ปฏิรูป | (v) reform, See also: change, improve, modernize, innovate, Syn. ปรับปรุง, แก้ไข, เปลี่ยนแปลง, ปฏิวัติ, Example: รัฐบาลพยายามปฏิรูปการเมืองให้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น, Thai Definition: ปรับปรุงให้เหมาะสม |
การปฏิรูป | (n) reform, Syn. การปรับปรุง, Example: ทางการได้นำการปฏิรูปแนวใหม่มาเริ่มดำเนินการกับระบบข้าราชการไทย, Thai Definition: การปรับปรุงให้เหมาะสมตามสมควร |
นักปฏิรูป | (n) reformer, See also: modernizer, innovator, Example: การชูภาพลักษณ์ของความเป็นนักปฏิรูปของผู้สมัครจากพรรคกลับเป็นจุดอ่อนที่ถูกพรรคตรงข้ามหยิบยกมาโจมตี |
สภาปฏิรูป | (n) reform council, Example: ทหารและพลเรือนอยู่ภายใต้การดูแลของสภาปฏิรูปการปกครอง |
ธรรมปฏิรูป | (n) counterfeit of moral rectitude, See also: synthetic dharma, Syn. ธรรมประติรูป, ธรรมปลอม, Thai Definition: สิ่งที่ไม่แท้, ธรรมปลอมที่ไม่ใช่พุทธศาสนา, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | (n) Agricultural Land Reform Office, See also: ALRO, Syn. ส.ป.ก., Example: สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมีความประสงค์จะชื้อเครื่องมือใหม่ เพื่อใช้ในโครงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมในเขตปฏิรูปที่ดิน |
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | น. การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรผู้ยากจน โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม. |
ธรรมปฏิรูป, ธรรมประติรูป | น. คำสอนที่ไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า, เรียกเต็มว่า สัทธรรมปฏิรูป. |
ปฏิรูป, ปฏิรูป- | (-รูปะ-) ว. สมควร, เหมาะสม, เช่น ปฏิรูปเทส คือ ถิ่นที่สมควร หรือ ถิ่นที่เหมาะสม |
ปฏิรูป, ปฏิรูป- | เทียม, ไม่แท้, เช่น มิตรปฏิรูป. |
ปฏิรูป, ปฏิรูป- | (-รูปะ-) ก. ปรับปรุงให้สมควร เช่น ปฏิรูปบ้านเมือง. |
เกษตรและสหกรณ์ | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์. |
ที่ดินส.ป.ก. | น. คำเรียกที่ดินที่คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอนุญาตให้เกษตรกรเข้าทำประโยชน์ในที่ดินของรัฐในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยไม่ให้กรรมสิทธิ์ แต่ให้ตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรมได้. |
แนวคิด | น. ความคิดที่เป็นแนวที่จะดำเนินต่อไป เช่น แนวคิดในการปฏิรูปการศึกษา. |
Agrarian reform | การปฏิรูปกสิกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Women social reformers | นักปฏิรูปสังคมสตรี [TU Subject Heading] |
Buddhist renewal | การปฏิรูปพุทธศาสนา [TU Subject Heading] |
Church renewal | การปฏิรูปคริสตจักร [TU Subject Heading] |
Civil service reform | การปฏิรูประบบราชการ [TU Subject Heading] |
Educational change | การปฏิรูปการศึกษา [TU Subject Heading] |
Health care reform | การปฏิรูปบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Land reform | การปฏิรูปที่ดิน [TU Subject Heading] |
Law reform | การปฏิรูปกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Social reformers | นักปฏิรูปสังคม [TU Subject Heading] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
