ท่าน | (pron) you, Syn. แก, คุณ, ประสก, มึง, เอ็ง, Example: ก่อนที่ท่านจะเผชิญหน้ากับเหตุการณ์อันน่าสะพรึงกลัว ท่านจำเป็นต้องติดอาวุธให้ตัวเองเสียก่อน, Count Unit: ท่าน, Thai Definition: สรรพนามบุรุษที่ 2 แสดงความสุภาพ |
ท่าน้ำ | (n) waterside, See also: landing stage with steps, river's harbour, Syn. ท่า, Example: วัดที่หันหน้าลงแม่น้ำลำคลอง มักมีท่าน้ำ สร้างเป็นศาลา และมีสะพานทอดลงไปในลำน้ำ, Count Unit: ท่า, แห่ง, Thai Definition: ริมน้ำสำหรับใช้เป็นที่ขึ้นลง |
ทุกท่าน | (pron) everyone, See also: everybody, every person, each one, every one, each and every one, all, Syn. ทุกคน |
ท่านชาย | (n) prince, Example: เขาเคยเป็นลูกศิษย์ของท่านชาย, Count Unit: ท่าน, Thai Definition: คำที่ใช้เรียกราชนิกุลฝ่ายชายชั้นหม่อมเจ้า |
บางท่าน | (pron) someone, See also: somebody, Syn. บางคน, Example: ร้านเคียงเลอาหารอร่อย สะอาด บรรยากาศดีมาก บางท่านอาจจะซื้อแล้วแกะหอยนางรมเป็นตัวๆ ทานที่นั่นได้เลย |
ท่านหญิง | (n) princess, Ant. ท่านชาย, Example: ท่านหญิงรัตนาวดีเพิ่งได้รับตำแหน่งท่านทูตหญิงเมื่อเร็วๆ นี้, Count Unit: ท่าน, Thai Definition: คำที่ใช้เรียกราชนิกุลฝ่ายหญิงชั้นหม่อมเจ้า |
เท่านั้น | (adv) only, See also: merely, simply, Syn. แค่นั้น, เพียงนั้น, ขนาดนั้น, Example: มีเพียงเขาเท่านั้นที่ใส่ชุดสุภาพมางานนี้, Thai Definition: คำเน้นความแสดงจำนวนจำกัดเฉพาะ |
ท่านอนคว่ำ | (n) prone position, See also: lying on face downward, Ant. ท่านอนหงาย, Example: ศพชายคนนั้นอยู่ในท่านอนคว่ำ |
ท่านอนหงาย | (n) lying on back, Ant. ท่านอนคว่ำ, Example: ผู้ที่ปวดหลัง ปวดต้นคอเหมาะกับการว่ายน้ำท่านอนหงาย เช่นกรรเชียง |
ศาลาท่าน้ำ | (n) waterfront pavilion, See also: waterfront public hall, waterfront public rest-house, Example: นางนั่งเหม่ออยู่ที่ศาลาท่าน้ำเป็นเวลาครึ่งค่อนวัน, Count Unit: หลัง, Thai Definition: สิ่งปลูกสร้างคล้ายศาลาพักร้อนอยู่ปลายสะพานริมน้ำ |
แต่เท่านี้ | (adv) just only, See also: only this, Example: แต่เท่านี้ ผมก็ยกย่องมากแล้ว |
ท่านผู้หญิง | (n) lady, See also: madam, first lady, Example: คุณหญิงบุญเรือนได้รับแต่งตั้งให้เป็นท่านผู้หญิงบุญเรือนเมื่อวันฉัตรมงคล, Count Unit: ท่าน, Thai Definition: คำนำหน้าชื่อสตรีที่สมรสแล้วและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษขึ้นไป |
ท่านอนตะแคง | (n) lying on side, Example: เขาถนัดที่จะนอนในท่านอนตะแคง |
ยกตนข่มท่าน | (v) bluster, See also: swagger, swank, brag, Example: เขาชอบยกตนข่มท่านเสมอจนไม่มีใครคบแล้ว, Thai Definition: พูดทับถมผู้อื่นแสดงให้เห็นว่าตัวเหนือกว่า, Notes: (สำนวน) |
เท่านั้นเอง | (adv) only, See also: merely, Syn. เพียงเท่านั้น, Example: ผมเป็นเพียงผู้ช่วยเขาเท่านั้นเอง ไม่มีอำนาจสั่งการอะไร |
