เครื่องบันทึกเสียง | น. เครื่องที่ใช้เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นรูปอื่นซึ่งบันทึกเก็บไว้ได้ เช่น บันทึกลงบนแถบแม่เหล็กหรือลงบนร่องจานเสียง. |
แถบบันทึกเสียง | น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง. |
จานเสียง | น. วัสดุแผ่นกลมบางซึ่งบันทึกเสียงไว้ในลักษณะเป็นร่องบนผิวพื้น เมื่อใส่บนแผ่นหมุนของหีบเสียง วางเข็มลงในร่องแล้วให้จานหมุนไป ก็จะเกิดเสียงตามที่บันทึกไว้, แผ่นเสียง ก็เรียก. |
บันทึก | ก. จดข้อความเพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, จดหรือถ่ายทำไว้เพื่อช่วยความจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, เช่น บันทึกรายงานการประชุม บันทึกภาพ บันทึกเสียง, จดย่อ ๆ ไว้เพื่อให้รู้เรื่องเดิม |
แผ่นเสียง | น. วัสดุแผ่นกลมบางซึ่งบันทึกเสียงไว้ในลักษณะเป็นร่องบนผิวพื้น เมื่อใส่บนแผ่นหมุนของหีบเสียง วางเข็มลงในร่องแล้วให้จานหมุนไป ก็จะเกิดเสียงตามที่บันทึกไว้, จานเสียง ก็เรียก. |
ลิขสิทธิ์ | สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย. |
อัดแผ่นเสียง | ก. บันทึกเสียงลงในแผ่นเสียง. |
อัดเสียง | ก. บันทึกเสียงลงในแถบบันทึกเสียงหรือฟิล์มเป็นต้น. |
Material | วัสดุ, สิ่งของต่างๆ ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น รูปภาพ บัตรคำ แผนภูมิ ฟิล์มภาพยนต์ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Equipment | อุปกรณ์, เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาช่วยในการใช้วัสดุให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เครื่องเล่นจานเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายฟิล์มสติรป เป็นต้น [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Tape recordings | แถบบันทึกเสียง (Tape recording), Example: <p>แถบบันทึกเสียง <p>หมายถึงวัสดุที่แบนยาวเคลือบด้วยสารแม่เหล็กใช้บันทึกสัญญาณเสียง เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ บันทึก เสียงได้ทั้งสองแถบและสามารถลบเสียงเดิมออกแล้วบันทึกเสียงใหม่ได้ ต่างจากแผ่นเสียงที่เมื่อบันทึกเสียงลงไปแล้วจะคงอยู่ตลอด ไปจนกว่าแผ่นเสียงจะสึกหรอหรือแตกหัก เทปบันทึกเสียง มี 3 ลักษณะ ได้แก่ <p>1.เทปม้วน (tape open reel-to reel) <p>2.เทปตลับแบบคาสเซท (tape cassette) <p>3.เทปตลับแบบ cartridge <p>(tape cartridge) การจัดเก็บเทปบันทึกเสียง จะจัดเก็บไว้ในกล่อง เรียงตามลำดับเลขทะเบียนหรือหัวเรื่องที่กล่องเทปและที่วงของเทปมีป้ายระบุรายละเอียดไดว้คือ ผู้ผลิต ชื่อเรื่อง สถานที่ วัน เดือน ปี หมายเลขจำนวนระยะเวลาที่เล่น และอัตราความเร็ว <p>บรรณานุกรม : พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์, การใช้ห้องสมุด กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Magnetic recorder and recording | เครื่องบันทึกเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
World Intellectual Property Organization Performances and Phonograms Treaty (1996) | สนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (ค.ศ. 1996) [TU Subject Heading] |
Audiocassettes | แถบบันทึกเสียงตลับ [TU Subject Heading] |
Audiocassettes for children | แถบบันทึกเสียงตลับสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] |
Audiotapes | แถบบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Sound recording industry | อุตสาหกรรมการบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Sound recording libraries | ห้องสมุดวัสดุบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Sound recordings | วัสดุบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Sound recordings for foreign speakers | วัสดุบันทึกเสียงสำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Sound studios | ห้องบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Telephone answering and recording apparatus | เครื่องตอบรับและบันทึกเสียงโทรศัพท์ [TU Subject Heading] |
