นาฏ | (n) actress, See also: dancer, Syn. นางละคร, นางรำ, นางฟ้อนรำ, Count Unit: นาง, คน, Thai Definition: หญิงสาวสวยที่เป็นนางละคร, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
นาฏกรรม | (n) dramatic works, Syn. การละคร, การฟ้อนรำ, Example: เดือนนี้มีการจัดแสดงนาฏกรรมที่ท้องสนามหลวงอย่างต่อเนื่องเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว, Thai Definition: งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องราว และหมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย, Notes: (สันสกฤต) |
นาฏดนตรี | (n) musical drama, See also: musical folk drama, traditional melodrama, Syn. ลิเก, ยี่เก, Example: ที่บ้านชอบพากันไปชมนาฏดนตรีที่จัดประกวดกัน, Count Unit: โรง, คณะ, Thai Definition: การแสดงของไทยแบบหนึ่ง มักแสดงเป็นเรื่องราวที่มีตัวละคร มีทั้งบทร้องและรำ สันนิษฐานว่ารับแบบอย่างมาจากมลายู |
นาฏศิลป์ | (n) dancing art, See also: acting art, playing art, Syn. การฟ้อนรำ, นาฏกรรม, Example: ทางวิทยาลัยต้องการครูสอนนาฏศิลป์เป็นจำนวนมาก, Count Unit: ชนิด, แบบ, Thai Definition: ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรำ, Notes: (สันสกฤต) |
โศกนาฏกรรม | (n) tragedy, Syn. เรื่องเศร้า, เรื่องโศกเศร้า, Ant. สุขนาฎกรรม |
โศกนาฏกรรม | (n) tragedy, Example: ทุกฝ่ายสามารถสรุปถึงต้นเหตุของโศกนาฏกรรมครั้งนี้ได้ตรงกันว่า เกิดจากการตัดไม้ทำลายป่าอย่างแน่นอน, Thai Definition: เรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่วๆ ไปที่เป็นเรื่องเศร้าสลดใจ, Notes: (สันสกฤต) |
โศกนาฏกรรม | (n) tragedy, Thai Definition: วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด |
โศกนาฏกรรม | (n) tragedy, Thai Definition: วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด |
นาฏ, นาฏ- | (นาด, นาตะ-, นาดตะ-) น. นางละคร, นางฟ้อนรำ, ใช้ประกอบกับคำอื่น หมายความว่า หญิงสาวสวย เช่น นางนาฏ นุชนาฏ. |
นาฏกรรม | (นาดตะกำ) น. การละครหรือการฟ้อนรำ |
นาฏกรรม | งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องราว และหมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย. |
นาฏดนตรี | (นาตะดนตฺรี) น. ลิเก. |
นาฏศิลป์ | (นาดตะสิน) น. ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรำ. |
นาฏกะ | (นาดตะกะ) น. ผู้ฟ้อนรำ. |
นาฏย- | (นาดตะยะ-) ว. เกี่ยวกับการฟ้อนรำ, เกี่ยวกับการแสดงละคร, เช่น นาฏยศาลา. |
โศกนาฏกรรม | (โสกะนาดตะกำ, โสกกะนาดตะกำ) น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่นเรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอ-จูเลียต, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่เป็นเรื่องเศร้าสลดใจ เช่น ชีวิตของเขาเป็นเหมือนโศกนาฏกรรม เกิดในตระกูลเศรษฐี แต่สุดท้ายต้องตายอย่างยาจก. |
สุขนาฏกรรม | (-นาดตะกำ) น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกำลำบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต. |
หัสนาฏกรรม | น. ละครหรือเรื่องราวที่ตลกขบขัน. |
กลมกลืนกลอน | (-กฺลอน) น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ แสนเสียดายกรายนาฏช่าง แสนเสียดายงอนงามเจ้า ให้อ่านว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ห่างหาย แสนเสียดายกรายนาฏช่างนาฏกราย แสนเสียดายงอนงามเจ้างามงอน (จารึกวัดโพธิ์). |
กำดัด | กำหนัด เช่น โอ้เจ้าพี่ศรีสวัสดิ์กำดัดสวาท นุชนาฏแม่อย่าลืมเนื้อความหลัง (โคบุตร). |
เกศินี | น. นางผู้มีผมงาม เช่น โฉมแก้วเกศินีนาฏ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). |
ฉายา ๒ | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น นางนาฏแม่ฉายา (มโนห์รา). |
ฏ | (ตอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๕ เรียกว่า ฏอ ปฏัก เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ปรากฏ นาฏ. |
พระพิธีธรรม | น. พระสงฆ์จำนวน ๔ รูปที่กำหนดให้สวดอาฏานาฏิสูตรในงานพระราชพิธีตรุษ หรือสวดพระอภิธรรมในการศพของหลวง. |
ลิขสิทธิ์ | สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย. |
ศิลปศาสตร์ | ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์. |
ศิลปะพื้นบ้าน | น. ศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น วรรณกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ หัตถกรรม ที่ชาวบ้านได้สร้างสรรค์ขึ้นจากการเรียนรู้และฝึกปรือในครอบครัวหรือในหมู่บ้าน เป็นงานสร้างสรรค์ของสังคมชาวบ้าน และได้พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องกันมาหลายชั่วคน. |
หัส, หัส- | การรื่นเริง, ใช้เป็นส่วนหน้าของคำสมาส เช่น หัสดนตรี หัสนาฏกรรม หัสนิยาย. |
อัฏนา | (อัดตะนา) น. เรียกชื่อพิธียิงปืนเพื่อขับไล่ภูตผีปีศาจตามประเพณีความเชื่อในระหว่างที่พระสงฆ์สวดอาฏานาฏิยสูตรในวันทำพิธีตรุษ ว่า ยิงปืนอัฏนา, อาฏานา ก็ว่า. |
อาฏานา | น. เรียกชื่อพิธีขับไล่ภูตผีปีศาจตามประเพณีความเชื่อในวันทำพิธีตรุษ โดยพระสงฆ์สวดอาฏานาฏิยสูตรและมีการยิงปืนในระหว่างนั้น ซึ่งเรียกว่า ยิงปืนอาฏานา, อัฏนา ก็ว่า. |
comedy | (n) ละครตลก, See also: ละครชวนหัว, เรื่องตลก, หัสนาฏกรรม, สุขนาฏกรรม, Syn. pleasantry, burlesque, parody, satire, travestry, fun |
comic | (adj) เกี่ยวกับละครตลก, See also: เกี่ยวกับเรื่องตลก, เกี่ยวกับหัสนาฏกรรม, เกี่ยวกับสุขนาฏกรรม, Syn. humorous, humourous |
dance | (n) การเต้นรำ, See also: ศิลปการเต้นรำ, การเต้นระบำ, การฟ้อนรำ, การรำ, การร่ายรำ, การลีลาศ, นาฏกรรม, นาฎศิลป์, Syn. dancing, hop, jig |
dancing | (n) การเต้นรำ, See also: ศิลปะการเต้นรำ, การเต้นระบำ, การฟ้อนรำ, การรำ, การร่ายรำ, การลีลาศ, นาฏกรรม, นาฏศิลป์, Syn. dance, hop, jig |
tragedy | (n) เหตุการณ์ร้ายแรง, See also: โศกนาฏกรรม |