แต่เท่านั้น | (adv) only, Example: คนไข้กินข้าวแต่เท่านั้น ไม่ยอมแตะของหวานเลย |
ท่านั้นท่านี้ | ว. อย่างนั้นอย่างนี้, โยกโย้, เช่น พูดท่านั้นท่านี้. |
ท่าน | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นคำกลาง ๆ หรือแสดงความเคารพ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, ใช้แทนผู้ที่เราพูดถึงด้วยความเคารพ เช่น ท่านไม่อยู่ คุณพ่อท่านหลับแล้ว หรือโดยไม่เจาะจง เช่น อย่าลักทรัพย์ท่าน เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. |
ท่าน | น. คำที่ใช้ประกอบหน้าชื่อบรรดาศักดิ์หรือตำแหน่งแสดงความยกย่อง เช่น ท่านขุน ท่านอาจารย์ ท่านเจ้าอาวาส. |
ท่านชาย | น. คำเรียกหม่อมเจ้าชาย. |
ท่านผู้หญิง | น. คำนำหน้าชื่อสตรีที่สมรสแล้วและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายในชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษขึ้นไป, ถ้ายังไม่ได้สมรสเรียกว่า คุณ, (โบ) คำนำหน้าชื่อสตรีที่เป็นภรรยาเอกของเจ้าพระยาและเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องยศท่านผู้หญิง. |
ท่านหญิง | น. คำเรียกหม่อมเจ้าหญิง. |
เท่านั้น | ว. แค่นั้น, เพียงนั้น, ขนาดนั้น, เป็นคำเน้นความแสดงจำนวนจำกัดจำเพาะ. |
ยกตนข่มท่าน | ก. ยกย่องตัวเองและข่มผู้อื่น, พูดทับถมผู้อื่นแสดงให้เห็นว่าตัวเหนือกว่า. |
ลูกท่านหลานเธอ | น. ลูกหลานเจ้านายหรือผู้มีอำนาจ. |
สะทกสะท้าน | ก. รู้สึกเกรงกลัว, รู้สึกเกรงกลัวจนตัวสั่น, เช่น เขาข่มขู่ฉันเสียจนสะทกสะท้านพูดไม่ถูก เธอตอบคำถามผู้บังคับบัญชาอย่างไม่สะทกสะท้าน. |
สะท้าน | ก. รู้สึกเย็นเยือกเข้าหัวใจ ทำให้ครั่นคร้าม หรือหวั่นกลัวจนตัวสั่น เช่น เห็นไฟไหม้แล้วสะท้าน, หนาวสั่น เช่น หนาวสะท้านเหมือนจะเป็นไข้ หนาวสะท้านเพราะเดินกรำฝนมาหลายชั่วโมง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สะทก เป็น สะทกสะท้าน |
สะท้าน | ดังลั่น, ดังก้อง, สั่นสะเทือน, เช่น เสียงปืนใหญ่ดังสะท้านก้องไปทั้งกรุง. |
สูงชั่วนกเขาเหิน, สูงเท่านกเขาเหิน | ว. สูงระดับที่นกเขาบิน. |
หนาวสะท้าน | ว. หนาวสั่นเพราะพิษไข้ |
หนาวสะท้าน | รู้สึกเย็นเยือกเข้าหัวใจทำให้รู้สึกครั่นคร้ามหรือหวาดกลัวจนตัวสั่นเป็นต้น. |
กกุธภัณฑ์ | (กะกุดทะ-) น. สัญลักษณ์สำคัญแห่งความเป็นพระมหากษัตริย์ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกรชัยพฤกษ์ ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่าเบญจราชกกุธภัณฑ์ ทั้งนี้ บางสมัยใช้เครื่องราชกกุธภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น ใช้ฉัตรแทนพระมหาพิชัยมงกุฎ.(ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า
ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง.วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี). |
กตเวทิตา | (กะตะ-) น. ความเป็นผู้ประกาศคุณท่าน, ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญุตา. |
กตเวที | (กะตะ-) ว. ซึ่งประกาศคุณท่าน, ซึ่งสนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญู. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + เวที ว่า ซึ่งรู้, ซึ่งประกาศให้รู้ ]. |
