ประชุม | (v) meet, See also: hold a meeting, gather, round up, assemble, congregate, convene, Syn. หารือ, สัมมนา, ถกเถียง, แสดงความคิดเห็น, Example: พวกเราร่วมกันประชุมอีกครั้งก่อนที่จะนำเอาแผนงานไปปฏิบัติจริง, Thai Definition: มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ |
วงประชุม | (n) meeting, Syn. ที่ประชุม, Example: บรรยากาศในวงประชุมตึงเครียดมากจนทุกคนรู้สึกอึดอัด, Thai Definition: กลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมประชุม |
หอประชุม | (n) auditorium, See also: hall, Syn. ห้องประชุม, Example: นักศึกษาเข้าไปดูการแสดงดนตรีไทยในหอประชุม, Count Unit: หลัง, Thai Definition: ห้องประชุมขนาดใหญ่ |
การประชุม | (n) meeting, See also: convention, assembly, conference, congress, session, Syn. การสัมมนา, Example: มีการประชุมระหว่างชาติครั้งสำคัญในกรุงเทพฯ |
ที่ประชุม | (n) conference, See also: meeting, convention, assembly, congress, convention, colloquium, parley, interchange, Syn. ห้องประชุม |
ปิดประชุม | (v) close a meeting, See also: terminate a meeting, Ant. เปิดประชุม, Example: ประธานไม่ตอบคำถามแต่รีบปิดประชุมทันที, Thai Definition: หยุดการประชุม |
สมัยประชุม | (n) session, Syn. วาระประชุม |
สมัยประชุม | (n) session, Example: ถึงแม้ว่าระหว่างนี้จะเป็นช่วงเวลาปิดสมัยประชุมรัฐสภา แต่ข่าวเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองก็มิได้ซบเซาตามไปด้วย |
ห้องประชุม | (n) meeting room, See also: auditorium, assembly hall, boardroom, conference room, Example: การประชุมกลุ่มย่อยซึ่งแยกห้องประชุม เป็นการประชุมที่ต้องใช้เวลามากเป็นพิเศษ, Count Unit: ห้อง |
องค์ประชุม | (n) quorum, Example: กรรมการวิสามัญฯ ได้นัดหน่วยงานมาประชุมจึงเกรงกันว่าจะไม่ครบองค์ประชุม, Thai Definition: จำนวนสมาชิกหรือกรรมการอย่างน้อยที่กำหนดไว้ว่าต้องมาประชุม จึงจะดำเนินการประชุมได้ |
โต๊ะประชุม | (n) conference table |
ประชุมเพลิง | (v) cremate, See also: light the funeral pyre, burn a corpse, Syn. เผาศพ, ฌาปนกิจศพ, Example: ประธานในงานศพประชุมเพลิงเป็นคนแรก |
ประชุมสุดยอด | (n) summit, See also: summit conference, summit talk, Syn. การประชุมสุดยอด, Example: องค์การสหประชาชาติกำลังจะจัดการประชุมสุดยอดของโลกในเดือนมีนาคม, Count Unit: ครั้ง, คราว, Thai Definition: การประชุมระหว่างประเทศของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารระดับสูงของรัฐบาล |
ผู้ร่วมประชุม | (n) attendee at a meeting, See also: participant at a meeting, Syn. ผู้เข้าร่วมประชุม, Example: ผู้ร่วมประชุมซึ่งเป็นชาวมุสลิมต่างไม่กินอาหารและดื่มน้ำในช่วงกลางวัน เนื่องจากยังอยู่ในช่วงถือศีลอดในเดือนรอมฎอน, Count Unit: คน |
ผู้เข้าประชุม | (n) meeting, See also: audience, Syn. ที่ประชุม |
ประชุมพงศาวดาร | (n) annals, See also: historical annals, chronicle, historical record, Example: เขารวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากประชุมพงศาวดาร, Thai Definition: เอกสารรวบรวมเรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น |
ประธานที่ประชุม | (n) chairman, See also: president, Count Unit: คน, ท่าน |
รายงานการประชุม | (n) minutes, See also: the proceedings, Example: เลขานุการมีหน้าที่ดำเนินงานด้านธุรการพัสดุการเงิน การประชาสัมพันธ์ จัดการประชุม และจัดทำรายงานการประชุม, Count Unit: ฉบับ, เรื่อง, Thai Definition: รายละเอียดหรือสาระของการประชุมที่จดไว้เป็นทางการ |
ระเบียบวาระการประชุม | (n) agenda, Syn. วาระการประชุม, ระเบียบวาระ, Example: ระเบียบวาระการประชุมนี้จะผูกพันให้ทั้งสองฝ่ายต้องเจรจา เฉพาะในเรื่องที่อยู่ในระเบียบวาระการประชุมนั้นเท่านั้น, Count Unit: วาระ, Thai Definition: ลำดับรายการการประชุมที่กำหนดไว้ |
การประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง | (n) video conference |
ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. |
เบี้ยประชุม | น. เงินค่าตอบแทนที่ให้แก่กรรมการเป็นต้นที่เข้าประชุม. |
ประชุม | ก. มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ, เช่น ประชุมกรรมการ, โดยปริยายใช้หมายถึงเอาสิ่งที่เป็นประเภทเดียวกันมารวมกัน เช่น ประชุมพงศาวดาร ประชุมปาฐกถา, บางทีใช้หมายความอย่างเดียวกับชุมนุม เช่น ประชุมพระบรมราชาธิบาย ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔. |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
ประชุมเพลิง | (-เพฺลิง) ก. เผาศพ. |
ประชุมสุดยอด | น. การประชุมระหว่างประเทศของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารระดับสูงของรัฐบาล. |
รายงานการประชุม | น. รายละเอียดหรือสาระของการประชุมที่จดไว้เป็นทางการ. |
สมัยประชุม | น. ระยะเวลาที่กำหนดให้มีการประชุมสภา เช่น สมัยประชุมของรัฐสภา. |
หอประชุม | น. ห้องประชุมขนาดใหญ่. |
องค์ประชุม | น. จำนวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งจึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม. |
กรรแสง ๓ | (กัน-) ก. ร้องไห้ เช่น สมเด็จพระบรม-บพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว ทราบแล้วทรงพระกรรแสง (ประชุมพงศ. ๖๔). |
กระชอก | ก. กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์ (ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒). |
กระทู้ ๑ | หลัก เช่น ช้างพังพลายเป็นสัตว์มีคุณแล้วก็เป็นกระทู้ราชการสำหรับแผ่นดินสืบมา (ท้องตราโบราณ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๗), ประการหนึ่งปืนเป็นกระทู้การสงคราม (เรื่องตั้งเจ้าพระยานครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี ประชุมพงศ. ๒). |
กระทู้ถาม | น. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ. |
กระอูบ | น. ผอบ, ภาชนะสำหรับใส่ของ มีเชิง ฝาครอบมียอด มักทำด้วยโลหะหรือไม้กลึงเป็นต้น เช่น จึงแก้เอาเสื้อและผ้าคาดศีรษะใส่ในกระอูบคำ (ประชุมพงศ. ๑๐). |
กะลำพอ | น. ต้นหลุมพอ เช่น โพกพายโพกะลำพอ (ประชุมเชิญขวัญ). (ดู หลุมพอ). |
กันแสง ๑ | ก. ร้องไห้, ใช้ว่า ทรงพระกันแสง หรือ ทรงกันแสง, โบราณเขียนเป็น กรรแสง ก็มี เช่น สมเด็จพระบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัวทราบแล้วทรงพระกรรแสง (ประชุมพงศ. ๖๔). |
เก็บตก | เก็บเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือเรื่องเบื้องหลังจากงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ข่าวนี้เก็บตกมาจากพิธีเปิดฟุตบอลโลกที่เยอรมนี เรื่องนี้ฉันเก็บตกมาจากที่ประชุม. |
เกร็ด ๒ | (เกฺร็ด) น. ส่วนย่อยหรือส่วนเบ็ดเตล็ด ซึ่งเป็นเรื่องสนุกหรือน่าสนใจที่เล่าหรือเขียนถึงเหตุการณ์สั้น ๆ ตอนใดตอนหนึ่งในชีวประวัติบุคคลสำคัญ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเรื่องจริง เช่น เกร็ดพงศาวดาร, เรื่องที่เขียนเล่าถึงบรรยากาศที่น่าสนใจหรือสนุกขบขันในที่ประชุมก่อนที่จะมีผลสรุปออกมา. |
ข้อบังคับของบริษัท | น. กฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการดำเนินกิจการของบริษัทจำกัด เช่น การออกหุ้นและการโอนหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น. |