Alpha-Numeric System for Classification of Recordings | ระบบการจัดหมู่ทรัพยากรประเภทสื่อบันทึกเสียง, Example: Alpha-Numeric System for Classification of Recordings หรือ ANSCR (อ่านว่า answer) เป็นระบบการจัดหมู่สื่อบันทึกเสียง เช่น เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง ประกอบด้วย 23 หมวดใหญ่ โดยใช้ตัวอักษร A-Z ในบางหมวดหมู่จะแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยใช้ตัวอักษร 2 ตัว ได้แก่ หมวด E หมวด G หมวด M และหมวด Z การจัดหมู่ในระบบ ANSCR แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นหมวดใหญ่ แสดงประเภทของสื่อบันทึกเสียง เช่น ใช้อักษร M แทนดนตรีตามสมัยนิยม ในการแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยจะใช้ตัวอักษร 2 ตัว เช่น ใช้ MJ สำหรับดนตรีแจ๊ส ส่วนที่ 2 เป็นตัวอักษร 3-4 ตัวแรกตามชื่อเรื่องของผลงาน ชื่อของนักแต่งเพลง นักแสดง ผู้เขียน ฯลฯ ส่วนที่ 3 ของเลขหมู่หนังสือ (Classification number) ประกอบด้วยอักษร 3 ตัวแรกของคำสำคัญในชื่อเรื่องของผลงานหรืออัลบั้ม หรือใช้ตัวเลข ถ้าผลงานนั้นเป็นที่รู้จักกันตามรูปแบบและผลงานที่ให้หมายเลข ส่วนที่ 4 ประกอบด้วยตัวอักษรตัวแรกของชื่อผู้แสดงหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับการแสดงในการบันทึกเสียง ตามด้วยตัวเลข 2 ตัวสุดท้ายของตัวเลขที่ใช้บันทึกในเชิงพาณิชย์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้<br> <br style="margin-left: 40px">ES <br style="margin-left: 40px">BEET <br style="margin-left: 40px">5 <br style="margin-left: 40px">O 98 <li>ES แสดงว่า ผลงานที่บันทึกเสียงนี้อยู่ในรูปแบบของวงออเคสตร้าหรือวงซิมโฟนี</li> <li>BEET เป็นผลงานที่แต่งโดย ลุดวิก ฟาน เบโธเฟ่น (Ludwig Van Beethoven)</li> <li>เลข 5 คือ วงซิมโฟนีที่ 5</li> <li>O98 เป็นการแสดงที่ควบคุมวงดนตรีโดยยูจีน ออร์มานดี (Eugene Ormandy) และตัวเลข 2 ตัวสุดท้ายเป็นตัวเลขการบันทึกของโคลัมเบีย คือ 98</li><br> ระบบ ANSCR นี้เป็นระบบที่นิยมใช้กันมากในห้องสมุดที่มีสื่อบันทึกเสียงจำนวนมาก สำหรับห้องสมุดที่มีทรัพยากรประเภทนี้จำนวนไม่มากนัก โดยทั่วไปมักจะใช้เลขทะเบียน (Accession number) หรือระบบการ จัดหมู่ (Classification system) ที่พัฒนาขึ้นเองในห้องสมุดสำหรับใช้จัดระบบทรัพยากรประเภทสื่อบันทึกเสียง<br> โครงสร้างแผนการจัดหมู่ของระบบ ANSCR มีดังนี้<br> A - Music Appreciation: History and Commentary <br> B - Operas<br> C - Choral Music<br> D - Vocal Music<br> E - Orchestral Music:<br> EA-General Orchestral, EB-Ballet, EC-Concertos, ES-Symphonies<br> F - Chamber Music<br> G - Solo Instrumental Music:<br> GG-Guitar, GO-Organ, GP-Piano, GS-Stringed Instruments<br> GV-Violin, GW-Wind Instruments, GX-Percussion Instruments<br> H - Band Music<br> J - Electronic Music<br> K - Musicals<br> L - Soundtrack Music: Movies and Television<br> M - Popular Music:<br> MA-Pop/Rock, MB-Blues, MC-Country, <br> MG-Gospel, MJ-Jazz, MN-New Age<br> P - National Folk and Ethnic Music<br> Q - International Folk and Ethnic Music<br> R - Holiday Music<br> S - Variety and Humor: Comic Monologues, Musical Satire, Radio Shows<br> T - Plays<br> U - Poetry<br> V - Prose<br> W - Documentaries<br> X - Instructional: Dictation, Languages, "How To..."<br> Y - Sound Effects<br> Z - Children's Recordings<br> ZI-Instructional, ZM-Music, ZS-Spoken<br> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
a & r | abbr. artists and repertory (เกี่ยวกับอาชีพการคัดเลือกสรรหานักดนตรี เพื่อบันทึกเสียงหรือภาพ) |
audiotape | (ออ'ดีโอเทพ) n. เทปบันทึกเสียง |
casette tape-recorder | n. เครื่องบันทึกเสียงด้วยตลับเทป |
magnetic tape | แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก |
recording | (รีคอร์ด'ดิง) n. การบันทึก, สิ่งที่บันทึกไว้, จานเสียง, จานเสียง, เทปบันทึกเสียง |
recording film | n. ฟิล์มบันทึก, เทปบันทึกเสียง |
recordingmeter | (รีคอร์ด'ดิง'มิเทอะ) n. เครื่องบันทึกเสียง |
recordist | (รีคอร์ด'ดิสทฺ) n. เจ้าหน้าที่บันทึกเสียง (โดยเฉพาะฟิล์มภาพยนตร์) |
tape | (เทพ) n. สาย, สายเทป, สายเทปบันทึกเสียง, สายผ้าหรือพลาสติกหรือกระดาษยาวเป็นริบบิ้น, ผ้ายางปิดแผลสำหรับพันสายไฟฟ้า, สายวัด, สายหลักชัยที่จุดสิ้นสุดในการแข่งขัน vt. ใส่เทป, ผูก, มัด |
tape recorder | n. เครื่องบันทึกเสียงด้วยสายเทป |
tape recording | n. การบันทึกเสียงด้วยสายเทป, สายเทปบันทึกเสียง |
tape-record | (เทพ'ริคอร์ด) vt. บันทึกเสียงด้วยสายเทป |
transcript | (แทรสซฺ'คริพทฺ) n. สำเนา, บันทึก, ฉบับคัดลอก, ฉบับสำเนา, จานเสียง, หนังสือรับรองผลการศึกษา, แผ่นโลหะบันทึกเสียง |
transcription | (แทรนซฺคริพ'เชิน) n. การคัด, การลอก, การถ่ายสำเนา, การสำเนา, การแปล, การถอดความ, สำเนา, ฉบับสำเนา, บันทึก, ฉบับคัดลอก, เครื่องหมายแทนเสียง, แผ่นเสียง, การบันทึกเสียง., See also: transcriptional adj. transcriptive adj. |