ธัญ | (adj) wealthy, See also: prosperous, flourishing, moneyed, affluent, , Syn. มั่งมี, มั่งคั่ง, ร่ำรวย, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญ | (n) grain, See also: cereal, corn, seed, maize, Syn. ข้าวเปลือก, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญ | (adj) good, See also: excellent, superb, superior, premium, best, top, prime, fine, wonderful, Syn. รุ่งเรือง, ดี, เลิศ, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญ | (adj) fortunate, See also: lucky, blessed, prosperous, successful, Syn. มีโชค, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญดัจ | (n) rice-husk, See also: hull, chaff, shuck, covering, Syn. เปลือกข้าว, แกลบ, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญพืช | (n) cereal, See also: grain, coriander, Example: มีธัญพืชขึ้นเต็มไปหมดบริเวณเชิงเขาฝั่งตะวันออก, Thai Definition: พืชล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ให้เมล็ดเป็นอาหารหลัก, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญเขต | (n) paddyfield, See also: paddy field, rice field, area of corn fields, farm, field, Syn. นา, ที่นา, ธัญเขตต์, ธานยเกษตร, Count Unit: แห่ง, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญโกศ | (n) granary, See also: barn, silo, storehouse, store of grain or cereals in quantity, Syn. ฉางข้าว, ยุ้งข้าว, Count Unit: หลัง, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธัญชาติ | (n) paddy, See also: corn-husk, Syn. ธัญญชาติ, Thai Definition: ข้าวชนิดต่างๆ, Notes: (บาลี) |
ธัญญาหาร | (n) rice, See also: cereals, Thai Definition: อาหารคือ ข้าวเปลือก, Notes: (บาลี) |
ธัญเบญจก | (n) five kinds of cereals, See also: five sorts of cereals, Thai Definition: ธัญชาติทั้งห้าได้แก่ ข้าวสาลี ข้าวเปลือก ลูกเดือย ถั่ว และข้าวกษุทร, Notes: (บาลี) |
เมล็ดธัญพืช | (n) cereal, Syn. ธัญญาหาร |
ธัญ ๑ | (ทัน) ว. รุ่งเรือง, มั่งมี, มีโชค, ดี, เลิศ, เช่น ธัญลักษณ์ ว่า มีลักษณะดี. |
ธัญ ๒, ธัญ- | (ทัน, ทันยะ-) น. ข้าวเปลือก. |
ธัญโกศ | น. ฉางข้าว, ยุ้งข้าว. |
ธัญเขต | น. นา. |
ธัญชาติ | น. คำรวมเรียกข้าวต่าง ๆ เช่น ข้าวเปลือก ข้าวสาลี. |
ธัญญาหาร | น. อาหารคือข้าว. |
ธัญดัจ | น. เปลือกข้าว, แกลบ. |
ธัญเบญจก | (-เบนจก) น. ธัญชาติทั้ง ๕ ได้แก่ ๑. ศาลิ–ข้าวเจ้า ๒. วฺรีหิ–ข้าวเปลือก ๓. ศูก–ลูกเดือย ๔. ศิมฺพี–ถั่ว ๕. กฺษุทฺร–ข้าวกษุทร. |
ธัญพืช | น. พืชล้มลุกหลายชนิดหลายสกุล มักหมายถึงพืชในวงศ์ Gramineae เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ให้เมล็ดเป็นอาหารหลัก. |
ธัญมาส | น. มาตราตวง เท่ากับ ๗ อูกา. |
ธัญญาหาร | ดู ธัญ ๒, ธัญ-. |
เทพี ๑ | น. เทวี, เรียกหญิงที่ทำหน้าที่โปรยพืชพรรณธัญญาหารในพิธีแรกนา ว่า นางเทพี, หญิงที่ชนะประกวดความงาม เช่น เทพีสงกรานต์. |
พืชมงคล | (พืดชะ-, พืด-) น. ชื่อพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่เกษตรกรและความเจริญงอกงามของพืชพรรณธัญญาหาร เรียกว่า พระราชพิธีพืชมงคล เป็นพิธีสงฆ์ที่ทำก่อนพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญซึ่งเป็นพิธีพราหมณ์ เริ่มมีในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. |
วิสกี้ | น. ชื่อสุราชนิดหนึ่งกลั่นจากเมล็ดธัญพืชบางชนิด. |
สารท ๑ | (สาด) น. เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือน ๑๐ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์และข้าวมธุปายาสถวายพระสงฆ์. |
scutellum | ใบเลี้ยงธัญพืช [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
caryopsis | ผลธัญพืช [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
hull; husk | ๑. เปลือกแห้ง [ ผล, เมล็ด ]๒. แกลบ [ ธัญพืช ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
husk; hull | ๑. เปลือกแห้ง [ ผล, เมล็ด ]๒. แกลบ [ ธัญพืช ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
way-going crop | ธัญพืชที่เพาะปลูกไว้ (ก่อนสัญญาเช่าสิ้นอายุ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Grain | ธัญพืช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Grain | ธัญพืช [TU Subject Heading] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Beetles, Grain | มอดกินเมล็ดธัญญพืช [การแพทย์] |
Cereals | ซีเรียล, ข้าว;เมล็ดพืช;ธัญพืช [การแพทย์] |
เมล็ดธัญพืช | [malet thanyapheūt] (n, exp) EN: cereal FR: céréale [ f ] |
ธัญญาหาร | [thanyāhān] (n) EN: food grain ; rice ; cereals FR: céréales [ fpl ] |
ธัญพืช | [thanyapheūt] (n) EN: cereal ; grain ; coriander FR: céréale [ f ] |
bran | (n) อาหารที่ได้จากรำข้าวและเมล็ดธัญพืช |
cereal | (n) ธัญพืช |
cereal | (n) เมล็ดธัญพืช, Syn. grain, seed, corn |
cereal | (n) อาหารเช้าที่ทำจากธัญพืช (มักจะรับประทานโดยใส่นม), Syn. breakfast cereal |
ear | (n) รวงข้าว, See also: รวงของธัญพืช, Syn. sheaf |
ergot | (n) โรคของธัญพืชที่เกิดจากเชื้อรา |
farina | (n) ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากธัญพืช, See also: อาหารประเภทแป้ง, แป้ง, Syn. cereal, flour, starch |
grain | (n) เมล็ดข้าว, See also: เมล็ด, เมล็ดพืช, เม็ดข้าว, ธัญพืช, เนื้อไม้, Syn. seed, bulb |
meal | (n) ธัญพืชบด, See also: ข้าวบด, ข้าวป่น, Syn. bran, fodder |
muesli | (n) อาหารผสมประกอบด้วยธัญพืช ถั่วและผลไม้แห้ง |
rye | (n) ธัญพืชคล้ายข้าวสาลี ใช้ทำอาหารและเลี้ยงสัตว์, See also: ข้าวไรย์ |
crop | (ครอพ) { cropped, cropping, crops } n. พืชผล, ธัญพืช, การเพาะปลูก vt. เก็บเกี่ยว, ตัด, ตัดผม, เด็ด vi. |
cereal | (adj) เกี่ยวกับธัญญาหาร, เกี่ยวกับพืชพันธุ์, เกี่ยวกับข้าว |
cereal | (n) ธัญญาหาร, พืชพันธุ์, ข้าว, เมล็ดข้าว |
crop | (n) พืช, ธัญพืช, การเก็บเกี่ยว, การเพาะปลูก, การตัดผมสั้น, ด้ามแส้, เหนียงไก่ |
couscous | (n) คูสคูส (เมล็ดธัญพืชที่ได้จาก ข้าวสาลีที่หักเป็นเม็ดเล็กๆ สีน้ำตาลอ่อน ทำให้สุกโดยการหุงต้ม หรือแช่ในน้ำเดือดสัก 10-15 นาที คูสคูสจะพองตัวออก และนำมาปรุงอาหารได้) |
wholegrain | (n) ธัญพืชที่ผ่านกระบวนการขัดสีน้อย, Syn. whole-grain; whole seed |
das Korn | (n) |das, pl. Körner| เมล็ดธัญพืช หรือ ก้อนกรวดทราย |
Getreide | (n) |das, nur Sg.| ผลผลิตทางการเกษตร จำพวกธัญพืช |
Korn | (n) |der, nur Sg.| เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่แรงมากทำมาจากธัญพืช |
Mehl | (n) |das, nur Sg.| แป้งที่ได้จากธัญพืช ส่วนใหญ่ถูกนำมาใช้ทำขนม |