กตัญญุตา | (กะตัน-) น. ความกตัญญู, ความเป็นผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ความเป็นผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวทิตา. |
กตัญญู | (กะตัน-) ว. ซึ่งรู้อุปการะที่ท่านทำให้, ซึ่งรู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + ญู ว่า ซึ่งรู้ ]. |
กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. |
กรรณยุคล | (กันนะ-) น. หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น (ม. คำหลวง มหาราช). |
กรรตุสัญญา | (กัดตุ-, กันตุ-) คำนำหน้านามหรือสรรพนามเป็นเครื่องหมายแสดงว่าคำนามหรือสรรพนามนั้นเป็นอาลปนะ เช่น ดูก่อนอานนท์ ข้าแต่พระคุณเจ้าทั้งหลาย, บางทีอาจเป็นคำร้องเรียกลอย ๆ โดยละเครื่องหมายนั้นไว้ก็ได้ เช่น อานนท์ ท่านผู้ฟังทั้งหลาย. |
กระหม่า | ก. ประหม่า, สะทกสะท้าน, พรั่นใจ, เช่น กระมลบ้ากระหม่ามะเมอ (สมุทรโฆษ). |
กรัณฑ-, กรัณฑ์ | (กะรันทะ-, กะรัน) น. ภาชนะมีฝาปิด เช่น รัตนกรัณฑ์ (สังโยคพิธาน), กรัณฑรัตน (ยวนพ่าย), กรัณฑขลังขังนํ้าทิพมุรธา ภิเษกท่าน (ราชาภิเษก ร. ๗). (ดู กรณฑ์ ๑). |
กฤษฎาญชลี | (กฺริดสะดานชะลี) ก. มีอัญชลีอันกระทำแล้ว, กระทำอัญชลี, เช่น กฤษฎาญชลียะยุ่งแล (ม. คำหลวง ทศพร), ในวรรณคดีแผลงไปเป็นรูปต่าง ๆ คือ กฤษฎาญชลิต เช่น กฤษฎาญชลิตไหว้ (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิตวา เช่น อันว่ากฤษฎาญชวลิตวา (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิศ เช่น อนนว่าเจ้าสากลกฤษฎาญชวลิศท่านธแล้ว (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กฤษฎาญชวเลศ เช่น ถวายกฤษฎาญชวเลศ ทูลแถลงเหตุนุสนธ์ (เพชรมงกุฎ), กฤษฎาญชุลี เช่น กฤษฎาญชุลีน้อม (ฉันทลักษณ์). |
กลพยาน | (กน-) น. บุคคลที่ทางการให้เจ้าหน้าที่ไปขอสัมภาษณ์และขอร้องให้ช่วยรับเป็นพยาน มี ๓ ประเภทคือ ทิพพยาน อุดรพยาน และอุตริพยาน เช่น อนึ่งกลพยานนั้น คือวานท่านไปถามเป็นคำนับ (สามดวง). |
กลละ | (กะละละ) น. รูปเริ่มแรกที่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา เช่น ผู้หญิงอันมีครรภ์ด้วยชลามพุชโยนิ เมื่อแรกก่อเป็นนั้นน้อยนักหนา เรียกชื่อว่า กลละหัวปีมีเท่านี้ (ไตรภูมิ). |
กลองติ๋ง | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปร่างและการตีเหมือนกับกลองทัด แต่มีขนาดเล็กกว่าและเสียงสูงกว่า ใช้บรรเลงผสมวงปี่พาทย์รวมกับกลองทัดในการแสดงหนังใหญ่เท่านั้น. |
กล่าวถาม | ก. สู่ขอ เช่น ในขันหมากท่านให้เอาขันหมากตั้งไหม ขันหมากกล่าวถามนั้น ๑๑ ขัน (สามดวง). |
กวาน, กว่าน | (กฺวาน, กฺว่าน) น. ขุนนาง เช่น แล้วบัญชาสั่งเสียพวกเพี้ยกวาน ให้ไปเชิญสองท่านแม่ทัพใหญ่ (ขุนช้างขุนแผน), เพลี้ยกว่านบ้านท้าวไข้ ข่าวสยวน (ยวนพ่าย). |
กะแท่ง | น. ชื่อไม้ล้มลุกในสกุล Amorphophallus วงศ์ Araceae ต้นเล็กราวเท่านิ้วมือ เวลาออกดอกไม่มีใบ ก้านช่อดอกอ่อน ๆ ใช้แกงได้, พายัพเรียก ดอกก้าน. |
