ปฏิกิริยา | (n) reaction, Syn. การตอบรับ, การตอบสนอง, ผลสะท้อน, Example: ชาวบ้านเริ่มมีปฏิกิริยาคัดค้านการปลูกป่าของโครงการ |
ปฏิกิริยา | (n) reaction, Syn. แรงโต้ตอบ, การตอบสนอง, การตอบรับ, แรงสะท้อน, ผลสะท้อน, Example: ชาวบ้านเริ่มมีปฏิกิริยาคัดค้านการปลูกป่าของโครงการ |
ทำปฏิกิริยา | (v) react |
ปฏิกิริยาเคมี | (n) chemical reaction, Example: การทำงานของเซลล์อาศัยปฏิกิริยาเคมีที่ซับซ้อนมากมายหลายอย่าง, Thai Definition: การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารที่ทำปฏิกิริยากัน |
เกิดปฏิกิริยา | (v) react, See also: engender, response, Example: โคที่ได้รับการถ่ายเลือดซ้ำในเวลาใกล้ๆ กันจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านขึ้นได้, Thai Definition: มีปฏิกิริยาขึ้น |
แสดงปฏิกิริยา | (v) react, See also: respond, reply, answer, Example: จอร์จ ดับเบิลยู บุช แห่งสหรัฐแสดงปฏิกิริยา |
ปฏิกิริยาตอบโต้ | (n) respond, See also: react, Syn. ปฏิกิริยาโต้ตอบ, Example: รัฐบาลอินเดียมีปฏิกิริยาตอบโต้การทดลองนิวเคลียร์ของปากีสถานอย่างรุนแรง, Thai Definition: การกระทำโต้กลับไป, การกระทำตอบสนองกลับไป |
ปฏิกิริยาลูกโซ่ | (n) chain reaction |
ปฏิกิริยาสะท้อน | (n) reaction, See also: response, repercussion, Example: พฤติกรรมส่วนมากในชีวิตประจำวันของเราไม่ใช่ปฏิกิริยาสะท้อน แต่เป็นพฤติกรรมที่เราตั้งใจทำ, Thai Definition: การกระทำที่ย้อนกลับมา |
ปฏิกิริยาข้างเคียง | (n) side reaction, Syn. ผลข้างเคียง, Example: หากกินยานี้ติดต่อกันนานเกินไปจะเกิดปฏิกิริยาข้างเคียงจากการใช้ยา, Thai Definition: ผลอื่นๆ ที่เกิดสนองตามหลังมา |
ปฏิกิริยาเรือนกระจก | (n) greenhouse effect, Example: นักวิทยาศาสตร์เห็นพ้องกันว่า ปฏิกิริยาเรือนกระจกเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไข |
ปฏิกิริยา | น. การกระทำตอบสนอง |
ปฏิกิริยา | การกระทำต่อต้าน |
ปฏิกิริยา | ผลของการกระทำซึ่งเป็นเหตุให้เกิดกิริยาสะท้อนมาเป็นอีกอย่างหนึ่ง |
ปฏิกิริยา | การเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร. |
กลไก | กระบวนการต่อเนื่องที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยา เช่น กลไกการย่อยอาหาร กลไกของการสร้างอาหารของพืชโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง. |
ก๊าซ | น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับนํ้า ว่า ไฟก๊าซ, แก๊ส ก็ว่า. |
ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย | น. ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูลหรือแก๊สมีตระกูล (noble gases) ก๊าซหายากหรือแก๊สหายาก (rare gases). |
แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. |
แก๊ส | น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน (acetylene) ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับน้ำว่า ไฟแก๊ส, ก๊าซ ก็ว่า. |
เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. |
เคลื่อนไหว | แสดงกิริยาหรือปฏิกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักศึกษาเคลื่อนไหวต่อต้านสินค้าต่างประเทศ. |
แคลเซียมคาร์ไบด์ | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี CaC2 ลักษณะเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทำปฏิกิริยากับนํ้าจะได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง ใช้เป็นตะเกียงได้. |
เฉื่อย ๒ | ว. ไม่เปลี่ยนไปง่ายโดยปฏิกิริยาเคมี, ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี. |
ซีเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๕ สัญลักษณ์ Cs เป็นโลหะสีเงิน ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก หลอมละลายที่ ๒๘.๗ ºซ. |
ซีเมนต์ | น. วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สำคัญของซีเมนต์ คือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทำคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อเป็นต้น เรียกว่า ปูนซีเมนต์. |
เซลล์ ๒ | น. อุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าซึ่งใช้ปฏิกิริยาเคมีในการเปลี่ยนพลังงานในสารเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้าเช่นถ่านไฟฉาย ถ่านกระดุม และส่วนย่อยของแบตเตอรี่, เรียกเต็มว่า เซลล์ไฟฟ้า. |
เซลลูลอยด์ | น. สารประกอบประเภทเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง ทำได้จากปฏิกิริยาของเซลลูโลสไนเทรต การบูร และเอทิลแอลกอฮอล์ ลักษณะเป็นของแข็ง ติดไฟง่ายมาก. |
ไซ ๒ | น. ชื่องูน้ำจืดขนาดกลางชนิด Enhydris bocourti Jan ในวงศ์ Colubridae หัวป้อมใหญ่ ปลายปากมน คอไม่คอด ลำตัวอ้วนกลมสีน้ำตาลเหลืองหรือน้ำตาลแดง บนหลังมีลายเป็นปล้องใหญ่ หางสั้น มีพิษอ่อนมาก ผู้ถูกกัดมักไม่มีปฏิกิริยาต่อพิษงูชนิดนี้. |
ดินกรด | น. ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด, ดินเปรี้ยว ก็เรียก. |
ดินเค็ม | น. ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นด่าง, ตรงข้ามกับ ดินกรดหรือดินเปรี้ยว. |
