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา |
chair | (vt) ดำรงตำแหน่งประธาน, See also: ทำหน้าที่ในฐานะประธาน, Syn. preside |
chair | (n) ตำแหน่งประธาน, Syn. chairmanship, headship |
chairman | (n) ประธาน, Syn. chairperson, president |
chairman | (vt) เป็นประธาน, Syn. chair |
chairmanship | (n) ความเป็นประธาน, See also: ความเป็นหัวหน้า, Syn. headship, chair |
chairperson | (n) ประธาน, Syn. chairman, president |
chairwoman | (n) ประธานที่เป็นผู้หญิง |
Chief Executive | (n) ประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา |
electoral vote | (n) คะแนนเสียงที่ผู้แทนรัฐลงให้เพื่อเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิดีของสหรัฐอเมริกา |
Inauguration Day | (n) วันประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง (20 ม.ค.) |
is | (aux) เป็น / อยู่ / คือ (กริยาช่วยที่ใช้กับประธานเอกพจน์) |
Lincoln, Abraham | (n) ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของประเทศสหรัฐอเมริกา |
moderate | (vt) เป็นประธาน, See also: เป็นผู้เปิดงาน, Syn. chair, lead |
Monroe | (n) ประธานาธิบดีมอนโร (คนที่ห้า) ของอเมริกา |
Mr.President | (n) ท่านประธานาธิบดี |
national convention | (n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี |
nominative | (adj) ซึ่งเป็นประธานของประโยค |
nominative | (n) รูปคำนาม/สรรพนาม/คุณศัพท์เมื่อเป็นประธานของประโยค |
presidency | (n) ตำแหน่งประธานาธิบดี, See also: ี, Syn. position, chairmanship |
presidency | (n) งานรับผิดชอบของประธานาธิบดี |
president | (n) ประธานาธิบดี |
president | (n) ประธาน, See also: อธิการบดี, ผู้มีอำนาจในการบริหาร, บุคคลสำคัญขององค์กร, Syn. director, chairman, VIP, Ant. laborer |
president-elect | (n) ผู้ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีแต่ยังไม่ได้เข้ารับตำแหน่ง |
presidential | (adj) เกี่ยวกับประธานาธิบดี |
presidentship | (n) ทำเนียบประธานาธิบดี |
prexy | (n) ประธาน (คำสแลง) |
Prez | (n) ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา |
prolocutor | (n) ประธานหรือประธานสภา |
provost | (n) ผู้เป็นประธาน, Syn. supervisor |
preside at | (phrv) เป็นประธาน (ในพิธี), Syn. preside over |
preside over | (phrv) เป็นประธาน, See also: ทำหน้าที่นำการประชุม, Syn. preside at |
reflexive | (adj) ซึ่งเป็นสรรพนามที่ย้อนกลับไปหาประธาน (ทางไวยากรณ์) |
subject | (n) ประธานของประโยค |
Van Buren, Martin | (n) ประธานาธิบดีคนที่ 8 ของอเมริกา (ค.ศ 1837-1841) |
veep | (n) รองประธานาธิบดี (คำสแลง) |
vice president | (n) รองประธานาธิบดี, See also: รองประธานบริษัท |
Vice President | (n) รองประธานาธิบดี |
vice-chairman | (n) รองประธาน |
vice-presidencial | (adj) เกี่ยวกับรองประธาน |
vice-presidency | (n) การเป็นรองประธาน |
vice-president | (n) รองประธาน, See also: รองประธานาธิบดี, Syn. administrator |
White House | (n) ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน ดี ซี, Syn. Executive Mansion |
amphictyon | (แอมฟิค' ทิยัน) n. รองประธานสภาของ amphictyony |
canst | (แคนสฺทฺ) auxv. ดูcan (ใช้เมื่อประธานเป็นthou) |
ceo | (ซีอีโอ) ย่อมาจาก chief executive officer หรือ ประธานกรรมการบริหาร เป็นตำแหน่งสูงสุดในการบริหารงานที่ใช้กันในศูนย์คอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ทั่วไป |
chairman | (แชร์'เมิน) n.ประธาน, -vt. เป็นประธานที่ประชุม |
chairmanship n. | ตำแหน่งหรือประธาน |
cheerleader | n. ประธานเชียร์ |
chief executive | n. ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา |
chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
cochairman | n. ประธานร่วม -pl. cochairmen |
commander in chief | (-อินชีฟ) n. ผู้บัญชาการทหารสุงสุด, จอมทัพ, แม่ทัพ, ประธานาธิบดี -pl. (commanders in chief) |
commodore | (คอม'มะดอร์) n. พลเรือจัตวา, นาวาเอกพิเศษ, ผู้บังคับการขบวนเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่, ประธานหรือหัวหน้าสโมสรเล่นเรือ |
electoral vote | คะแนนเสียงที่ลงโดยผู้แทนรัฐ (electoral college) ในการเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา |
grand inquisitor | ประธานคณะผู้สอบสวนความผิด |
inauguration day | วันเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (วันที่ 20 มกราคม หลังจากได้รับเลือกตั้ง) |