กะรัตหลวง | น. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต. |
กำ ๓, กำม | น. กรรม เช่น ไข้เจ็บหมอตั้งกำไว้, ท่านว่าเป็นกำมของเขาเอง (อัยการเบ็ดเสร็จ). |
กำพง | น. ท่านํ้า, ตำบล, เช่น มีทงงสมรรถพนจร รม่งงมรกำพงไพร (ม. คำหลวง มหาพน). |
กำลัง ๒ | จํานวนงานที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งกระทําได้โดยสมํ่าเสมอในหนึ่งหน่วยเวลา เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ คือ กำลัง = , อัตราของการทํางาน ก็เรียก; ขนาดของของกลมที่วัดโดยรอบ เช่น ช้างมีกําลัง (วัดรอบอก) เท่านั้นนิ้ว เท่านี้นิ้ว ไม้มีกําลัง (วัดรอบลําต้น) เท่านั้นนิ้ว เท่านี้นิ้ว. |
โกรย | (โกฺรย) น. หลัง เช่น โจนบหลยวโกรยเกรง ท่านข้า (ยวนพ่าย), อกกระอุกรยมโกรย กระด้าง (ทวาทศมาส). |
ขนาด ๑ | (ขะหฺนาด) น. ลักษณะของรูปที่กำหนดสังเกตได้ว่าใหญ่ เล็ก สั้น ยาว หนัก หรือ เบา เท่านั้นเท่านี้ เช่น ขนาดใหญ่ ขนาดยาว ขนาด ๒ x ๑ เมตร |
ขยุม ๒ | (ขะหฺยุม) ว. ขะยุก, ทำถี่ ๆ, เช่น เห็นลับแลแล้วก็พายขยุมใหญ่ (สุ. ท่านพุฒาจารย์-โต). |
ของสูง | น. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ของชิ้นนี้เป็นของสูง ต้องเก็บบูชาไว้ให้ดี, ผู้สูงศักดิ์ เช่น แม้ท่านจะไม่ถือพระองค์ แต่ท่านก็เป็นของสูง อย่าอาจเอื้อม. |
ขัดตะหมาด | ว. เรียกท่านั่งคู้เข่าทั้ง ๒ ข้างให้แบะลงที่พื้น แล้วเอาขาไขว้กันทับฝ่าเท้า ว่า นั่งขัดตะหมาด. |
ขาไก่ ๑ | น. เรียกขนมปังกรอบค่อนข้างแข็ง ขนาดโตเท่านิ้วหัวแม่มือ ยาวประมาณ ๘ นิ้ว ว่า ขนมปังขาไก่. |
ขีปนาวุธ | (ขีปะ-) น. อาวุธซึ่งถูกส่งออกไปจากผิวพิภพเพื่อใช้ประหัตประหารหรือทำลายในการสงคราม โดยมีการบังคับวิถีในตัวเองเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย การบังคับวิถีนี้บังคับเฉพาะตอนขึ้นเท่านั้น มีหลายชนิด เช่น ขีปนาวุธข้ามทวีป. |
ขี้ยอก | น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิด ในสกุล Mystacoleucusวงศ์ Cyprinidae รูปร่างทั่วไปคล้ายปลาตะเพียน เว้นแต่มีหนามแข็งยื่นจากต้นครีบหลังออกไปข้างหน้า ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร เช่น ชนิด Mystacoleucus marginatus (Valenciennes), M. atridorsalis Fowler, ชื่อนี้เรียกกันเฉพาะในเขตแม่นํ้าปิงเท่านั้น ในเขตแม่นํ้าน่านเรียก หนามไผ่, ปักษ์ใต้เรียก หญ้า. |
เข้ารหัส | ก. เปลี่ยนสารธรรมดาให้เป็นสารลับด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตัวอักษรอื่นแทนอักษรที่ต้องการจะใช้ หรือสลับตำแหน่งอักษรของข้อความนั้น หรือใช้สัญลักษณ์แทนซึ่งรู้กันเฉพาะผู้ที่รู้กุญแจรหัสเท่านั้น. |
คมิกภัต | (คะมิกะ-) น. อาหารที่เตรียมถวายภิกษุก่อนที่ท่านจะออกเดินทาง. |
ครั่นคร้าม | ก. เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว. |
คร่า | (คฺร่า) ก. ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี เช่น ถ้าเจรจาถึง ๒ ครั้งไซ้ให้คร่ามือออกไปจากพระโรงแลให้ห้ามเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (สามดวง), ท่านให้มาว่ากล่าวร้องฟ้องณะโรงสานตามกระบินเมืองอย่าให้ตีด่าฉุดคร่าเอาโดยกำลังเองศักอันเลย (สามดวง) |