ตะเกียงแก๊ส | น. ตะเกียงที่ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับนํ้าได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง. |
ไทเทรต | (-เทฺรด) ก. หยดสารละลายหนึ่งจากหลอดแก้วที่มีขีดบอกปริมาตรซึ่งเรียกว่าบิวเรตต์ลงในสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้ว เพื่อให้ทำปฏิกิริยาเคมีกันจนกระทั่งปฏิกิริยาสิ้นสุด. |
ไนโตรเจน | น. ธาตุลำดับที่ ๗ สัญลักษณ์ N เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี มีปรากฏอยู่ประมาณร้อยละ ๘๐ ในบรรยากาศ ธาตุนี้มีความสำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต โดยเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนและกรดนิวคลิอิก. |
เบส | น. สารเคมีซึ่งทำปฏิกิริยากับกรด แล้วให้ผลเป็นเกลือหรือเกลือกับนํ้าเท่านั้น, สารเคมีที่มีสมบัติรับโปรตอนมาจากสารอื่นได้, สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายอิเล็กตรอนคู่หนึ่งให้แก่สารอื่นได้, สารเคมีซึ่งเมื่อละลายนํ้าแล้วให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-), สารละลายที่เปลี่ยนสีลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินได้. |
ปฏิกรณ์ | น. เครื่องที่ใช้สำหรับก่อให้เกิดปฏิกิริยาแตกสลายทางนิวเคลียร์อย่างสมํ่าเสมอและควบคุมได้เพื่อผลิตพลังงาน สารกัมมันตรังสี เครื่องชนิดนี้มีหลายแบบ และใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมักเป็นแท่งยูเรเนียม, มักเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู. |
ปูนซีเมนต์ | น. วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สำคัญคือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทำคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อ. |
ผิดกลิ่น | ว. แปลกไปจากกลิ่นที่คุ้นเคยและทำให้เกิดปฏิกิริยา. |
ฟลูออรีน | น. ธาตุลำดับที่ ๙ สัญลักษณ์ F เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีสมบัติคล้ายคลอรีนแต่ให้ปฏิกิริยาเคมีไวกว่า. |
ไฟ | ผลจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งก่อให้เกิดความร้อน แสงสว่าง และเปลว คือ กลุ่มแก๊สที่กำลังลุกไหม้ ทำให้ไหม้สิ่งต่าง ๆ ได้ |
ภูมิแพ้ | (พูม-) น. สภาพที่ร่างกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติต่อสิ่งที่ตามธรรมดาเมื่อเข้าสู่ร่างกายคนทั่ว ๆ ไปแล้วจะไม่มีอันตรายใด ๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพ้สิ่งนั้นเท่านั้น. |
มอลโทส | น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๖๐ °-๑๖๕ °ซ. องค์ประกอบเป็นกลูโคส ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน เกิดขึ้นเนื่องจากเอนไซม์ไดแอสเทส ซึ่งมีในข้าวมอลต์ ทำปฏิกิริยากับแป้ง มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย. |
ยูโรเพียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๓ สัญลักษณ์ Eu เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา เนื้ออ่อนมาก หลอมละลายที่ ๘๒๖ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปดูดกลืนนิวตรอนเพื่อควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ ใช้ประกอบเป็นตัวเรืองแสงในเครื่องรับโทรทัศน์สีเป็นต้น. |
ระเบิดปรมาณู | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียมหรือธาตุพลูโทเนียมแตกสลาย ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายมากยิ่งกว่าระเบิดธรรมดาที่ใช้ดินระเบิด. |
ระเบิดไฮโดรเจน | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก. |
รังสีเหนือม่วง | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก. |
รีดักชัน | น. ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารได้รับธาตุไฮโดรเจนมารวมตัวด้วย, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารสูญเสียธาตุออกซิเจนไป, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้อะตอมของธาตุได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น. |
รูบิเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๓๗ สัญลักษณ์ Rb เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีขาว ไวต่อปฏิกิริยาเคมีอย่างยิ่ง หลอมละลายที่ ๓๘.๙ °ซ. |
ละลาย | อาการที่สารอย่างหนึ่งแผ่กระจายในสารอีกอย่างหนึ่งอย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น คาร์บอนละลายในเหล็ก แอลกอฮอล์ละลายในนํ้า แก๊สออกซิเจนละลายในแก๊สไนโตรเจน ผลที่ได้เรียกว่า สารละลาย. |
สตรอนเชียม | (สะตฺรอน-) น. ธาตุลำดับที่ ๓๘ สัญลักษณ์ Sr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีเหลืองอ่อน ไวต่อปฏิกิริยาเคมี หลอมละลายที่ ๗๕๒ °ซ. |
สนิม ๑ | (สะหฺนิม) น. ส่วนของผิวโลหะที่แปรสภาพไปจากเดิมเนื่องด้วยปฏิกิริยาเคมีเป็นสาเหตุให้เกิดการผุกร่อน เช่น มีดขึ้นสนิม |
สมการเคมี | น. สมการที่เขียนขึ้นโดยอาศัยสัญลักษณ์ของธาตุ เพื่อแสดงปฏิกิริยาเคมีและปริมาณของธาตุต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ. |
สมมูลเคมี | น. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. |
สังเคราะห์ | ก. ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. |