reformasi | การปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ (ศัพท์ภาษาอินโดนีเซีย-มาเลเซีย) [การทูต] |
Team Thailand | ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต] |
land reform | land reform, การปฏิรูปที่ดิน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
การปฏิรูป | [kān patirūp] (n) EN: reform FR: réforme [ f ] |
การปฏิรูปประชาธิปไตย | [kān patirūp prachāthippatai] (n, exp) EN: democratic reforms FR: réformes démocratiques [ fpl ] |
การปฏิรูปที่ดิน | [kān patirūp thīdin] (n, exp) EN: land reform ; agrarian reform FR: réforme agraire [ f ] |
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | [kān patirūp thīdin pheūa kasēttrakam = kān patirūp thīdin pheūa kasēttakam] (n, exp) EN: agricultural land reform |
ลัทธิปฏิรูป | [latthi patirūp] (n, exp) EN: reformism FR: réformisme [ m ] |
ปฏิรูป | [patirūp] (v) EN: reform ; change ; improve ; modernize ; innovate FR: réformer ; changer ; moderniser ; améliorer |
พวกปฏิรูป | [phūak patirūp] (n, exp) EN: reformers FR: réformateurs [ mpl ] |
สภาปฏิรูป | [saphā patirūp] (n, exp) EN: reform council |
land reform | (n) การปฏิรูปที่ดินของรัฐบาลเพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินของตนเอง, See also: การปฏิรูปที่ดิน |
perestroika | (n) นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองรัสเซียของ Mikhail Gorbachev |
reform | (vt) ปฏิรูป, See also: ปรับปรุง, เปลี่ยนแปลง, แก้ไข, Syn. amend, improve, rectify |
reform | (n) การปฏิรูป, See also: การปรับปรุง, การเปลี่ยนแปลง, Syn. amendment, improvement |
reformation | (n) การปฏิรูป, See also: การปรับปรุงใหม่ |
reformatory | (adj) ซึ่งปฏิรูป, See also: ซึ่งปรับปรุงใหม่ |
reformed | (adj) ซึ่งปฏิรูป, See also: ซึ่งปรับปรุงใหม่, Syn. transformed, altered, Ant. deteriorated |
reformer | (n) ผู้ปฏิรูป |
reformist | (adj) ปฏิรูป |
reformist | (n) นักปฏิรูป |
regenerate | (vt) ปฏิรูป, See also: สร้างรูปแบบใหม่ |
regeneration | (n) การปฏิรูป, See also: การฟื้นฟูใหม่ |
regenerative | (adj) ซึ่งปฏิรูป, See also: ซึ่งเปลี่ยนแปลงใหม่ |
regenerator | (n) ผู้ปฏิรูป, See also: ผู้ฟื้นฟู |
revisionism | (n) การปฏิรูปลัทธิของ Marx ใหม่ |
apostle | (อะพอส'เซิล) n. สาวกของพระเยซูคริสต์, มิชชั่นนารีแรกหรือที่รู้จักกันดีที่สุดของประเทศหรือท้องถิ่นนั้น, ผู้เผยแพร่, ผู้ปฏิรูป. |
froebel | (โฟร'เบล) n. นักปฏิรูปการศึกษาชาวเยอรมันผู้ก่อตั้งระบบโรงเรียนอนุบาล., See also: Froebelian adj. |
land reform | n. การปฏิรูปที่ดิน |
lefitst | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. |
left | (เลฟทฺ) adj. ซ้าย, ข้างซ้าย, ด้านซ้าย, มือซ้าย, ทางซ้าย, ปีกซ้าย, ฝ่ายซ้าย (นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์) n. ด้านซ้าย, สิ่งที่อยู่ทางซ้ายมือ, การหันซ้าย, การเลี้ยวซ้าย adv. ไปทางซ้าย v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ leave (จากไป, ลาจาก) -Phr. (the Left ผู้นิยมการปฏิรูประบบการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ, หมัดซ้าย |
leftist | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. |
progressive | (พรเกรส'ซิฟว) adj. เกี่ยวกับการเจริญก้าวหน้า, เจริญ, ก้าวหน้า, รุดหน้า, คืบหน้า, เพิ่มขึ้น, ตามลำดับ, เป็นขั้นตอน, เกี่ยวกับการเก็บภาษีแบบก้าวหน้า (เป็นร้อยละเพิ่มขึ้นเมื่อฐานภาษีเพิ่มขึ้น) , ทวีความรุนแรง. n. นักปฏิรูป, ผู้ยึดถือลัทธิเจริญก้าวหน้า. |
reclaim | (รีเคลม') vt., n. (การ) หักร้างถางพง, บุกเบิก, ทำประโยชน์ที่ดิน, ทำให้ที่ดินใช้การได้, ทำประโยชน์จากของเสีย, ปรับปรุง, ปฏิรูป, See also: reclaimant n. reclaimable adj. |
reform | (รีฟอร์ม') vt., vi., n. (การ) ปฏิรูป, เปลี่ยนรูป, ปรับปรุง, เข้าแถวใหม่, เข้ารูปแบบใหม่, แก้ไขใหม่, กลับเนื้อกลับตัว, ดัดนิสัย, See also: reformable adj. reformative adj. reformer n. reformingly adv., Syn. improvement, corr |
reformation | (เรฟฟะเม'เชิน) n. การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การปรับปรุง, การเข้าแถวใหม่, การกลับเนื้อกลับตัว, การแก้ไขใหม่, การดัดนิสัย, See also: Reformation n. การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 ที่ทำให้เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ขึ้น -reformational adj. |
reformative | (รีฟอร์ม'มะทิฟว) adj. เป็นการปฏิรูป, เป็นการปรับปรุง, เป็นการดัดนิสัย |
regenerate | (รีเจน'นะเรท) vt. ทำให้เกิดใหม่, สร้างใหม่, ให้ชีวิตใหม่, ทำให้มีพลังงานใหม่ vi., adj. ปฏิรูป, สร้างรูปแบบใหม่, เกิดใหม่, See also: regenerable adj. regeneracy n. regeneration n. regenerative adj. regenerator n. -S... |
rehash | (รีแฮช') vt. ปรับปรุงใหม่, ทำให้รูปแบบใหม่, n. การปรับปรุงใหม่, การทำในรูปแบบใหม่, สิ่งที่ได้รับการปรับปรุงหรือปฏิรูป |
reoganize | (รีออ'กะไนซ) vt., vi. รวบรวมใหม่, จัดระบบใหม่, ปฏิรูป, ปรับปรุง, See also: reorganisation n. reorganization n. |
reorganise | (รีออ'กะไนซ) vt., vi. รวบรวมใหม่, จัดระบบใหม่, ปฏิรูป, ปรับปรุง, See also: reorganisation n. reorganization n. |
reform | (vt) แก้ไข, ปฏิรูป, เปลี่ยนรูป, กลับตัว, ดัดแปลง |
reformation | (n) การแก้ไข, การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การดัดแปลง |
reformatory | (adj) เป็นการปฏิรูป, ซึ่งทำให้ดีขึ้น, เป็นการดัดนิสัย, เป็นการปรับปรุง |
reformer | (n) ผู้ปฏิรูป, ผู้แก้ไขสถานการณ์, ผู้ปรับปรุง |
reorganization | (n) การปรับปรุง, การจัดใหม่, การปฏิรูป |
reorganize | (vt) ปรับปรุง, จัดใหม่, ปฏิรูป, จัดระบบใหม่ |
transform | (vi) แปลง, แปรรูป, เปลี่ยนร่าง, ปฏิรูป |
transformation | (n) การเปลี่ยนร่าง, การแปลง, การแปรรูป, การปฏิรูป |
改革 | [かいかく, kaikaku] (n, vt) การปฏิรูป |
改革 | [かいかく, kaikaku] (n, vi) การปฏิรูป, ปฏิรูป |
民主改革評議会 | [みんしゅかいかくひょうぎかい, minshukaikakuhyougikai] (n) คณะปฏิรูปการปกครอง |
改革 | [かいかく, kaikaku] (n) ปฏิรูป |
農地 | [のうち, nouchi] สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน |
農地 | [のうち, nouchi] (n) สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน |
農地 | [のうち, nouchi] (n) สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน |
政治改革 | [せいじかいかく, seijikaikaku] (n) การปฏิรูปการเมือง |