ปรบ | (v) clap, See also: applaud, Syn. ตบ, ตบมือ, ปรบมือ, Example: คนดูปรบมือแสดงความพอใจกับการแสดง, Count Unit: ครั้ง, ที, Thai Definition: เอาฝ่ามือตบกันหลายๆ ครั้งให้เกิดเสียงเพื่อแสดงความยินดีเป็นต้น |
ปรบ | (v) flap, Syn. ตี, Example: นกปรบปีก, Thai Definition: อาการกระพือปีกของนก |
ปรบมือ | (v) clap, See also: applaud, Syn. ตบมือ, Example: ผู้ชมปรบมือให้ผู้แสดง |
ปรบไก่ | (n) name of a Thai tune, Example: มีการแสดงเพลงปรบไก่ในงานบุญที่วัด, Count Unit: เพลง, Thai Definition: ชื่อเพลงพื้นเมืองอย่างหนึ่ง ใช้ตบมือเป็นจังหวะ และว่าแก้กันอย่างเพลงฉ่อย, ชื่อหน้าทับประกอบเพลงดนตรีแบบหนึ่ง |
ชั่วช้างปรบหู | น. ระยะเวลาเท่ากับที่ช้างปรบหู ซึ่งเป็นเวลาสั้นมาก, มักใช้เข้าคู่กับ งูแลบลิ้น เป็น ชั่วช้างปรบหูงูแลบลิ้น. |
ปรบ | (ปฺรบ) ก. เอาฝ่ามือตบกันหลาย ๆ ครั้งให้เกิดเสียงเพื่อแสดงความยินดีเป็นต้น ในคำว่า ปรบมือ, ตบมือ ก็ว่า |
ปรบ | ตี เช่น ไก่ปรบปีก ช้างปรบหู. |
ปรบไก่ | น. ชื่อหน้าทับประกอบเพลงดนตรีประเภทหนึ่ง |
ปรบไก่ | ชื่อเพลงพื้นเมืองอย่างหนึ่ง ใช้ตบมือเป็นจังหวะ ร้องโต้ตอบกันระหว่างหญิงกับชาย. |
ปรบมือให้ | ก. ยกย่อง, สรรเสริญ. |
กะแตว | ว. ลักษณะที่ไปรบกวนบ่อย ๆ, หย่อย ๆ, เซ้าซี้. |
ขวัญเมือง ๒ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงโหมโรง อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
ขวัญอ่อน ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ เดิมเรียก จีนขวัญอ่อน. |
ขะแมร์กอฮอม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรแดง อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขะแมร์ซอ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรขาว อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขะแมร์ธม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรใหญ่ อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. |
ขึ้นพลับพลา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้นอก หรือ ขึ้นพลับพลานอก ก็เรียก. |
ขึ้นพลับพลากลาง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้กลาง ก็เรียก. |
ขึ้นพลับพลาใน | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, สามไม้ใน ก็เรียก. |
เขนง | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ครอบจักรวาล ๔ | (คฺรอบ-) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
จระเข้ขวางคลอง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
จอมสุรางค์ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงโหมโรง อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
จีนแส ๒, จีนแสโสกา | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น ของเก่า หน้าทับปรบไก่. |
จุ๊บแจง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
ฉ่า ๒ | ว. เสียงลูกคู่เพลงร้องรับจังหวะพ่อเพลงแม่เพลง มีเสียงต่าง ๆ เช่น ชะฉ่า ชาฉ่า ชัดฉ่า เป็นต้น เช่น ขอพวกกัญญาอย่าเคือง เอ๋ยในใจเอย ฉ่าฉ่าฉ่าชา ชะฉ่าไฮ้, ชะฉ่าชะฉ่า ชะฉ่าไฮ้ เล่นเพลงปรบไก่จนหัวไหล่ยอก (บทเพลงปรบไก่), เอ่ชา เอ๊ชา ชา ฉ่า ชา นอยแม่ (บทเพลงฉ่อย). |
โฉลก | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, โฉลกแรก ก็ว่า. |
ชกมวย ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่. |
ดอกไม้ไทร | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ด่อน ๓ | น. เครื่องมือสำหรับกันไม่ให้ช้างปรบหูถูกขาผู้ขี่ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ เป็นรูปเดือยแหลม. |
ตบมือ | ก. เอาฝ่ามือตีกันให้เกิดเสียงเพื่อแสดงความยินดีเป็นต้น, ปรบมือ ก็ว่า, เอาฝ่ามือตีกันให้เกิดเสียงเพื่อทำให้เกิดจังหวะหรือขับไล่เป็นต้น. |
ตวงพระธาตุ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ตะลุ่มโปง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ตามกวาง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่, เรียกชื่อเต็มว่า พระรามตามกวาง |
เต่ากินผักบุ้ง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๓ ท่อน. |
เต่าเห่ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
โตเล่นหาง | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ถอนสมอ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ ชื่อเดิมเรียกว่า ฝรั่งถอนสมอ |
ถอยหลังเข้าคลอง | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ทะแย | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยา หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน ที่เป็นอัตรา ๓ ชั้น นิยมทำเป็นเพลงเดี่ยว |
ทุรน | ก. เดือดร้อน, ดิ้นรน, เช่น ราชาธิราชอาณา ทั่วสีมามณฑล จะทุรนเดือดแด แปรบเห็นที่พึ่ง (นิทราชาคริต). |
นกกระจอกทอง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
นกจาก | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
นเรศวร์ชนช้าง | (นะเรด-) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
นาคเกี่ยว, นาคเกี้ยว, นาคเกี่ยวพระสุเมรุ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
นาคบริพัตร | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มีท่อนเดียว ๔ จังหวะ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เขมรโล้เรือ. |
แนวหน้า | น. แนวหรือเขตแบ่งกำลังทัพทางบกส่วนหน้าซึ่งพร้อมที่จะปะทะกับฝ่ายศัตรู, ผู้ที่ไปรบได้แก่ทหาร. |
แนวหลัง | น. ผู้ที่ไม่ได้ไปรบด้วย ได้แก่พลเรือนผู้สนับสนุนอยู่ข้างหลัง. |
บ้าบ่น | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน. |
บุญหนักศักดิ์ใหญ่ | ว. มีฐานันดรศักดิ์สูงและอำนาจวาสนายิ่งใหญ่ (มักใช้ในความประชด) เช่น ถึงเป็นพี่น้องกัน แต่ฉันก็ไม่กล้าไปรบกวนเขา เพราะเขาบุญหนักศักดิ์ใหญ่เหลือเกิน. |
บุหลันลอยเลื่อน | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน, ทรงพระสุบิน บุหลันเลื่อนลอยฟ้า หรือ สรรเสริญพระจันทร์ ก็เรียก |
ใบ้คลั่ง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ปฐมดุสิต | (ปะถมดุสิด) น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
แปดบท | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยา หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน, ลิกินแปดบท หรือ ยิกินแปดบท ก็เรียก |