ส่าเหล้า ๑ | น. ส่าที่เติมลงไปเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ทำให้มีเอทิลแอลกอฮอล์เกิดขึ้น. |
สารประกอบ | น. สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. |
สารละลาย | น. ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ สารขึ้นไป แผ่กระจายผสมรวมกันอยู่อย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง แก๊สละลายในแก๊ส. |
เสียงสะท้อน | น. เสียงที่ย้อนกลับมามีลักษณะคล้ายเสียงเดิม เนื่องจากคลื่นเสียงไปกระทบสิ่งขวางกั้นแล้วย้อนกลับ อย่างเสียงในถ้ำในหุบเขาเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงความคิดเห็นของกลุ่มชนที่มีปฏิกิริยาต่อการกระทำบางอย่างของอีกฝ่ายหนึ่ง. |
หิ่งห้อย | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae ลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ด้านปลายของส่วนท้องมีปล้องทำแสง ๒ ปล้องในเพศผู้ และ ๑ ปล้องในเพศเมีย โดยแสงเกิดจากสารลูซิเฟอรินทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ความถี่และช่วงของแสงนั้นแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด บางชนิดตัวเมียไม่มีปีก ที่พบมากตามแหล่งน้ำจืด เช่น ชนิด Luciola aquatilis Thaneharoen ที่พบตามป่าชายเลน เช่น ชนิด Pteroptyx malaccae (Gorham), ทิ้งถ่วง แมลงแสง หรือ แมลงไฟ ก็เรียก. |
หินปูน | น. หินที่มีเนื้อสารเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตเกือบทั้งสิ้น สารประกอบหินดังกล่าวเกิดจากการตกตะกอนเนื่องจากปฏิกิริยาเคมีก็มี และที่เกิดจากการตกจมรวมตัวเป็นพืดใหญ่ของสัตว์ประเภทมีเปลือกหุ้มตัวเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตก็มี. |
หินแปร | น. หินที่แปรสภาพจากหินเดิม โดยการกระทำของความร้อน ความดัน และปฏิกิริยาเคมี. |
product | ๑. ผลิตภัณฑ์, ผลผลิต๒. ผลปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
photoreaction; reaction, photochemical | ปฏิกิริยาจากแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
photochemical reaction; photoreaction | ปฏิกิริยาจากแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rejection | ปฏิกิริยาปฏิเสธสิ่งปลูกถ่าย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioreaction | ปฏิกิริยาต่อรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
react | โต้, แสดงปฏิกิริยา, ร่วมปฏิกิริยา, ทำปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reactionary theory of representation | ทฤษฎีผู้แทนแนวพวกปฏิกิริยา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reactivity | ความไวปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reactant | ตัวโต้, สารร่วมปฏิกิริยา, ตัวทำปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reaction | การโต้, ปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reaction border; reaction rim | ขอบปฏิกิริยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
reaction rim; reaction border | ขอบปฏิกิริยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
reaction, photochemical; photoreaction | ปฏิกิริยาจากแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reactionary | ปฏิกิริยา, พวกปฏิกิริยา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reactionary | พวกปฏิกิริยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
substrate | ๑. ที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตขึ้น [ มีความหมายเหมือนกับsubstratum ]๒. สารตั้งต้น [ ในปฏิกิริยาเอนไซม์ ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
oxidation catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์แบบออกซิเดชัน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abreaction | ปฏิกิริยาปลดเปลื้อง (จิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
biocatalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dual-bed catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสองส่วน, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สองส่วน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
exothermic reaction | ปฏิกิริยาแบบคายความร้อน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
endothermic reaction | ปฏิกิริยาแบบดูดกลืนความร้อน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
TWC (three-way catalytic converter) | ทีดับเบิลยูซี (เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
TWC (three-way catalytic converter) | ทีดับเบิลยูซี (เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
three-way catalytic converter (TWC) | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง (ทีดับเบิลยูซี) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
three-way catalytic converter (TWC) | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง (ทีดับเบิลยูซี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