ขาด | ไม่มาตามกำหนด เช่น ขาดเรียน ขาดประชุม. |
ขานนาค | ก. กล่าวตอบในเวลาที่พระคู่สวดสวดถามคุณสมบัติและโรคต้องห้ามเป็นภาษาบาลีในที่ประชุมสงฆ์ แล้วนาคผู้ขอบวชเป็นภิกษุตอบรับหรือปฏิเสธเป็นภาษาบาลีเช่นกัน. |
คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. |
คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. |
คว่ำกระดาน | ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า. |
คำเผดียงสงฆ์ | น. ญัตติ, คำสวดประกาศเป็นภาษาบาลี เสนอให้ที่ประชุมสงฆ์ทราบเพื่อทำกิจของสงฆ์ร่วมกัน. |
เงินแป | น. เงินเหรียญมีลักษณะแบนกลมที่ออกมาใช้เป็นเงินตราในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทำด้วยเงิน มีราคาเป็นตำลึง บาท สลึง เฟื้อง ไพ (ประชุม ร. ๔), เรียกเหรียญซึ่งทำด้วยทองแดงหรือดีบุก. |
จตุบริษัท | น. บริษัท ๔ เหล่า, ถ้าเป็นพุทธบริษัท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา, ถ้าเป็นราชบริษัทหรือประชุมชนทั่วไป ได้แก่ กษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดี สมณะ. |
จักรวาล | ประชุม, หมู่ |
จังหวัด | ถิ่น, เขต, บริเวณ, เช่น อารามขึ้นคณะป่าแก้วในจังหวัดเมืองนครศรีธรรมราช (ประชุมพระตำราบรมราชูทิศเพื่อกัลปนา). |
จาตุรงคสันนิบาต | น. การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ คือ ๑. วันนั้นดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อมฆา) ๒. พระสงฆ์ ๑, ๒๕๐ รูป ประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมวันนั้นล้วนได้รับเอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, นับเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา, คำสามัญว่า มาฆบูชา. |
จีโบ | น. หมวกโบราณชนิดหนึ่ง ทำด้วยขนสัตว์ ข้าง ๆ ยาวลงมาปกหูกันความหนาว เวลาไม่ใช้ม้วนขึ้น. (ประชุมพงศ. ภาค ๕๐) |
ชมรม ๒ | น. ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชมรมวรรณศิลป์ ชมรมพระเครื่อง. |
ชีวาลัย | ก. ตาย เช่น เพียงศรีอนุชาชีวาลัย จะผินพักตรพึ่งใครก็ขัดสน (ประชุมเพลงยาว ภาคที่ ๗ เพลงยาวความเก่า). |
ชุมนุม | ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชุมนุมวรรณศิลป์ ชุมนุมภาษาไทย. |
ชุมนุม | ก. ประชุม, รวมกัน. |
ซ่อง ๑ | ก. ประชุม. |
ซ้อน | ว. มีหรือทำอย่างเดียวกันกับที่มีหรือทำอยู่แล้ว เช่น เขามีประชุมซ้อน |
ซุ่มซ่าม | ว. กิริยาที่กระทำไปโดยไม่ระมัดระวังหรือไม่ถูกกาลเทศะ เช่น เดินซุ่มซ่ามชนสิ่งของจนเสียหาย ซุ่มซ่ามเข้าไปในห้องที่กำลังประชุม. |
เซต ๒ | ก. กำหนด เช่น เซตตัวนักกีฬาลงในตำแหน่งต่าง ๆ เซตวันที่จะประชุม |
ญัตติ | น. คำสวดประกาศเป็นภาษาบาลี เสนอให้ที่ประชุมสงฆ์ทราบเพื่อทำกิจของสงฆ์ร่วมกัน, คำเผดียงสงฆ์ ก็ว่า |
ญัตติ | ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่ |
ณ ๒ | (นะ) บ. ใน, ที่, เป็นคำบ่งเวลาหรือสถานที่ว่า ตรงนั้นตรงนี้, เช่น ณ ที่นั้น ณ ห้องประชุม, ถ้าใช้นำหน้าสกุล หมายความว่า แห่ง เช่น ณ อยุธยา ณ เชียงใหม่ ณ นคร. |
ดำเนิน ๑ | เป็นไป เช่น การประชุมดำเนินไปด้วยดี, ทำให้เป็นไป, เช่น ดำเนินงาน ดำเนินการ ดำเนินชีวิต. |
ตรีโทษ | น. อาการไข้ที่ลม เสมหะ เลือด ประชุมกัน ๓ อย่างให้โทษ, ไข้หนักจวนจะตาย. |
ตรีประดับ | น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้แต่ละวรรคมีคำเดียวกัน ผันวรรณยุกต์รูปสามัญ เอก และโท เรียงกัน หรือโท เอก สามัญ ก็ได้ เช่น อมรแมนแม่นแม้นเจ้างามโฉม ชฬอฬ่อฬ้อโลกย์ให้โศกโทรม แต่เลาเล่าเล้าโลมฤดีแด (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน). |
ตรีพิธพรรณ | (ตฺรีพิดทะพัน) น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้มีคำเดียวกันซ้ำ ๓ ครั้งภายในวรรคเดียวกัน จะเป็นตำแหน่งใดก็ได้ เช่น สังเวชจิตร์เอ๋ยจิตร์จิตร์เราหนอ ไม่เจียมกายกายแก่ทำกายตะกอ ดีแต่ก้ออวดก้อก้อเกินนัก (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน) |
ตรีเพชรพวง | น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้แต่ละวรรคมีคำเดียวกัน ผันวรรณยุกต์รูปสามัญ เอก โท ตรี และจัตวา สลับกันก็ได้ เช่น มโหรีรี่รี้ดีดสีเสียง จับปี่หริงหริ่งหริ้งพริ้งเพราะเพรียง ฆ้องสำเนียงเต๋งเต่งเต้ง ติงเหน่งโยน (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน). |
โต๊ะ ๑ | น. สิ่งที่ทำด้วยไม้เป็นต้น พื้นราบ เป็นรูปต่าง ๆ มีขาสำหรับเป็นที่เขียนหนังสือ ตั้งเครื่องบูชา หรือ วางสิ่งของต่าง ๆ เรียกชื่อต่าง ๆ ตามวัตถุที่ทำ เช่น โต๊ะหิน โต๊ะมุก ตามรูปร่าง เช่น โต๊ะกลม โต๊ะสี่เหลี่ยม ตามวัตถุประสงค์ที่ใช้ เช่น โต๊ะเขียนหนังสือ โต๊ะประชุม, ลักษณนามว่า ตัว ถ้าเป็นโต๊ะอาหารจีนเป็นชุด ลักษณนามว่า โต๊ะ. |
ถลัน | (ถะหฺลัน) ก. พรวดเข้าไปโดยไม่รั้งรอ เช่น เขาถลันเข้าไปในห้องประชุม. |
prorogation | การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prorogation | การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
president | ๑. ประธาน, ประธานที่ประชุม, นายก๒. อธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
president | ๑. ประธาน, ประธานที่ประชุม (ก. ทั่วไป)๒. กรรมการผู้จัดการ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
president, vice | ๑. รองประธาน, รองประธานที่ประชุม, อุปนายก๒. รองอธิการบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parlor caucus | การประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parliament chamber | ที่ประชุมรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parliamentary absenteeism | การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peace conference | การประชุมสันติภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
procedure, rule of | ข้อบังคับการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | จดหมายเหตุการประชุม, บันทึกการประชุม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | ๑. กระบวนพิจารณา๒. รายงานการประชุม [ ดู minutes และ verbatim ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | ๑. กระบวนพิจารณา (ก. วิ)๒. รายงานการประชุม (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plenary session | การประชุมเต็มคณะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plenary session | การประชุมใหญ่, การประชุมเต็มสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
party convention | การประชุมใหญ่ของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
point of order | การประท้วงในที่ประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lame duck session | สมัยประชุมสภาที่มีสมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งซ้ำ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legislative day | ๑. วันในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติ๒. วันประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rapport (Fr.) | ๑. สายสัมพันธ์๒. รายงาน, รายงานการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rapporteur (Fr.) | ผู้เสนอรายงานการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rule of procedure | ข้อบังคับการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recess | ๑. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ)๒. การเลื่อนการนั่งพิจารณาคดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recess | ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rule, joint | ข้อบังคับการประชุมร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