คร้าม | (คฺร้าม) ก. ขยาด, ไม่กล้าสู้, กลัวเกรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ครั่น เป็น ครั่นคร้าม หมายความว่า เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว. |
คฤหา | น. เรือน เช่น มักเที่ยวสู่คฤหา แห่งท่าน นะพ่อ (โลกนิติ). |
Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
ฉากบังเพลิง | เครื่องกั้นในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ บนพระเมรุมาศหรือเมรุ มีลักษณะเป็นฉากพับได้ ติดไว้กับเสาเมรุมาศทั้ง ๔ ด้าน เมื่อใช้งานจะดึงหรือยกมาปิดไว้ ใช้สำหรับศพชั้นโกศเท่านั้น, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/total-chark-2.jpg" alt="ฉากบังเพลิง"> <p>เครื่องกั้นในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ บนพระเมรุมาศหรือเมรุ [ศัพท์พระราชพิธี] |
ถวายอดิเรก | การถวาย พระพร ซึ่งพระสงฆ์ปฏิบัติต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเท่านั้น [ศัพท์พระราชพิธี] |
Barrel Oil Equivalent | การปรับเทียบพลังงานชนิดต่างๆ, การปรับเทียบพลังงานชนิดต่างๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ให้เทียบเท่าน้ำมันดิบ, Example: ตัวอย่างเช่น ก๊าซธรรมชาติ 1 ล้านลูกบาศก์ฟุต เทียบเท่าน้ำมันดิบ 174.4 บาร์เรล หรือ ก๊าซธรรมชาติเหลว 1 บาร์เรล เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.9096 บาร์เรล หรือ ถ่านหินลิกไนท์ 1 เมตริกตัน เทียบเท่าน้ำมันดิบ 2.053 บาร์เรล [ปิโตรเลี่ยม] |
Prompt criticality | ภาวะวิกฤตพรอมต์, สถานะของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแบ่งแยกนิวเคลียสสามารถคงอยู่ต่อไปโดยพรอมต์นิวตรอนเท่านั้น, Example: [นิวเคลียร์] |
Chargé d' Affaires | อุปทูต เดิมเรียกว่า อุปทูตประจำ ซึ่งในสมัยก่อนเรียกว่า Chargé d' Affaires ad hoc บ้าง Chargé d' Affaires en pied หรือ Chargé d' Affaires avec lettres บ้าง ปัจจุบันเรียกเพียง อุปทูต (Chargé d' Affaires) เท่านั้น รัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับอาจจะตกลงกันให้มีหัวหน้าคณะผู้แทนเพียงระดับอุปทูตก็ ได้ (ต่างกันกับตำแหน่งอุปทูตชั่วคราว) [การทูต] |
Convention | ในภาษาไทยแปลว่า อนุสัญญา แต่คำนี้ใช้แทนคำว่า สนธิสัญญา (Treaty) บ่อย ๆ ผู้เขียนหลายท่านเห็นว่า ทั้งสองคำนี้ไม่ค่อยจะมีความหมายแตกต่างกันมากนัก แม้ว่าคำ Convention มักจะใช้กันเป็นประจำ โดยหมายถึงความตกลงที่กระทำกันในการประชุมระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่กระทำกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ถึง 14 เมษายน ค.ศ. 1961 (The Vienna Convention on Diplomatic Relations) [การทูต] |
Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Final Act | กรรมสารสุดท้าย คือคำแถลงหรือคำสรุปอย่างเป็นทางการจากเรื่องราวการ ประชุม คำแถลงนี้จะระบุสนธิสัญญาและอนุสัญญาที่ได้มีการลงนามกันอันเป็นผลจากการ ประชุม และในบางกรณีจะผนวกความเห็นหรือข้อเสนอแนะหรือความปรารถนาจากที่ประชุมไว้ ด้วย ผู้แทนที่มีอำนาจเต็มเท่านั้นจะเป็นผู้ลงนามในกรรมสารสุดท้าย ในตอนสุดท้ายของการประชุม [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] |
goods in transit | สินค้าที่ส่งผ่านแดน หมายถึง สินค้าที่มีการส่งจากรัฐหนึ่งผ่านรัฐหนึ่งรัฐใด หรือหลายรัฐไปยังอีกรัฐหนึ่ง โดยมีการขนถ่ายสินค้าที่ต้นทางและปลายทางเท่านั้น ซึ่งเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือด้านการขนส่งของอาเซียน [การทูต] |
Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] |
rule of origin | กฎแหล่งกำเนิดสินค้า เป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาว่า สินค้ามีแหล่งกำเนิดจากประเทศใด เนื่องจากการผลิตอาจมิได้ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเท่านั้น แต่มีการนำเข้าวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนจากนอกประเทศมาใช้ในการผลิต [การทูต] |
Termination of Mission of Diplomatic Agent | ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต] |
United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] |
Ethylene propylene rubber | ยาง EPM เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากการทำปฏิกิริยาโคพอลิเมอไรเซชันระหว่างมอนอเมอร์ ของเอทิลีน (ethylene) กับโพรพิลีน (propylene) มีลักษณะการจัดเรียงตัวของโมเลกุลแบบอสัณฐานและมีสมบัติเป็นยาง แต่ไม่มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (ไม่มีพันธะคู่) จึงทำให้มีสมบัติเด่นในเรื่องความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากแสง แดด ออกซิเจน ความร้อน โอโซน และสารเคมี แต่ยางชนิดนี้มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กำมะถันในการคงรูปได้ (เนื่องจากไม่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ดังนั้นการทำให้ยางคงรูปจึงต้องใช้เพอร์ออกไซด์เท่านั้น การใช้งานนิยมใช้ทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานภายนอก เช่น ยางขอบประตู ยางขอบหน้าต่าง โอริง ฉนวนหุ้มสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Ethylene vinyl acetate rubber | ยางเอทิลีนไวนิลแอซิเทตเป็นโคพอลิเมอร์ของเอทิลีนและไวนิลแอซิเทต มีสมบัติเด่น คือ ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาความร้อน โอโซน และสภาพอากาศได้ดี มีความทนต่อน้ำมันและตัวทำละลายที่ไม่มีขั้วได้ดี แต่มีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำไม่ดี มีความเป็นฉนวนไฟฟ้าที่ไม่ดี ส่วนใหญ่ยางชนิดนี้จะใช้ในการผลิตปลอกหุ้มสายเคเบิลเฉพาะในกรณีที่ต้องการ สมบัติพิเศษด้านความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซน สภาพอากาศ ความร้อน และน้ำมันเท่านั้น [เทคโนโลยียาง] |