two-way catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสองทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สองทาง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
hydrocarbon reactivity | ความไวปฏิกิริยาไฮโดรคาร์บอน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Polymerase chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Enzyme | เอนไซม์ โปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Catalytic cracking | การแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Photocatalysis | การเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cobalt catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Copper catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาทองแดง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Platinum catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Palladium catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Metallocene catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Metal catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Polymerase chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส, Example: <p>เทคนิค PCR เป็นเทคนิคที่ทำได้ง่ายในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง โดยสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอให้เพียงพอต่อการนำไปศึกษาโดยใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมง ปัจจุบันเทคนิค PCR เริ่มจากเตรียมส่วนผสมในหลอดทดลองให้ประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ดีเอ็นเอตั้งต้น (ดีเอ็นเอ 2 สายจับกัน) ไพรเมอร์ (primer) 2 สาย (ดีเอ็นเอสายเดี่ยวสายสั้นๆ 2 สาย สามารถไปจับปลายของดีเอ็นเอตั้งต้นแต่ละสาย) ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส (DNA polymerase เป็นเอนไซม์ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่สร้างดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจาก primer โดยการคัดลอกจากดีเอ็นเอตั้งต้น) dNTPs (deoxynucleotide triphosphates เป็นหน่วยย่อยของดีเอ็นเอนำไปต่อโดย DNA polymerase เพื่อสร้างดีเอ็นเอสายใหม่) หลังจากนั้นนำส่วนผสมไปควบคุมอุณหภูมิและเวลาเป็นรอบๆ โดยใช้เครื่องควบคุมอัตโนมัติ โดยแต่ละรอบเริ่มจากควบคุมอุณหภูมิและเวลาให้ดีเอ็นเอ 2 สายที่จับกันแยกออกจากกันเป็นดีเอ็นเอสายเดี่ยว 2 สาย แล้วควบคุมอุณหภูมิและเวลาให้ primer แต่ละสายจับกับดีเอ็นเอสายเดี่ยว แล้วควบคุมอุณหภูมิและเวลาอีกครั้งให้ DNA polymerase สร้างดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจาก primer ดังนั้นเมื่อผ่านรอบแรกดีเอ็นเอเพิ่มขึ้น 2 เท่า และเมื่อเข้ารอบสองดีเอ็นเอที่เพิ่มขึ้น 2 เท่าในรอบแรกจะกลายเป็นดีเอ็นเอตั้งต้นของรอบสอง ทำให้เมื่อควบคุมอุณหภูมิและเวลาหลายๆ รอบดีเอ็นเอจะเพิ่มขึ้น 2 ยกกำลัง n เท่า เมื่อ n คือ จำนวนรอบ เนื่องจากใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีในแต่ละรอบ ทำให้เมื่อผ่านไปเป็นชั่วโมง ดีเอ็นเอจะเพิ่มขึ้นมากมายเพียงพอต่อการนำไปศึกษา <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> 1. สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. "เอนไซม์ที่ใช้ในการโคลนยีน" ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 42-65. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. <br>2. Promega. PCR Amplification. Retrieved May 24, 2012. from http://www.promega.com/resources/product-guides-and-selectors/protocols-and-applications-guide/pcr-amplification/ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Inert Gas | ก๊าซซึ่งไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่น , ก๊าซซึ่งไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่น ได้แก่ ก๊าซ Helium, Neon, Argon, Krypton, Xenon, Radon [ปิโตรเลี่ยม] |
Fission effect | ปฏิกิริยาฟิชชั่น, Example: ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากการใช้อนุภาคนิวตรอนหรืออนุภาคอื่น ยิงเข้าไปที่นิวเคลียสของธาตุหนัก แล้วทำให้นิวเคลียสแตกตัวเป็นนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส ที่มีมวลใกล้เคียงกัน และมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ นิวคลีออนสูงกว่านิวเคลียสเดิม ขบวนการฟิชชั่นที่เกิดขึ้นนี้ จะมีนิวตรอนอิสระเกิดขึ้นด้วย นิวตรอนอิสระนี้จะไปชนนิวตรอนอื่นของ ธาตุ เช่น ยูเรเนียม ก็จะเกิดฟิชชั่นต่อไปอีก เรียกว่า "ปฏิกิริยาลูกโซ่" ซึ่งต่อเนื่องกันไปไม่หยุดยั้ง และจะเกิดพลังงานมหาศาล แนวความคิดนี้ถูกนำไปใช้ในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Fusion effect | ปฏิกิริยาฟิวชั่น, Example: ปฏิกิริยาหลอมตัวของนิวเคลียสและมีพลังงานคายออกมาด้วย นิวเคลียสที่ใช้หลอดจะต้องเป็นนิวเคลียสเล็กๆ (A<20) หลอมรวมกลายเป็นนิวเคลียสเบาที่ใหญ่กว่าเดิม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Annihilation | ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Atomic bomb | ลูกระเบิดอะตอม, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม-235 หรือ พลูโทเนียม-239 ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว (ดู Fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Atomic weapon | อาวุธอะตอม, อาวุธระเบิดซึ่งพลังงานเกิดจากปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส (ดู nuclear weapon ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Barn, b | บาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Breeder reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ผลิตเชื้อเพลิง, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ผลิตวัสดุฟิสไซล์ขึ้นในแบล็งเคต โดยนิวตรอนเข้าไปทำปฏิกิริยากับวัสดุเฟอร์ไทล์บางส่วนทำให้กลายเป็นวัสดุฟิสไซล์, Example: [นิวเคลียร์] |
Burnable poison | สารพอยซันเสื่อมสภาพได้, สารดูดกลืนนิวตรอน เช่น โบรอน ที่ผสมไว้ในแท่งเชื้อเพลิงหรือเปลือกแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ในระยะแรก ซึ่งมีปริมาณเชื้อเพลิงมาก หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสารที่ไม่ดูดกลืนนิวตรอน เป็นการชดเชยผลจากเชื้อเพลิงที่ถูกใช้ไป และการสะสมตัวของผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสที่ดูดกลืนนิวตรอนที่เกิดขึ้นในเชื้อเพลิง ทำให้อายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ยาวนานขึ้น [นิวเคลียร์] |
Chain reaction, Fission | ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส, ปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสที่สามารถเกิดขึ้นซ้ำๆ ได้เอง โดยนิวเคลียสจะดูดกลืนนิวตรอนแล้วเกิดการแบ่งแยกของนิวเคลียสขึ้น พร้อมกับปลดปล่อยนิวตรอนใหม่เพิ่มขึ้นออกมา ซึ่งจะถูกนิวเคลียสอื่นๆ ดูดกลืนต่อไปอีก และทำให้เกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสต่อเนื่องไปเรื่อยๆ (ดู nuclear fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Chemical shim | สารเคมีเสริมการควบคุม, สารเคมี เช่น กรดบอริก ที่เติมเข้าไปในตัวทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อเสริมการทำงานของแท่งควบคุมปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส โดยการดูดกลืนนิวตรอน, Example: [นิวเคลียร์] |
Control rod | แท่งควบคุม, อุปกรณ์ควบคุมกำลังของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น หรือท่อ ประกอบด้วยสารดูดกลืนนิวตรอน เช่น แฮฟเนียม โบรอน อุปกรณ์นี้อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และสามารถปรับการเคลื่อนที่เข้าหรือออกเพื่อลดหรือเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์] |
Core | แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, บริเวณส่วนกลางเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ประกอบด้วย เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ แท่งควบคุม สารหน่วงนิวตรอน และโครงสร้างที่รองรับอุปกรณ์ต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Critical mass | มวลวิกฤต, มวลน้อยที่สุดของวัสดุที่เกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสได้ ซึ่งเพียงพอต่อการเกิดและสืบเนื่องของปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู fissionable material ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Criticality | ภาวะวิกฤต, ภาวะที่ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสสามารถสืบเนื่องอยู่ได้ โดยอัตราการเกิดนิวตรอนจากปฏิกิริยาเท่ากับอัตราการสูญเสียนิวตรอน [นิวเคลียร์] |
Delayed neutrons | ดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Transmutation | การแปรธาตุ, การเปลี่ยนจากธาตุหนึ่งเป็นอีกธาตุหนึ่ง โดยการเปลี่ยนจำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอมด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ เช่น การแปรธาตุโคบอลต์-60 เป็นนิกเกิล-60 [นิวเคลียร์] |
Thermonuclear reaction | ปฎิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์, ปฏิกิริยาการหลอมตัวของนิวเคลียสเบาภายใต้อุณหภูมิสูงมาก ไปเป็นนิวเคลียสของอะตอมที่หนักกว่า และปลดปล่อยพลังงานออกมา [นิวเคลียร์] |
Supercritical mass | มวลเหนือวิกฤต, มวลของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ทำให้ตัวประกอบพหุคูณยังผลมีค่ามากกว่า 1 ซึ่งจะทำให้ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (ดู critical mass และ effective multiplication factor ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Subcritical mass | มวลใต้วิกฤต, มวลของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมีปริมาณไม่เพียงพอ หรือการจัดเรียงอยู่ในรูปแบบที่ไม่เหมาะสมต่อการคงไว้ซึ่งปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู critical mass ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Spallation Neutron Source | ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน, เครื่องผลิตนิวตรอนชนิดหนึ่ง โดยการเร่งโปรตอนพลังงานสูงกว่า 100 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เข้าชนเป้าซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น แทนทาลัม ทังสเตน หรือ ยูเรเนียม ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่มีการปลดปล่อยนิวตรอนพลังงานเฉลี่ย 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชันเครื่องแรกมีชื่อว่า KENS ตั้งอยู่ที่สถาบัน KEK (Ko Enerugi Kenkyujo) ประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 [นิวเคลียร์] |
Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] |
Radioimmunoassay | อาร์ไอเอ, เทคนิคการหาปริมาณสารต่างๆ ในสิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ โดยใช้สารประกอบติดฉลากรังสีเป็นตัวติดตามผลของปฏิกิริยาจำเพาะระหว่างสารก่อภูมิต้านทาน(antigen) และสารภูมิต้านทาน(antibody) [นิวเคลียร์] |
Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Prompt radiation | รังสีพรอมต์, รังสีที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันในตอนเริ่มต้นของกระบวนการแบ่งแยกนิวเคลียสหรือหลอมนิวเคลียส โดยไม่รวมรังสีที่เกิดจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส และจากปฏิกิริยาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลัง [นิวเคลียร์] |
Prompt neutrons | พรอมต์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาทันทีเมื่อเกิดการแบ่งแยกนิวเคลียส นิวตรอนที่เกิดจากปฏิกิริยานี้มากกว่าร้อยละ 99 เป็นพรอมต์นิวตรอน (ดู delayed neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Prompt criticality | ภาวะวิกฤตพรอมต์, สถานะของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแบ่งแยกนิวเคลียสสามารถคงอยู่ต่อไปโดยพรอมต์นิวตรอนเท่านั้น, Example: [นิวเคลียร์] |
Poison | สารพอยซัน(ต่อปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์] |
Plutonium | พลูโทเนียม, ธาตุหนักที่เป็นโลหะและเป็นธาตุกัมมันตรังสี มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 94 ซึ่งมนุษย์ผลิตขึ้นจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไอโซโทปสำคัญ คือ พลูโทเนียม-239 มีครึ่งชีวิต 24, 000 ปีสามารถแบ่งแยกนิวเคลียสได้ จึงใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือทำอาวุธนิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Nuclear transformation | การแปลงนิวเคลียส, การเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของธาตุด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ เช่น การแปรธาตุยูเรเนียม-238 เป็นพลูโทเนียม-239 โดยการก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน <br>(ดู transmutation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Nuclear safety | ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์, มาตรการสำหรับป้องกันหรือลดอุบัติเหตุที่จะเกิดจากสถานปฏิบัติการ หรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ รวมทั้งมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติงาน ประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายหลังเกิดอุบัติเหตุ, Example: [นิวเคลียร์] |
Nuclear reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อุปกรณ์สำหรับให้ปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและสามารถควบคุมได้ ใช้สำหรับผลิตนิวตรอน หรือพลังงานความร้อน มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ แกนปฏิกรณ์ ซึ่งบรรจุเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ สารหน่วงความเร็วนิวตรอน สารสะท้อนนิวตรอน สารหล่อเย็น วัสดุกำบังรังสี และระบบควบคุม <br>บางครั้งเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู (atomic reactor)</br> [นิวเคลียร์] |
Nuclear reactions | ปฏิกิริยานิวเคลียร์, ปฏิกิริยาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม เช่น ฟิชชัน ฟิวชัน การจับยึดนิวตรอน หรือ การสลายกัมมันตรังสี ซึ่งแตกต่างกับปฏิกิริยาเคมี ที่จำกัดอยู่เพียงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ นิวเคลียส [นิวเคลียร์] |
Nuclear power plant | โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์, โรงไฟฟ้านิวเคลียร์, โรงไฟฟ้าพลังความร้อนรูปแบบหนึ่งที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์จากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เป็นแหล่งผลิตความร้อน และถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ จนเดือดเป็นไอร้อนไปหมุนกังหันไอน้ำซึ่งจะขับเคลื่อนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ให้ผลิตไฟฟ้าออกมาเช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วไป, Example: [นิวเคลียร์] |