statutes at large | ประชุมบทกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
symposium | ประชุมเอกสารัตถ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sittings | การนั่งพิจารณา, ครั้งประชุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statutory meeting | ๑. การประชุมตั้งบริษัท (ก. พาณิชย์)๒. การประชุมตามกฎหมาย (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
split session; session, split | การแยกประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sittings of the House of Commons | การประชุมสภาสามัญชน (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session | สมัยประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session | สมัยประชุม, ช่วงการประชุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
session, biennial | สมัยประชุมทุกสองปี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sine die, adjournment | เลื่อนการประชุมโดยไม่มีกำหนด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
secret session; session, secret | การประชุมลับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
snap | การนัดประชุมกะทันหัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
special session; session, extraordinary; session, special | สมัยประชุมวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
special session | สมัยประชุมวิสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
special order | ๑. ระเบียบพิเศษ (ในการประชุมสภา)๒. คำสั่งพิเศษทางการทหาร (ใช้แก่บุคคลบางจำพวก) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
summit conference | การประชุมสุดยอด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sessional committee | คณะกรรมาธิการเฉพาะสมัยประชุม (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, executive | การประชุมสภาในเรื่องของฝ่ายบริหาร, การประชุมเป็นการภายใน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, extraordinary; session, special; special session | สมัยประชุมวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, joint | การประชุมร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, lame duck | สมัยประชุมสภาที่มีสมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งซ้ำ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, ordinary | สมัยประชุมสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, plenary | การประชุมเต็มคณะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, secret; secret session | การประชุมลับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, short; short session | สมัยประชุมก่อนสิ้นวาระ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Conference paper | เอกสารการประชุมทางวิชาการ, Example: <p>เอกสารการประชุมทางวิชาการ คือ เอกสารหรือบทความที่นำเสนอต่อที่ประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม โดยต้องส่งเอกสารหรือบทความ หรือสาระสังเขป (บทคัดย่อ) ของเรื่องที่จะนำเสนอในที่ประชุมล่วงหน้า ในช่วงที่ประกาศรับการเสนอบทความ (Call for papers) และงานต้องมีคุณภาพมากเพียงพอที่กรรมการพิจารณาบทความจะยอมรับให้ได้ตีพิมพ์และนำเสนอบทความในการประชุมครั้งนั้น <p>ตัวอย่างการประชุมทางวิชาการ เช่น IFLA Conference (International Federation of Library Associations and Institutions : สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด) ในกลุ่มวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Congress of Southeast Asian Librarians | การประชุมบรรณารักษ์เอเชียอาคเนย์, Example: <html> <head> <title>HTML Online Editor Sample</title> </head> <body> <p> <strong>CONSAL</strong> : <span style="color:#0000cd;">Congress of Southeast Asian Librarians</span></p> <p> การประชุมสภาบรรณารักษ์เอชียอาคเนย์ หรือ การประชุมสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อความร่วมมือในระหว่างประเทศสมาชิกเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ในการพัฒนาห้องสมุดของแต่ละประเทศ</p> <p> สมาชิก CONSAL คือ หอสมุดแห่งชาติ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ คือ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย</p> <p> การประชุมสภาบรรณรักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดจัดทุก 3 ปี โดยสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ โดยที่ผ่านมาครั้งล่าสุด เป็นการประชุมครั้งที่ 15 วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเชีย ในหัวข้อเรื่อง Preserving and Disseminating National Heritage และการประชุมครั้งต่อไป ครั้งที่ 16 ปี 2558 ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมอีกครั้ง ซึ่งประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม CONSAL แล้ว จำนวน 2 ครั้ง ในปี 2521 และ 2536</p> <p> ประวัติของการรวมกลุ่มสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการประชุมครั้งแรกในปี 2513 ที่ประเทศสิงคโปร์ รายละเอียดหัวข้อการประชุม วันเวลา และประเทศเจ้าภาพการประชุม CONSAL ทั้งหมดที่ผ่านมา รวม 15 ครั้ง ดังนี้</p> <ol> <li> New prospects for Southeast Asians Cooperation วันที่ 14-16 สิงหาคม 2513 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Education and Training for Librarianship วันที่ 10-14 ธันวาคม 2516 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Integrated Library and Documentation Services within the Framework or NATIS วันที่ 1-5 ธันวาคม 2518 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Regional Cooperation for the Development of National Information Services วันที่ 5-9 มิถุนายน 2521 ประเทศไทย</li> <li> Access to Information วันที่ 25-29 พฤษภาคม 2524 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> The Library in the Information Revolution วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2526 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Libraries for Countryside Development in Southeast Asia วันที่ 12-21 กุมภาพันธ์ 2530 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> New Challenges in Library Services in the Developing World วันที่ 11-14 มิถุนายน 2533 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Future Dimensions and Library