lord chancellor | n. อธิบดีศาลสูงสุด, ประธานสภาขุนนาง |
lord high chancellor | n. อธิบดีศาลสูงสุด, ประธานสภาขุนนาง |
moderate | (มอด'เดอริท) adj. ปานกลาง, พอสมควร, พอประมาณ, ไม่รุนแรง, ไม่มากเกินไป, เพลา ๆ n. ผู้มีข้อคิดเห็นไม่รุนแรง v. บรรเทา, ทำให้น้อยลง, เป็นพิธีกร, เป็นประธานการดำเนินงาน., See also: moderately adv. moderateness n., Syn. sparing |
moderator | (มอด'ดะเรเทอะ) n. พิธีกร, ประธานการประชุม, See also: moderatorial adj., Syn. mediator, master of ceremony |
nominative | (นอม'มะเนทิฟว) adj. เกี่ยวกับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, ระบุชื่อ. n. ประธานของประโยค, กรรตุการก |
preside | (พรีไซดฺ') vi. นำการประชุม, เป็นประธานการประชุม, บรรเลงนำ, ควบคุม., See also: presider n., Syn. chair, moderate |
presidency | (เพรส'ซิเดินซี) n. ตำแหน่งประธาน, ตำแหน่งประธานาธิบดี, ตำแหน่งนายก |
president | (เพรส'ซิเดินทฺ) n. ประธาน, นายก, ประธานาธิบดี, ประมุข, ประธานบริษัท, อธิการบด' (ของมหาวิทยาลัยอเมริกา) , คณบดี (ของมหาวิทยาลัยในอังกฤษ), Syn. chairman |
president-elect | (เพรส'ซิเดินทฺ'-) n. ประธานาธิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งแต่ยังไม่ได้เข้าดำรงตำแหน่ง |
prex | (เพรค'ซี) n. ประธาน (โดยเฉพาะอธิการบดีมหาวิทยาลัย, Syn. president |
prexy | (เพรค'ซี) n. ประธาน (โดยเฉพาะอธิการบดีมหาวิทยาลัย, Syn. president |
principal | (พริน'ซะเพิล) adj. อันดับแรก, อันดับหนึ่ง, สำคัญที่สุด, หัวหน้า, ตัวการ, รายใหญ่, เงินต้น, ทุน. n. หัวหน้า, ผู้อำนวยการ, ครูใหญ่, อธิการบดี, ประธาน, เงินต้น, ต้นทุน, ผู้ว่าอ้าง, ตัวการสำคัญ, โครงร่างสำคัญ., See also: principalship n. |
provost | (พรอฟ'โวสทฺ, โพร'โวสทฺ) n. ผู้เป็นประธาน, ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารชั้นสูงของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย, พระครู, หัวหน้าพระศาสนา, See also: provostship n., Syn. chairman, president |
right | (ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม |
speaker | (สพี'เคอะ) n. ผู้พูด, ผู้บรรยาย, ประธานสภานิติบัญญัติ, เครื่องขยายเสียง, หนังสือฝึกพูด., See also: speakership n., Syn. lecturer, orator |
subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, |
vice president | รองประธาน, รองประธานาธิบดี, See also: vice presidency n. vice-presidency n. vice-presidential adj., Syn. vice-president. |
vice-chairman | (ไวสฺ'แชร์'เมิน) n. รองประธาน pl. vice-chairmen |
white house | n. ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน , รัฐบาลสหรัฐอเมริกา |
Präsident | (n) |der, pl. Präsidenten| ประธานาธิบดี, ประธาน, See also: die Präsidentin |
Vorsitzende | (n) |der/die, pl. Vorsitzende| ประธาน (ทั้งชายและหญิง) |
der | (artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน |
ein | หนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศชายและเพศกลางที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปประธาน เช่น ein Hund (m)สุนัขตัวหนึ่ง, ein Haus (n) บ้านหนึ่งหลัง, See also: eins |
eine | หนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศหญิงที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปประธาน เช่น eine Schule โรงเรียนแห่งหนึ่ง, See also: ein |
er | (pron) เขา หรือ สรรพนามสำหรับคำนามเพศชายในรูปประธาน, See also: sie, es |
es | มัน เป็นสรรพนามสำหรับคำนามเพศกลางทั้งรูปประธาน(Nominativ) และกรรมตรง (Akkusativ) |
ich | (pron) ฉัน, ดิฉัน, ผม (คำสรรพนามบุรุษที่ 1รูปประธาน) เช่น Ich bin groß. |
du | (pron) เธอ, นาย (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน) เช่น Du bist groß. |
sie | (pron) หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศหญิง) เช่น Sie ist groß. |
es | (pron) มัน (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศกลาง) เช่น Es ist groß. |
er | (pron) เขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศชาย) เช่น Er ist groß. |
wir | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Wir sind groß. |
sie | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Sie sind groß. |
Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß. |
Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. |
ihr | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ) เช่น Ihr seid groß. |
jede | |+ คำนามเพศหญิง หรือ เป็นคำแทนนามเพศหญิง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Fast jede Frau mag Blumen. ผู้หญิงเกือบทุกคนชอบดอกไม้ |
jeder | |+ คำนามเพศชาย หรือ เป็นคำแทนนามเพศชาย รูปประธาน| ทุกๆ เช่น Jeder in meiner Familie ist groß. ทุกคนในครอบครัวของผมสูงใหญ่ (jeder = jeder Mann), Jeder Film ist auf Deutsch. ภาพยนตร์ทุกเรื่องเล่นเป็นภาษาเยอรมัน |
jedes | |+ คำนามเพศกลาง หรือ เป็นคำแทนนามเพศกลาง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Hast du jedes Buch schon gelesen? เธออ่านหนังสือทุกเล่มหรือยังเอ่ย |
werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, wurde + Partizip 2 ท้ายประโยค| ถูก(กระทำ) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่ประธานถูกกระทำ เช่น Werden Sie schon bedient? คุณถูก(ได้รับ)บริการแล้วหรือยังครับ |
es gibt etw. | มีสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (โดยไม่มีการเฉพาะเจาะจงประธาน) เช่น Es gibt gar kein einziges Ei im Kühlschrank. ไม่มีไข่สักฟองในตู้เย็น |
mein | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น mein alter Tisch, mein altes Haus |
meine | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meine alte Hose |
mein | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น mein altes Haus |
meine | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meine alten Tische, meine alten Häuser, meine alten Hosen |
meinen | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น meinen alten Tisch |
euren | 1) ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น euren alten Tisch |
meinem | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meinem alten Haus, meinem alten Tisch |
meiner | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น meiner alten Hose |
meinen | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meinen alten Tische, meinen alten Häuser, meinen alten Hosen |
meines | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meines alten Hauses, meines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) |
meiner | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meiner alten Hose |
meiner | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meiner alten Hosen, meiner alten Häuser, meiner alten Tische |
dein | ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น dein alter Tisch, dein altes Haus |
deine | 1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น deine alte Hose |
dein | ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น dein altes Haus |
deine | 2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น deine alten Tische, deine alten Häuser, deine alten Hosen |
deinen | 1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น deinen alten Tisch |
eure | 1) ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น eure alten Tische, eure alten Häuser, eure alten Schulen |
deinem | ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deinem alten Haus, deinem alten Tisch |
deiner | 1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น deiner alten Hose |
deinen | 2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น deinen alten Tische, deinen alten Häuser, deinen alten Hosen |
deines | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deines alten Hauses, deines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) |
deiner | 2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น deiner alten Hose |
Ihr | ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น Ihr alter Tisch, Ihr altes Haus |
Ihre | 1) ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น Ihre alte Hose |
Ihr | ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น Ihr altes Haus |
Ihre | 2) ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น Ihre alten Tische, Ihre alten Häuser, Ihre alten Hosen |
Ihren | 1) ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น Ihren alten Tisch |