Nuclear bomb | ลูกระเบิดนิวเคลียร์, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของธาตุเบา เช่น ลูกระเบิดไฮโดรเจน หรือจากการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ลูกระเบิดอะตอม, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron generator | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่งที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุ เช่น ดิวเทอรอน ให้มีพลังงานระหว่าง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วปล่อยให้ชนกับเป้าบางๆ ที่เหมาะสม ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจะให้นิวตรอนที่มีพลังงานได้ถึง 17.59 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutrino | นิวทริโน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูง และมีปฏิสัมพันธ์กับสสารน้อย ทำให้ตรวจหาได้ยาก พบได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์หลายชนิด เช่น การสลายแบบให้อนุภาคบีตา รวมทั้งอนุภาคจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลก, Example: [นิวเคลียร์] |
Moderator | ตัวหน่วงความเร็ว(นิวตรอน), วัสดุที่ใช้ลดความเร็วของนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำให้โอกาสของการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มขึ้น เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก และแกรไฟต์ <br>(ดู reflector, absorber และ thermal neutron ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
การมีปฏิกิริยารุนแรงเกินไป | [kān mī patikiriyā runraēng koēnpai] (n, exp) EN: overreaction |
การมีปฏิกิริยาต่อกัน | [kān mī patikiriyā tø kan] (n, exp) EN: interaction |
การมีปฏิกิริยาโต้ตอบแรงเกินไป | [kān mī patikiriyā tōtøp raēng koēnpai] (n, exp) EN: overreaction |
ปฏิกิริยา | [patikiriyā] (n) EN: reaction ; response FR: réaction [ f ] ; réponse [ f ] ; répercussion [ f ] |
ปฏิกิริยาข้างเคียง | [patikiriyā khāngkhīeng] (n, exp) EN: side reaction |
ปฏิกิริยาเคมี | [patikiriyā khēmī] (n, exp) EN: chemical reaction FR: réaction chimique [ f ] |
ปฏิกิริยาลูกโซ่ | [patikiriyā lūksō] (n, exp) EN: chain reaction FR: réaction en chaîne [ f ] |
ปฏิกิริยานานาชาติ | [patikiriyā nānāchāt] (n, exp) EN: international response FR: réponse internationale [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ | [patikiriyā niūkhlīa] (n, exp) EN: nuclear reaction FR: réaction nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน | [patikiriyā niūkhlīa fitchan] (n, exp) FR: fission nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน | [patikiriyā niūkhlīa fiūchan] (n, exp) FR: fusion nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ทำให้เกิดการระเบิด | [patikiriyā niūkhlīa thī tham hai koēt kān raboēt] (xp) EN: nuclear explosion FR: explosion nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยาเรือนกระจก | [patikiriyā reūoen krajok] (n, exp) EN: greenhouse effect |
ปฏิกิริยาสะท้อน | [patikiriyā sathøn] (n, exp) EN: reaction ; response ; repercussion FR: réaction [ f ] |
ปฏิกิริยาตอบโต้ | [patikiriyā tøptō] (n, exp) EN: respond ; react |
แสดงปฏิกิริยา | [sadaēng patikiriyā] (v, exp) EN: react ; respond ; reply ; answer FR: réagir ; répondre |
สันดานปฏิกิริยา | [sandān patikiriyā] (n, exp) EN: reactionary nature FR: tendance réactionnaire [ f ] |
actinism | (n) ปฏิกิริยาของแสงอาทิตย์ |
actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง |
answer to | (phrv) สนองตอบ, See also: ตอบสนองต่อ, มีปฏิกิริยาตอบ |
backlash | (n) การสะท้อนกลับอย่างรุนแรง, See also: การกระตุก, ปฏิกิริยารุนแรงฉับพลัน, Syn. backfire |
backlash | (n) ปฏิกิริยาที่รุนแรงและไม่เอื้อประโยชน์ (ทางด้านการพัฒนาของสังคมและการเมือง), Syn. revolt |
catalysis | (n) การเพิ่มปฏิกิริยาทางเคมี, See also: การเร่งปฏิกิริยาเคมี |
chain reaction | (n) ปฏิกิริยาลูกโซ่ |
electrodynamics | (n) การศึกษาว่าปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและพลังแม่เหล็กไฟฟ้า (ทางฟิสิกส์), See also: อิเล็กโทรไดนามิกส์, พลศาสตร์ไฟฟ้า |
ester | (n) สารประกอบอินทรีย์เกิดจากปฏิกิริยาของกรดกับอัลกอฮอล์, See also: สารเอสเตอร์ |
induce in | (phrv) เร่งให้เกิดปฏิกิริยาใน |
interact with | (phrv) มีปฏิกิริยากับ, See also: มีผลกับ, เกิดผลกับ |
galvanism | (n) ไฟฟ้าซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี, Syn. voltaism |
interact | (vi) มีปฏิกิริยาต่อกัน, See also: มีผลกระทบต่อกัน, Syn. coact, socialize |
interaction | (n) ปฏิกิริยา, See also: การมีปฏิสัมพันธ์, การสื่อสารระหว่างกัน, การทำงานร่วมกัน, Syn. collaboration, interplay, synergy |
interplay | (n) การมีปฏิกิริยาต่อกันและกัน, See also: การมีผลกระทบซึ่งกันและกัน, Syn. interaction |
knee jerk | (n) ปฏิกิริยาการเตะขาที่เกิดจากการเคาะถูกเส้นเอ็นที่หัวเข่า |
overreact | (vi) มีปฏิกิริยารุนแรงเกินไป, Syn. exaggerate, overcompensate |
overreaction | (n) การมีปฏิกิริยารุนแรงเกินไป |
passive | (adj) ซึ่งไม่มีปฏิกิริยา, See also: ไม่โต้แย้ง |
passively | (adv) อย่างเฉื่อยๆ, See also: อย่างไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, Syn. indifferently, quietly |
