นิรนัย | (-ระไน) น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย เช่น มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย นาย ก. เป็นมนุษย์ เพราะฉะนั้นนาย ก. ก็ต้องตาย, ตรงข้ามกับ อุปนัย. |
อุปนัย | (อุปะ-, อุบปะ-) น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม เช่น นาย ก. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ข. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ค. เกิดมาแล้วต้องตาย เพราะฉะนั้นมนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย, ตรงข้ามกับ นิรนัย. |
deduction | การนิรนัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
deduction | การนิรนัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
deduction | นิรนัย [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
deductive | นิรนัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
deductive reasoning | การให้เหตุผลแบบนิรนัย, การให้เหตุผลโดยการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนำไปสู่ข้อสรุป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
นิรนัย | [niranai] (n) EN: deduction |
นิรนัย | [niranai] (adj) EN: deductive |
deduction | (n) การอนุมาน, การหักออก, นิรนัย, การหักกลบลบหนี้ |
deductive | นิรนัย |