Development วันที่ 2-7 พฤษภาคม 2536 ประเทศไทย</li> <li> Libraries in National Development วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2539 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> Stepping into the New Millennium: Challenges for Library and Information Professionals วันที่ 26-28 เมษายน 2543 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Information Empowerment: Enhancing Knowledge Heritage วันที่ 20-23 ตุลาคม 2546 ประเทศบรูไน</li> <li> CONSAL at the Crossroads: Challenges for greater regional cooperation วันที่ 25-30 มีนาคม 2549 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Towards Dynamic Libraries and Information Services in Southeast Asian Countries วันที่ 20-23 เวียดนาม 2552 ประเทศเวียดนาม</li> <li> Preserving and Disseminating National Heritage วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ประเทศอินโดนีเชีย</li> </ol> <p> สนใจกิจกรรมการประชุม CONSAL เข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ <a href="http://www.consal.org">www.consal.org</a></p> <p> <img alt="consal " height="305" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120925-consal.png" width="699" /></p> </body> </html> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Proceedings | เอกสารเสนอหรือแถลงในการประชุม รายงานสรุปผลการอภิปราย รายงานกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการประชุม, Example: <p>Proceedings คือ เอกสารหรือหนังสือที่รวบรวมบทความวิจัย บทคัดย่อ หรือเอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม <p>รายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่ม (Proceedings) ดำเนินการตีพิมพ์ผลงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่หลังการประชุม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) <p>2. การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Teleconference | การประชุมทางไกล, การประชุมทางไกล โดยผู้ประชุมได้ยินเสียงและเห็นภาพกันได้ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
teleconference | การประชุมทางไกล, Example: การประชุมที่จัดโดยผู้เข้าร่วมประชุมอยู่ห่างกันคนละสถานที่ วิธีการคือ จะต้องมีระบบโทรคมนาคม และอุปกรณ์ที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถพูดคุยกันได้ และเห็นหน้ากันและกันได้ ระบบประชุมทางไกลในปัจจุบันมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม เพื่อบีบอัดภาพผู้เข้าร่วมประชุมก่อนส่งผ่านระบบโทรคมนาคม และขยายภาพที่ได้รับเพื่อแสดงให้ผู้เข้าร่วมประชุมอื่นๆ เห็น [คอมพิวเตอร์] |
World Economic Forum | การประชุมเศรษฐกิจโลก [ธุรกิจ] |
Annual general meeting | การจัดประชุมผู้ถือหุ้นประจำปี, Example: การจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีของบริษัทจดทะเบียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนทุกแห่งให้ความสำคัญกับการจัดประชุมผู้ถือหุ้นให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการแสดงออกถึงการให้ความสำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อเป็นการยกระดับการมีบรรษัทภิบาลที่ดีของตลาดทุนไทยต่อไป [ตลาดทุน] |
Ordinary meeting | การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น, Example: กฎหมายกำหนดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญประจำปีภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของบริษัท และกำหนดให้มีการจัดประชุมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยเรื่องที่จะนำเข้าในที่ประชุมจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของบริษัท การอนุมัติงบการเงินประจำปี เป็นต้น ส่วนการประชุมครั้งอื่นนอกจากนี้ให้เรียกว่าเป็นการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น [ตลาดทุน] |
Extraordinary meeting | การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น, Example: กฎหมายกำหนดว่านอกเหนือจากการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีละ 1 ครั้งแล้ว การประชุมในครั้งอื่น ๆ ให้เรียกว่าเป็นการประชุมวิสามัญ โดยบริษัทจะเรียกประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้สุดแต่จะเห็นสมควร ซึ่งเรื่องที่จะนำเข้าในที่ประชุมอาจจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงกรรมการ อำนาจหน้าที่ของกรรมการ หรือข้อบังคับของบริษัท เป็นต้น [ตลาดทุน] |
Business meetings | การประชุมทางธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Cataloging of conference proceedings | การทำรายการรายงานการประชุม [TU Subject Heading] |
Conference rooms | ห้องประชุม [TU Subject Heading] |
Congresses and conventions ; Meetings | การประชุม [TU Subject Heading] |
Convention facilities | สถานบริการการประชุม [TU Subject Heading] |
Internet videoconferencing | การประชุมทางไกลผ่านจอภาพด้วยอินเตอร์เน็ต [TU Subject Heading] |
Press conferences | การจัดประชุมผู้สื่อข่าว [TU Subject Heading] |
Publication of proceeding | รายงานการประชุม [TU Subject Heading] |
Stockholders' meetings | การประชุมผู้ถือหุ้น [TU Subject Heading] |
Teleconferencing | การประชุมทางไกล [TU Subject Heading] |
Teleconferencing in education | การประชุมทางไกลในการศึกษา [TU Subject Heading] |
United Nations Conference on Trade and Development | การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา [TU Subject Heading] |
Videoconferencing | การประชุมทางไกลผ่านจอภาพ [TU Subject Heading] |
United Nations Conference on Trade and Development | ที่ประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา, Example: องค์การระหว่างประเทศถือกำเนิดขึ้นจากข้อมติ ของสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2507 เพื่อแก้ไขปัญหาการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะในปัญหาที่แกตต์ (ดู GATT) ไม่สามารถแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ อังค์แทดเป็นเวทีการประชุมระหว่างประเทศ ที่เปิดโอกาสให้ประเทศพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา ปรึกษาหารือร่วมกันแก้ไขปัญหาการค้าและการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถรวมกลุ่มกัน ใช้เป็นเวทีเรียกร้องให้ประเทศพัฒนาแล้วผ่อนคลาดมาตรการที่เป็นอุปสรรคต่อ การค้าของประเทศกำลังพัฒนา รวมถึงให้ประเทศกำลังพัฒนามีบทบาทร่วมในการตัดสินใจ เกี่ยวกับนโยบายและการจัดระบบเศรษฐกิจของโลกมากขึ้น ผลงานสำคัญของที่ประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา เช่น จีเอสพี (ดู GSP) โครงการร่วมโภคภัณฑ์ (ดู Commodity Stabilization Agreements) และจีเอสทีพี (ดู GSTP) อังค์เทดมีสำนักงานอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกรวม 168 ประเทศ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศสังคมนิยมยุโรปตะวันออก และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN-Australia Forum | การประชุมอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกๆ 18 - 24 เดือน โดยหัวหน้าคณะ ผู้แทนของออสเตรเลียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนจะเป็นระดับเจ้าหน้าที่ อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) และเป็นประธานร่วมของการประชุม เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างกันในทุกด้าน [การทูต] |
Asia-Africa Forum | การประชุมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียกับแอฟริกา [การทูต] |
Asian-African Sub-Regional Organizations Conference | การประชุมองค์การอนุภูมิภาคเอเชีย-แอฟริกา มีการประชุมครั้งแรกที่เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซียเมื่อปี 2546 [การทูต] |
ASEAN-Canada Business Council | การประชุมสภาธุรกิจอาเซียน-แคนาดา มีการประชุมทุกปีในระหว่างการประชุมสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เพื่อพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการติดต่อค้าขาย และการร่วมลงทุนระหว่างกัน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางของความร่วมมือ [การทูต] |
ASEAN Coordinating Council | คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการเตรียมการประชุมของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน และประสานงานกับคณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่าง ๆ เพื่อความสอดคล้องกันตามนโยบาย ประสิทธิภาพ และความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] |
ASEAN Conference on Civil Service Matters | การประชุมอาเซียนว่าด้วยกิจการพลเรือน [การทูต] |
Asia Cooperation Dialogue | ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market) [การทูต] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Asia-Europe Cooperation Framework | กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต] |
ASEAN Experts Group on Disaster Management | การประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญของอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ [การทูต] |
ASEAN Economic Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย์หรือรัฐมนตรีด้านการ ค้าต่างประ- เทศ ปกติจัดขึ้นปีละครั้งประมาณเดือนกันยายน/ตุลาคมของทุกปี เพื่อหารือ ทบทวนและพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] |
ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] |
Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] |
Asia-Europe Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม [การทูต] |
ASEAN Finance and Central Bank Deputies Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกระทรวงการคลังและธนาคารกลางอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Finance and Central Bank Deputies + 3 (China, Japan and Republic of Korea) | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกระทรวงการคลังและธนาคารกลางอาเซียนกับผู้แทนจาก จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี [การทูต] |
ASEAN Finance Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน จัดขึ้นปีละครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีการจัดการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับญี่ปุ่น (AFMM + Japan) เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและความช่วยเหลือที่ ญี่ปุ่นให้แก่อาเซียน อาทิ แผนมิยาซาวา ควบคู่กันไปด้วย [การทูต] |
ASEAN Finance Minister + 3 (China, Japan and the Republic of Korea) Meeting | การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative) [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area | เขตการค้าเสรีอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามมติของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 เพื่อส่งเสริม การค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้มีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากันตามระยะเวลาที่กำหนด เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ลดอัตราภาษีศุลกากรให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี พ.ศ. 2546 และมีระยะเวลาผ่อนผันสำหรับประเทศสมาชิกใหม่อีก 4 ประเทศ ตามช่วงเวลาก่อน/หลังที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Free Trade Area Council | คณะมนตรีเขตการค้าเสรีอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีคลัง เพื่อหารือและติดตามการดำเนินงาน ในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ปกติจะจัดขึ้นประมาณปีละครั้ง ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Transport Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต] |
ASEAN Heads of Investment Agencies | การประชุมหัวหน้าหน่วยงานด้านการลงทุนของอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Investment Area Council | คณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียน " เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่ดูแลงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อกำหนดนโยบายและกำกับการดำเนินงานจัดตั้งเขตการลงทุน อาเซียน ปกติมีการประชุมปีละครั้ง " [การทูต] |
ASEAN-India Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-อินเดีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยอินเดียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอินเดีย [การทูต] |
ASEAN Inter-Parliamentary Organization | องค์การรัฐสภาอาเซียน " เป็นเวทีการประชุมของผู้แทนรัฐสภาของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดขึ้น เป็นประจำทุกปี " [การทูต] |
ASEAN-Japan Forum | การประชุมอาเซียน-ญี่ปุ่น " เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงฯ เดิมจัดขึ้นเป็นประจำทุก ๆ 18-24 เดือน ต่อมาได้ตกลงกันที่จะจัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือเกี่ยวกับ ความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในทุกด้าน " [การทูต] |
ASEAN-JAPAN SUMMIT | การประชุมสุดยอดอาเซียน-ญี่ปุ่น เป็นการประชุมระหว่างผู้นำอาเซียนและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ซึ่งในหลักการจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 [การทูต] |
เบี้ยประชุม | [bīa prachum] (n, exp) EN: attendance fee |
ช่วงการประชุม | [chūang kān prachum] (n, exp) EN: session |
ห้องประชุม | [hǿng prachum] (n, exp) EN: meeting room ; auditorium ; assembly hall ; boardroom ; conference room FR: salle de réunion [ f ] ; salle de conférence [ f ] ; auditoire [ m ] (Belg., Sui.) |
ห้องประชุมคณะกรรมการ | [hǿng prachum khanakammakān] (n, exp) EN: boardroom FR: salle de conférence du conseil d'administration [ f ] |
ห้องประชุมใหญ่ | [hǿngprachum yai] (n, exp) EN: conference hall |
หอประชุม | [høprachum] (n) EN: hall ; auditorium FR: auditoire [ m ] ; salle académique [ f ] ; salle de congrés [ f ] ; salle de réunion [ f ] |
จัดการประชุม | [jatkān prachum] (v, exp) EN: organize a conference |
จดบันทึกการประชุม | [jot bantheuk kān prachum] (v, exp) EN: do the minutes ; take the minutes |
การเลื่อนการประชุม | [kān leūoen kān prachum] (n, exp) EN: adjournment |
การประชุม | [kān prachum] (n) EN: meeting ; conference ; session ; convention ; assembly ; congress ; rally ; sitting FR: réunion [ f ] ; assemblée [ f ] ; conférence [ f ] ; meeting [ m ] ; session [ f ] ; forum [ m ] ; sommet [ m ] ; rassemblement [ m ] ; convention [ f ] ; comices [ mpl ] (hist.) |
การประชุมอาเซียน | [Kān Prachum Asīan] (n, exp) EN: ASEAN Summit ; Summit of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) FR: Sommet de l'ASEAN [ m ] |
การประชุมบริหาร | [kān prachum børihān] (n, exp) EN: executive meeting |
การประชุมชี้แจง | [kān prachum chījaēng] (n, exp) EN: briefing meeting FR: briefing [ m ] (anglic.) |
การประชุมช่วงปิด | [kān prachum chūang pit] (n, exp) EN: final sitting |
การประชุมช่วงเปิด | [kān prachum chūang poēt] (n, exp) EN: opening sitting |
การประชุมเจรจา | [kān prachum jēnrajā = kān prachum jēnjā] (n, exp) EN: negotiating conference FR: table de négociations [ f ] |
การประชุมกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก | [Kān Prachum Klum Khwām Ruammeū Thāng Sētthakit Ēchīa-Paēsifik] (org) EN: Asia Pacific Economic Cooperation Conference (APEC) |
การประชุมกลุ่มเล็ก | [kān prachum klum lek] (n, exp) FR: petit comité [ m ] ; comité restreint [ m ] |
การประชุมก่อตั้งบริษัท | [kān prachum køtang børisat] (n, exp) EN: statutory meeting |
การประชุมไม่เป็นทางการ | [kān prachum mai pen thāngkān] (n, exp) EN: unofficial meeting |
การประชุมนานาชาติ | [kān prachum nānāchāt] (n, exp) EN: internzational conference [ f ] FR: réunion internationale [ f ] ; conférence internationale [ f ] |
การประชุมภายใน | [kān prachum phāinai] (n, exp) EN: meeting in camera |
การประชุมพิเศษ | [kān prachum phisēt] (n, exp) EN: special session ; extraordinary meeting FR: réunion spéciale [ f ] |
การประชุมผู้ชำนัญพิเศษ | [kān prachum phū chamnanphisēt] (n, exp) EN: panel meeting |
การประชุมผู้สื่อข่าว | [kān prachum phūseūkhāo] (n, exp) EN: news conference ; press conference FR: conférence de presse [ f ] |
การประชุมผู้ถือหุ้น | [kān prachum phūtheū hun] (n, exp) EN: shareholders' meeting ; shareholders meeting ; meeting of shareholders FR: réunion des actionnaires [ f ] ; réunion d'actionnaires [ f ] |
การประชุมร่วม | [kān prachum ruam] (n, exp) EN: joint meeting |
การประชุมสามัญ | [kān prachum sāman] (n, exp) EN: ordinary meeting FR: réunion ordinaire [ f ] ; assemblée ordinaire [ f ] |
การประชุมสามัญประจำปี | [kān prachum sāman prajampī] (n, exp) EN: annual general meeting (AGM) FR: assemblée générale annuelle [ f ] |
การประชุมสภา | [kān prachum saphā] (n, exp) EN: congress |
การประชุมสาธารณะ | [kān prachum sāthārana] (n, exp) EN: public meeting FR: réunion publique [ f ] |
การประชุมส่วนตัว | [kān prachum suantūa] (n, exp) EN: private meeting FR: réunion privée [ f ] |
การประชุมสุดยอด | [kān prachum sutyøt] (n, exp) EN: summit ; top level talks FR: sommet [ m ] (ellipt.) ; conférence au sommet [ f ] ; réunion au sommet [ f ] |
การประชุมทางการ | [kān prachum thāngkān] (n, exp) EN: official meeting FR: réunion officielle [ f ] |
การประชุมทางการทูต | [kān prachum thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic conference FR: conférence diplomatique [ f ] |
การประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง | [kān prachum thāng klai dūay phāp lae sīeng] (n, exp) EN: video conference FR: vidéoconférence [ f ] ; visioconférence [ f ] |
การประชุมทั่วไป | [kān prachum thūapai] (n, exp) EN: general meeting |
การประชุมโต๊ะกลม | [kān prachum toklom] (n, exp) EN: round-table meeting |
การประชุมเตรียมการ | [kān prachum trīemkān] (n, exp) EN: preparatory meeting FR: réunion préparatoire [ f ] |
การประชุมวิสามัญ | [kān prachum wisāman] (n, exp) EN: special session ; extraordinary meeting FR: réuinion extraordinaire [ f ] |
การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น | [kān prachum wisāman phūtheū hun] (n, exp) EN: extraordinary general meeting ; extraordinary general meeting of shareholders |
การประชุมใหญ่ | [kān prachum yai] (n, prop) EN: general meeting ; convention FR: réunion générale [ f ] ; assemblée générale [ f ] ; convention [ f ] |
การประชุมใหญ่สามัญ | [kān prachum yai sāman] (n, exp) EN: ordinary general meeting FR: réunion générale ordinaire [ f ] ; assemblée générale ordinaire [ f ] |
การประชุมใหญ่วิสามัญ | [kān prachum yai wisāman] (n, exp) EN: extraordinary general meeting FR: réunion extraordinaire [ f ] ; assemblée générale extraordinaire [ f ] |
เข้าร่วมการประชุมนานาชาติ | [khaoruam kān prachum nānāchāt] (v, exp) EN: attend an international conference FR: participer à une conférenvce internationale |
เข้าร่วมประชุม | [khaoruam prachum] (v, exp) EN: take part in a meeting FR: participer à une réunion |
ขาดประชุม | [khāt prachum] (v, exp) EN: miss a meeting ; be absent from a meeting |
ครบองค์ประชุม | [khrop ongprachum] (v, exp) EN: have a quorum |
ไม่เข้าประชุม | [mai khao prachum] (v, exp) EN: be absent from a meeting |
นัดวันประชุม | [nat wan prachum] (v, exp) EN: agree on a conference date |
absentee | (n) ผู้ที่ไม่มา, See also: ผู้ที่ไม่เข้าร่วมประชุม, ผู้ขาดการประชุม |
assembly | (n) การรวมกลุ่ม, See also: การชุมนุม, การประชุม, Syn. assemblage, meeting, association |
auditorium | (n) บริเวณที่นั่งของผู้ชมในโรงละครหรือหอประชุม |
auditorium | (n) หอประชุม, See also: โรงละคร, สถานที่แสดงละครหรือคอนเสิร์ต, Syn. hall, lecture hall, playhouse |
absent from | (phrv) ไม่มา, See also: ไม่เข้าร่วม, ขาด เรียน, ประชุมหรืออื่นๆ |
backroom | (n) ห้องประชุมผู้มีอำนาจเบื้องหลัง |
boardroom | (n) ห้องประชุมคณะกรรมการ |
bring in on | (phrv) ร่วมปรึกษาหารือกับ, See also: ประชุมตกลงกับ, Syn. get in on |
casting vote | (n) การลงคะแนนตัดสินโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการประชุมเนื่องจากแต่ละฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน |
caucus | (n) การประชุมของสมาชิกหรือกลุ่มผู้นำของพรรคการเมืองเพื่อลงคะแนนเลือกหรือวางแผนทางการเมือง |