react | (vi) เกิดปฏิกิริยาต่อต้าน, Syn. counteract, rebel |
react | (vi) เกิดปฏิกิริยาทางเคมี |
reaction | (n) ปฏิกิริยาตอบกลับ, Syn. backlash, counteraction |
reaction | (n) ปฏิกิริยาเคมี |
reactive | (adj) ซึ่งทำให้เกิดปฏิกิริยา |
reagent | (n) สารที่ใช้เป็นตัวกระทำปฏิกิริยา |
reflex | (adj) ีปฏิกิริยาตอบกลับโดยอัตโนมัติ, Syn. involuntariness, reaction |
retardant | (n) สารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีช้าลง |
retarder | (n) สารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีช้าลง |
respond to | (phrv) มีปฏิกิริยากับ |
serology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติและปฏิกิริยาของเซรุ่ม, See also: เซรุ่มวิทยา |
tryout | (n) การแสดงก่อนรอบจริงเพื่อดูปฏิกิริยาของผู้ชม |
vanadium | (n) ธาตุโลหะสีขาวเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำเหล็กอัลลอยด์, See also: สัญลักษณ์คือ V |
weather-wise | (adj) ซึ่งเก่งในการคาดเดาปฏิกิริยาหรือความคิดเห็นสาธาณชน |
abstraction | (แอ็บสแทรค' เชิน) n. นามธรรม (รูป, ผล, ปฏิกิริยา, มโนคติ) , การเอาหรือแยกออก, ภาวะใจลอย -abstractionist n. |
agent | (เอ' เจินทฺ) n. ตัวแทน, ผู้แทนจำหน่าย, แรงหรือสิ่งตามธรรมชาติที่ใช้เพื่อผลเฉพาะอย่าง, ยา, น้ำยา, พนักงานเจ้าหน้าที่, สายลับ, สารที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. performer |
atom bomb | ระเบิดปรมาณูซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียม U -235 ทำให้ส่วนของมวลของมันเปลี่ยนเป็นพลังงานที่มหาศาล. |
catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation |
catalyst | (แคท'ทะลิสทฺ) n. ตัวเร่งปฏิกิริยา, ตัวเร่ง, Syn. katalyst |
chain reaction | n. ปฏิกิริยาลูกโซ่ |
flip | (ฟลิพ) vt., n. (การ) โยน, ติด (เหรียญ) , เหวี่ยงขึ้นในอากาศให้หมุนคว้าง, สะบัด, พลิก (ไพ่) , โบก, กระตุก (เบ็ด) , ตีลังกา, หวด (แส้) . vi. ดีดนิ้ว, กระพือ, มีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างตื่นเต้น, ตีลังกา, Syn. flick, jerk, twirl |
fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate |
inert | (อินเนิร์ท') adj. เฉื่อยชา, ไม่มีชีวิตชีวา, เหงาหงอย, ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ ไม่มีฤทธิ์ทางยา., See also: inertness n., Syn. immobile |
interact | (อินเทอแรคทฺ') vi. ทำปฏิกิริยากับ, มีปฏิกิริยาต่อ. n. ละครสลับฉาก, การหยุดพักระหว่างฉาก, See also: interactive adj. |
kneejerk | ปฏิกิริยาเหยียดขาที่เนื่องจากการเคาะที่หัวเข่า, Syn. patellar reflex |
latent period | n. ระยะซ่อนเร้น, ระยะแฝงของโรคก่อนที่จะมีอาการโรคปรากฎ, ระยะเวลาการกระตุ้นกับปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น., Syn. latency |
mechanism | (เมค'คะนิสซึม) n. ระบบเครื่องกลไก, เครื่องกลไก, กลวิธาน, วิธีการ, โครงสร้าง, ลัทธิวัตถุนิยม, กระบวนการและปฏิกิริยาของแรงจิต., See also: mechanismic adj. mechanist n. mechanistic adj. |
nuclear fusion | n. ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบากว่ารวมกันเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่าเช่นอะตอมของdeuteriumรวมกับอะตอมของฮีเลียม |
passive | (แพส'ซิฟว) adj. อยู่เฉย ๆ , ไม่ดิ้นรน, ไม่มีปฏิกิริยา, ไม่โต้ตอบ, ไม่ร่วมด้วย, เกี่ยวกับกรรมวาจก n. กรรมวาจก รูปแบบที่ไม่มีปฏิกิริยา, See also: passivity n. |
patch test | การทดสอบภูมิแพ้โดยการปะตัวทำให้แพ้ (allergen) เข้ากับผิวหนังแล้วสังเกตดูว่ามีปฏิกิริยาแพ้เกิดขึ้นไหม |
react | (รีแอคทฺ') vi. แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ, โต้ตอบ, ต่อต้าน, คัดค้าน, แวดงปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. response |
reaction | (รีแอค'เชิน) n. ปฏิกิริยา, การโต้ตอบ, การตอบสนอง, ปฏิกิริยาทางเคมี, ลัทธิฝ่ายขวา |
reactionary | (รีแอค'เชินนะรี) adj. เกี่ยวกับพวกฝ่ายขวา, ชอบให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ n. สมาชิกฝ่ายขวา, ผู้ชอบการมีปฏิกิริยาโต้ตอบ (มีอีกชื่อว่าreactionist), See also: reactionism, reactionarism n., Syn. die-hard, rightist |
reactor | (รีแอค'เทอะ) n. บุคคลหรือสารที่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, เครื่องปฏิกรณ์, เครื่องต้านไฟฟ้า, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ |
reflex | (รี'เฟลคซฺ) n., adj. ปฏิกิริยาโต้ตอบที่ไม่เจตนาต่อสิ่งกระตุ้น, การสะท้อนกลับ, ภาพสะท้อน, สิ่งที่สะท้อนกลับ vt. (รีเฟลคซฺ) ทำให้สะท้อนกลับ, หันกลับ, หมุนกลับ, พับกลับ, See also: reflexly adv., Syn. reponse |
restrainer | (รีสเทรน'เนอะ) n. ผู้กรอง, สิ่งกรอง, สารเคมีที์ยับยั้งปฏิกิริยาเคมี, ผู้ยับยั้ง, ผู้อดกลั้น, ผู้ดึงบังเหียน, น้ำยาทำให้การปรากฎรูปขึ้นช้า (ในการล้างรูป) |
ribosome | ประกอบด้วยสาร ribonucleic acid (RNA) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ |