ประชดประชัน | ก. พูดหรือทำเป็นเชิงกระทบกระแทกแดกดัน. |
ประชัน | ว. อาการที่แข่งขันเพื่อให้รู้ว่าใครจะแสดงได้ดีกว่าหรือเก่งกว่ากัน เช่น งิ้ว ๒ โรงประชันกัน อย่าเอาเป็ดขันประชันไก่, โดยปริยายหมายถึง อาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เด็กร้องไห้ประชันกัน. |
เป็ดขันประชันไก่ | น. ผู้ที่มีความรู้ความสามารถน้อยแต่อวดแสดงแข่งกับผู้ที่มีความรู้ความสามารถสูง. |
ขี้เกียจ | เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน), ใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้เกียจจะ เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้เกียจจะรีบทำเสียอีก, ขี้คร้าน หรือ ขี้คร้านจะ ก็ว่า. |
ขี้คร้าน | ก. เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน) เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้คร้านรีบทำเสียอีก, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้คร้านจะ เช่น พอยอเข้าหน่อย ขี้คร้านจะทำให้ทุกอย่าง, ขี้เกียจจะ ก็ว่า. |
เข้า ๑ | ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายเร่งรัด เช่น เร็วเข้า คิดเข้า, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายมากขึ้น เช่น หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงสภาพหรือความรู้สึกที่เกิดมีขึ้น เช่น พอสวยเข้าก็มีหนุ่ม ๆ มารุมจีบ พอเหนื่อยเข้าก็อยากจะเลิกทำ, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายว่าหนุนให้ทำ (มักใช้ในความประชดประชัน) เช่น เอาเข้าไป ว่าแล้วยังไม่ยอมหยุด. |
ต่อตี | ก. ตีประชันหน้าเข้าไป. |
ถ้อถ้อย | ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, เช่น ร้องโดยยามสรุโนค ถ้อถ้อยโบกบินฉวาง (ม. คำหลวง วนประเวศน์), บางแห่งใช้ ท่อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี. |
ท่อถ้อย | ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, ใช้ว่า ถ้อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี. |
ประจัน | ประชัน, ประเชิญ, เผชิญ, เช่น หันหน้าประจันกัน |
ประชด | ก. แกล้งทำให้เกินควรหรือพูดแดกดันเพราะความไม่พอใจ เช่น หุงข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว พูดประชด, ประชดประชัน ก็ว่า, ในกลอนใช้ว่า ประทยด หรือ ประเทียด ก็มี. |
ประชน | ก. ประชัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ประชัน เป็น ประชนประชัน. |
พ่อเจ้าประคุณ | คำเรียกแสดงความรักใคร่หรือประชดประชัน แล้วแต่น้ำเสียง (ใช้แก่ผู้ชาย) เช่น โถ ! พ่อเจ้าประคุณของย่า เจ็บไหม ทำไมไม่นอนที่โรงละครเลยล่ะพ่อเจ้าประคุณ. |
แม่เจ้าประคุณ | คำเรียกแสดงความรักใคร่หรือประชดประชัน แล้วแต่น้ำเสียง (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น แม่เจ้าประคุณของยายสบายดีหรือ ดึกแล้วแม่เจ้าประคุณยังไม่กลับบ้านเลย. |
วง | ลักษณนามใช้เรียกของที่เป็นวง เช่น แหวนวงหนึ่ง หรืออาการที่คนหลาย ๆ คนนั่งหรือยืนล้อมกันเป็นวง เช่น ไพ่วงหนึ่ง ระบำชาวไร่ ๒ วง นั่งล้อมวงกินข้าว ๓ วง หรือการเล่นที่มีคนหลาย ๆ คนร่วมกันเป็นชุดเป็นคณะ เช่น เครื่องสายวงหนึ่ง แตรวงวงหนึ่ง ดนตรี ๒ วงประชันกัน. |
เอื้อนวาจา, เอื้อนโอฐ ๑ | ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้ในความหมายเชิงประชดประชัน เช่น กว่าจะเอื้อนโอฐออกมาได้เหมือนกลัวดอกพิกุลจะร่วง. |
biting | (adj) กระทบกระเทียบ, See also: ประชดประชัน, Syn. sarcastic, mordant |
fight | (n) การต่อสู้, See also: สงคราม, ศึก, การแข่งขัน, การประชันขันแข่ง, Syn. clash, encounter, riot, Ant. retreat, yield |
insult | (n) การดูถูก, See also: การประชดประชัน, การสบประมาท, การเย้ยหยัน, Syn. abuse, affront, insolence, offense |
quibble | (vi) พูดคลุมเครือ, See also: พูดประชดประชัน, Syn. dodge, complain, evade |
squib | (n) คำพูดหรือบทความล้อเลียน, See also: คำพูดหรือบทความประชดประชัน, Syn. pasquinade, satire |
squib | (vt) พูดหรือเขียนเรื่องล้อเลียน, See also: พูดหรือเขียนเรื่องเยาะเย้ย, พูดหรือเขียนเรื่องประชดประชัน, Syn. pasquinade, satirize |
wisecrack | (n) คำคมหรือคำตลกแบบประชดประชัน (คำไม่เป็นทางการ) |
wisecrack | (vi) พูดคำคมหรือคำตลกแบบประชดประชัน (คำไม่เป็นทางการ) |