chamber | (n) ห้องประชุม, Syn. meeting room |
conclave | (n) การประชุมลับ, Syn. conference |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, See also: การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, Syn. conference, deliberation |
convention | (n) การประชุม, Syn. assembly |
convocation | (n) การเรียกมาชุมนุม, See also: การเรียกประชุม, Syn. calling together |
council | (n) การประชุมเพื่อปรึกษาหารือ |
call a meeting | (idm) เรียกประชุม |
close with | (phrv) เข้าประชุมเป็นส่วนตัว (ใช้รูป passive voice เสมอ) |
closet with | (phrv) เข้าประชุมเป็นส่วนตัว, Syn. be closed with |
confer with | (phrv) ปรึกษา, See also: หารือ, ประชุมกับ |
count out | (phrv) ประกาศว่าสมาชิกในการประชุมสภาไม่เพียงพอ (เพื่อปิดการประชุม) |
discussion | (n) การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
forum | (n) การประชุมแสดงความคิดเห็น |
hall | (n) หอประชุม, See also: ห้องโถง |
hold a meeting | (idm) จัดประชุม |
play hookey | (idm) โดดเรียน, See also: โดดการประชุม |
talking-shop | (idm) ที่ประชุม (คำไม่เป็นทางการ) |
let out | (phrv) เลิก (ประชุม, การทำงาน, การแสดงฯลฯ) |
lodge | (n) สมาคม, See also: สโมสร, สถานที่ประชุม, Syn. club, association, society |
manifestation | (n) การชุมนุม, See also: การเดินขบวน, การรวมตัวกัน, การประชุม |
mass meeting | (n) การประชุมใหญ่ |
meet | (vi) ชุมนุม, See also: ประชุม, Syn. gather, assemble |
meeting | (n) การประชุม, See also: การรวมกลุ่ม, การชุมนุม, Syn. class, conference, round table |
minutes | (n) รายงานการประชุม, See also: บันทึกการประชุม |
motion | (n) ญัตติ, See also: เรื่อง, ข้อเสนอเพื่อการอภิปรายในที่ประชุม, Syn. offer, submission |
national convention | (n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี |
news conference | (n) การประชุมข่าว, Syn. press conference |
parley | (n) การเจรจา, See also: การประชุม, การสนทนา, การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, Syn. discussion, conference, colloquium |
parley | (vi) เจรจา, See also: เจรจา, ประชุม, สนทนา, Syn. talk, converse, speak |
pow-wow | (n) การประชุมของชนพื้นเมืองอเมริกัน, Syn. assembly, conference, convention, congress |
pow-wow | (vi) ประชุม, Syn. discuss, confer, meet, parley |
proceedings | (n) สิ่งตีพิมพ์ในการประชุม, See also: เอกสารตีพิมพ์ในการประชุม |
prorogue | (vt) ปิดประชุม |
preside over | (phrv) เป็นประธาน, See also: ทำหน้าที่นำการประชุม, Syn. preside at |
quorum | (n) องค์ประกอบ, See also: องค์ประชุม, จำนวนบุคคลที่กฎหมายกำหนด, Syn. legal minimum |
rapporteur | (n) ผู้เขียนรายงานต่อคณะกรรมการหรือการประชุม |
reconvene | (vi) เปิดประชุมใหม่ |
reveille | (n) สัญญาณที่ให้เรียกให้มาประชุมหรือชุมนุมกัน |
rise | (vi) ยุติการประชุม, Syn. adjourn |
round table | (n) การประชุมโต๊ะกลม |
agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable |
assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ |
assembly | (อะเซม'บลี) n. ชุมนุมชน, การชุมนุม, การมั่วสุม, ที่ประชุมสภา, สมัชชา, สัญญาณรวมพล, การเคลื่อน (รถถังหรือทหาร) , เข้าสู่บริเวณหนึ่ง, ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องจักร, Syn. collection, meeting, Ant. dispersal, separation |
attendant | (อะเทน'เดินท) n. ผู้ดูแล, ผู้รับใช้, ผู้ปรนนิบัติ, ผู้เข้าร่วมประชุม, สิ่งประกอบ. -adj. ซึ่งอยู่ร่วมด้วย, เกี่ยวข้อง, ดูแลรักษา (servant) |
audio conference | การประชุมทางไกลด้วยเสียงหมายถึง การประชุมระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ที่อยู่ห่างไกลกันมาก แต่สามารถได้ยินเสียงของกันและกันได้ การส่งเสียงดังกล่าวอาจทำให้ผ่านสายโทรศัพท์หรือสัญญาณดาวเทียมก็ได้ |
audiographic conference | การประชุมทางไกลด้วยเสียงและภาพหมายถึง การประชุมระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ที่อยู่ห่างไกลกันมาก นอกจากจะได้ยินเสียงของกันและกันแล้ว ยังสามารถเห็นภาพประกอบการประชุมได้ด้วย ภาพดังกล่าวน่าจะเป็นภาพกราฟิกส์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
auditorium | (ออดิโท'เรียม) n. ห้องบรรยาย, ห้องประชุม, อาคารห้องประชุม (meeting place) |
auditory | (ออ'ดิทอรี) adj., n. เกี่ยวกับการฟังหรือการได้ยิน, เกี่ยวกับโสตประสาท, กลุ่มคนที่ฟัง, ห้องประชุม, ห้องบรรยาย |
board | (บอร์ดฺ) { boarded, boarding, boards } n. ไม้กระดาน, แผ่นกระดาน, แผ่นกระดาษแข็ง, กระดานหมากรุก, ข้างเรือ, ค่าอาหาร, อาหาร, ที่พัก, โต๊ะประชุม, โต๊ะอาหาร, เวที, คณะกรรมการ, สภา, กลุ่มผู้บริหารของหน่วยงาน, แป้นสวิตช์ไฟฟ้าบนผลฝาผนัง, ขอบ, ข้าง vt. ใช้กระดานปู, บริการอาหาร, บริการ แผงวงจรแผงหมายถึง แผ่นพลาสติกที่มีการติดตั้งวงจรไฟฟ้าซึ่งใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แผงเหล่านี้จะทำหน้าที่ต่าง ๆ เช่น แผงวงจรเร่งความเร็ว (accelerator board) จะมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็วกว่าตัวประมวลผลทีมีอยู่เดิม แผงวงจรภาพ (video board) แผงวงจรเสียง (sound board) ก็จะเป็นตัวเพิ่มภาพและเสียง เป็นต้น |
caller | (คอล'เลอะ) n. คนร้องเรียก, สิ่งเรียก, สิ่งที่เรียกร้อง, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้โทรศัพท์, ผู้เรียกประชุม |
calling | (คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn. vocation |
casino | (คะซี'โน) n. บ่อนการพนัน, โรงบ่อน, อาคารหรือห้องใหญ่สำหรับการประชุมหรือเต้นรำ, |
caucus | (คอ'คัส) n. การประชุมพรรคการเมืองเพื่อเลือกตั้งตัวแทนเข้าแข่งขัน vi. ประชุมพรรคการเมืองดังกล่าว -pl. caucuses |
chairman | (แชร์'เมิน) n.ประธาน, -vt. เป็นประธานที่ประชุม |
chamber | (เชม'เบอะ) n.ห้อง, ห้องพักเดี่ยว, สภา, สำนักงานทนายความ, ห้องประชุม, สมาคม, ช่อง, หอการค้า, ลำกล้องกระสุน, ช่องใส่กระสุน -vt. ใส่ในห้อง, จัดห้องให้, Syn. room |
chapter house | n. สถานที่ประชุมของคณะพระคริสเตียน |
chime | (ไชมฺ) { chimed, chiming, chimes } n. อุปกรณ์ตีระฆังให้เป็นเสียงดนตรี, เสียงระฆังกังวาน, เพลงระฆัง, เสียงกลมกลืน. -vi. ขับร้องประสานเสียง, ทำเสียงระฆัง, เห็นด้วย. -vt. ตีระฆัง, ตีระฆังเรียกประชุม, พูดซ้ำซาก. -chime in พูดสอดแทรกอย่างกะทันหัน, See also: chime i |
collogue | (คะลอก') { collogued, colloguing, collogues } vi. ประชุมลับ |
colloquium | (คะโล'เควียม) n. การประชุม หรือปรึกษาหารืออย่าง ๆ ไม่เป็นทางการ, การอภิปรายกลุ่ม |
conclave | (คอน'เคลฟว) n. การประชุมลับ, การประชุมส่วนตัว, สถานที่ราชาคณะสงฆ์ของศาสนาโรมันคาทอลิกประชุมกันเพื่อเลือกสันตะปาปา, วิทยาลัยของราชาคณะสงฆ์ของศาสนาโรมันคาทอลิก |
confer | (คันเฟอร์') { conferred, conferring, confers } vt. ให้เป็นของขวัญเป็นเกียรติหรืออื่น ๆ , ประสาทให้. vi. ปรึกษา, หารือ, ประชุม, เทียบเคียง., See also: conferment, conferral n. conferrable adj. ดูconfer conferrer n. ดูconfer คำที่มีความหมายเหมือนกั |
conferee | (คอน ฟะรี') n. ที่ปรึกษา, ผู้ประชุม, ผู้ถูกมอบให้, ผู้รับปริญญา |
conference | (คอน'เฟอเรินซฺ) n. การประชุม, สมาคมทีมกีฬา, การชุมนุมกันของกลุ่มนักกีฬา หรือคณะสงฆ์หรืออื่น ๆ, Syn. parley, colloquy |
conferree | (คอน ฟะรี') n. ที่ปรึกษา, ผู้ประชุม, ผู้ถูกมอบให้, ผู้รับปริญญา |
consultation | (คันซัลเท'เชิน) n. การปรึกษา, การประชุมปรึกษาหารือ |
convene | (คัน วีน') { convened, convening, convenes } vi. รวมกัน, ชุมนุมกัน vt. ทำให้รวมกัน, เรียกประชุม, เรียกตัวมาปรากฎ, เรียกตัว, Syn. muster |
convention | (คันเวน'เชิน) n. การประชุม, การประชุมพรรคการเมือง, สัญญา, สนธิสัญญา, อนุสัญญา, ระเบียบแบบแผน, จารีตประเพณี, ธรรมเนียมปฎิบัติ, การประชุมที่มีกำหนด, Syn. meeting, custom |
convocation | (คอนวะเค'เชิน) n. การเรียกประชุม, ภาวะที่ถูกเรียกประชุม, กลุ่มคนที่ชุมนุมกันตามคำเรียกตัว, การชุมนุมทางศาสนา, Syn. assemblage, congregation |
convoke | (คันโวค') { convoked, convoking, convokes } vt. เรียกประชุม, เรียกมาชุมนุม, See also: convocative adj. ดูconvoke convoker ดูconvoke convocant n. ดูconvoke, Syn. assemble, summon |
council | (เคา'เซิล) n. สภา, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ, กลุ่มคณะที่ปรึกษา, การประชุม, องค์กรร่วม, คณะมนตรี -Conf. counsel |
forum | (ฟอ'รัม) n. สภา, ที่ประชุมสำหรับการอภิปราย, ศาล, ศาลกลางเมือง, วิธีการอภิปรายปัญหา, -Phr. (the Forum ตลาดหรือสนามกว้างของเมืองโบราณสมัยโบราณ), Syn. assembly, meeing -pl. forums, fora |
gallery | (แกล'เลอรี) n. ระเบียง, ดาดฟ้า, ทางเดินมีหลังคา, เฉลียง, ที่นั่งชั้นบน เป็นระเบียงยาวในโรงมหรสพ-โรงละคร-โบสถ์-ห้องประชุม, เฉลียงภาพ, ห้องแสดงผลงานศิลปะห้องถ่ายรูป, ทางใต้ดิน, อุโมงค์, คนดูโรงมหรสพหรือโรงละครที่เสียค่าบัตรต่ำสุด, Syn. pass |
hall | (ฮอล) n. ห้องโถง, ห้องประชุม, ห้องรับประทานอาหาร, ศาล, หอ, ห้องนันทนาการ, คฤหาสน์, ทางเดินจากประตูหน้าไปยังห้องโถง, |
huddle | (ฮัด'เดิล) { huddled, huddling.huddles } v. จับกลุ่ม, รวมกลุ่ม, เบียดเสียด, ทำอย่างรีบเร่ง, ใส่เสื้อผ้าอย่างเร่งรีบ, ประชุม, หดม้วน, กอดกันกลม. -n. กลุ่ม, ก้อน, กอง, ความวุ่นวาย, ความสับสน, การประชุม, การปรึกษาหารือ, การจับกลุ่มกัน., See also: huddler n. huddli |
jamboree | (แจมบะรี) n. การประชุมรื่นเริง, การชุมนุมอึกทึก, การชุมนุมใหญ่ของลูกเสือ |
joint session | n. การประชุมร่วมกันของสมาชิกจากสองสภา |
knell | (เนล) n. เสียงระฆังมรณะ, ลางมรณะ, ลาแห่งความล้มเหลว. vi. ระฆังส่งเสียงแห่งยามมรณะ. vt. เคาะระฆังเรียกประชุม |
meet | (มีท) { met, met, meeting, meets } v. พบ, ประสบ, เผชิญ, กลายเป็น, ทำให้คุ้นเคยกับ, บรรจบ, สบตา, ขัดแย้ง, ต่อต้าน, ต้องใจ, ตกลง. n. การชุมนุม, การประชุม, ผู้ชุมนุม, สถานที่ชุมนุม adj. เหมาะสม, สมควร ., See also: meetly adv. meetness n. |
moderator | (มอด'ดะเรเทอะ) n. พิธีกร, ประธานการประชุม, See also: moderatorial adj., Syn. mediator, master of ceremony |
musical | (มิว'ซิเคิล) adj. เกี่ยวกับดนตรี, ซึ่งมีเสียงไพเราะ, See also: musicality n. musicale n. การประชุมฟังดนตรี |
obsequeence | (ออบซี'ควิอันซฺ) n. การประชุม, การสอพลอ, การเอาใจ |
obsequence | (ออบซี'ควิอันซฺ) n. การประชุม, การสอพลอ, การเอาใจ |
order | (ออร์'เดอะ) n. คำสั่ง, ใบสั่ง, ตั๋วแลกเงิน, ธนาณัติ, หนังสือมอบอำนาจ, ระดับ, ลำดับ, ขั้น, นิกาย, คณะสงฆ์, อนุกรม, ชนิด, แบบแผน, ระเบียบ, สมณศักดิ์, เครื่องอิสริยาภรณ์, การลงมติในที่ประชุมนิติบัญญัติ. -Phr. (in order เหมาะสม, เป็นระเบียบ) -Phr. (in order that เพื่อว่า) vt.ออกคำสั่ง, สั่งซื้อ, ทำให้เป็นระเบียบ, บรรพชา, แต่งตั้งให้เป็นพระ |
parlay | (พาร์'ลี) vt. พนันขันต่อ, ประชุม, เพิ่ม, จัดการ |
parley | (พาร์'ลี) n. การเจรจา, การประชุม |
peace conference | n. การประชุมเจรจาสันติภาพ |
preside | (พรีไซดฺ') vi. นำการประชุม, เป็นประธานการประชุม, บรรเลงนำ, ควบคุม., See also: presider n., Syn. chair, moderate |
prorogue | (โพรโรก') vt. ยุติการประชุม, ปิดการประชุม., See also: prorogation n., Syn. defer |
quorum | (ควอ'รัม) n. องค์ประกอบ, องค์ประชุม, จำนวนบุคคลที่กฎหมายกำหนด |
rapporteur | (แรพพอเทอ') n. ผู้ถูกกำหนดให้เขียนรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ |
absence | (n) การไม่มา, การไม่อยู่, การขาดประชุม, การไม่มี |
absent | (adj) ไม่มา, ไม่อยู่, ขาดประชุม, ไม่มี |
agenda | (n) ระเบียบวาระการประชุม |
assemble | (n) การประชุม |
assemble | (vi) ประชุม, มาชุมนุมกัน, รวบรวม |
assembly | (n) การชุมนุม, การประชุม, ที่ประชุม, สมัชชา |
attend | (vt) เข้า(ประชุม), อยู่, ไปกับ, มาพร้อมกับ, ตาม |
auditorium | (n) หอประชุม, ห้องประชุม, ห้องบรรยาย |
auditory | (n) ผู้ฟัง, หอประชุม, ห้องประชุม, ห้องบรรยาย |
capitol | (n) ศาลากลาง, สถานที่ประชุมของรัฐสภาอเมริกัน |
caucus | (n) การประชุมพรรคการเมือง |
conclave | (n) ที่ประชุมสงฆ์, หัองประชุม, การประชุมลับ |
confer | (vi) ปรึกษาหารือ, ปรึกษา, ประชุม |
conferee | (n) ที่ปรึกษา, ผู้รับปริญญา, ผู้ประชุม |
conference | (n) การประชุม, การปรึกษาหารือ, การชุมนุม |
conferree | (n) ที่ปรึกษา, ผู้รับปริญญา, ผู้ประชุม |
congress | (n) ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, สภาคองเกรส |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, การพิจารณา, การประชุม |
convene | (vi, vt) เรียกประชุม, เรียกตัว, ทำให้รวมกัน, มาชุมนุมกัน, ประชุม |
convention | (n) การประชุม, สนธิสัญญา, การตกลง, จารีตประเพณี, ประเพณีนิยม, แบบแผน |
convocation | (n) การชุมนุมทางศาสนา, การเรียกประชุม, ที่ประชุม, ความสนุกสนาน |
convoke | (vt) เรียกชุมนุม, เรียกประชุม |
divan | (n) ราชสำนัก, ห้องรับแขกใหญ่, ห้องประชุม, เก้าอี้นวม |
forum | (n) การประชุม, ที่ประชุม, สภา, ศาล |
gathering | (n) การประชุม, การชุมนุม, การรวม, การรวบรวม |
hall | (n) หอประชุม, ห้องประชุม, ศาล, ห้องโถง, คฤหาสน์ |
journal | (n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร |
meet | (vt) พบ, ต้อนรับ, บรรจบ, เผชิญ, ร่วม, ประชุม |
meeting | (n) การประชุม, การชุมนุม, การดวลกัน |
minute | (n) นาที, รายงานการประชุม, ลิปดา |
negotiation | (n) การเจรจา, การประชุม, การซื้อขาย |
parley | (n) การตกลง, การเจรจาข้อพิพาท, การประชุม |
parley | (vi) ตกลง, เจรจาข้อพิพาท, ประชุม, สนทนา |
preside | (vi) เป็นผู้นำการประชุม, บรรเลงนำ |
prorogue | (vi) ปิดการประชุม |
quorum | (n) องค์ประชุม |
seminar | (n) การสัมมนา, การประชุมกลุ่ม |
session | (n) สมัยประชุม, การประชุม, ภาคการศึกษา |
sit | (vi) นั่ง, นั่งพิจารณาความ, เข้าสอบไล่, ประชุม, พักผ่อน |
sitting | (n) การนั่ง, การประชุม, ที่นั่ง, การเปิดศาล |
summon | (vt) ออกหมายเรียก, เรียกประชุม, กระตุ้น, ปลุกเร้า |
symposium | (n) การประชุมสัมมนา |