Hydrogenated acrylonitrile-butadiene rubber | ยางไฮโดรจิเนตอะไครโลไนไทรล์บิวทาไดอีน หรือยาง HNBR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) ของยาง NBR สมบัติของยาง HNBR มีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน รังสีที่มีพลังงานสูง และโอโซนสูงมาก ใกล้เคียงกับยาง EPDM และเนื่องจากมี CN อยู่ในโมเลกุลทำให้ยางชนิดนี้ทนต่อน้ำมันได้ดี ยาง HNBR มีสมบัติทั่วไปอยู่ระหว่างยาง NBR และยางฟลูออโรคาร์บอน เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูง จึงนิยมใช้ยาง HNBR แทนยาง NBR เฉพาะกรณีที่ต้องการใช้งานในสภาวะที่รุนแรงหรือที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีข้อดีเหนือกว่ายางฟลูออโรคาร์บอน คือ มีความทนทานต่อสารตัวเติมที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น สารประกอบเอมีน ได้ดี จึงนิยมใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยางที่ใช้ในแท่นขุดเจาะน้ำมัน [เทคโนโลยียาง] |
Peroxide | สารเคมีที่มี –O-O- ในโมเลกุล เช่น H2O2, Na2O2, benzoyl peroxide [ (C6H5CO)2O2 ] ออกซิเจนในเพอร์ออกไซด์มีเลขออกซิเดชัน -1 ทำให้เพอร์ออกไซด์โดยทั่วไปไม่เสถียร เมื่อให้ความร้อนจะสลายตัวให้อนุมูลอิสระ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของโมเลกุลขึ้นได้ด้วยพันธะคาร์บอน-คาร์บอน นิยมใช้เพอร์ออกไซด์เป็นสารทำให้ยางคงรูปในยางที่ไม่มีพันธะคู่ เช่น EPM, EVA, CPE, Q หรือยางที่มีปริมาณพันธะคู่ในโมเลกุลต่ำมากเท่านั้น เช่น HNBR, EPDM [เทคโนโลยียาง] |
Anthropophilic | ชนิดที่อาศัยอยู่ในคน, นิสัยชอบเลือดคน, ติดต่อกันระหว่างคนด้วยกันเท่านั้น, แมลงที่ชอบกัดดูดเลือดจากคน [การแพทย์] |
Backlying | ท่านอนหงายเหยียดขาตรงทั้ง2ข้าง [การแพทย์] |
Beever's Sign | สะดือโป่งขณะเกร็งตัวลุกนั่งจากท่านอนในคนป่วยอัม [การแพทย์] |
Chair Sitting | ท่านั่งเก้าอี้ [การแพทย์] |
Corea Flexibilitas | สภาวะผู้ป่วยถูกจับให้อยู่ในท่าไหนก็จะอยู่ในท่านั้น [การแพทย์] |
Crooklying | ท่านอนหงายชันเข่า [การแพทย์] |
Decubitus | ท่านอน [การแพทย์] |
Decubitus, Lateral | ท่านอนตะแคงข้าง [การแพทย์] |
Decubitus, Right Lateral | ท่านอนตะแคงขวา, ท่านอนตะแคงข้างขวา [การแพทย์] |
Doctor Shopping | ไปพบแพทย์หลายๆท่าน [การแพทย์] |
Dorsal Recumbent | การทำคลอดในท่านอนหงาย [การแพทย์] |
Egg-laying Machine | ลักษณะเป็นตัวผลิตไข่เท่านั้น [การแพทย์] |
Erect Position | ท่านั่งหรือยืน [การแพทย์] |
Facelying | ท่านอนคว่ำ [การแพทย์] |
ส่งเสริมสุขภาพจิต | ส่งเสริมสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานที่เน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดีหรือ กลุ่มคนทั่วไปให้มีอยู่อย่างสมำเสมอเพื่อเตรียมพร้อมรับมือปัญหาสุขภาพจิต ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยการดำเนินงานนี้มิได้กระทำเพียงผู้ดำเนินงานสุขภาพจิตเท่านั้น หากแต่ยังมีเครือข่ายสุขภาพจิต [สุขภาพจิต] |
monohybrid cross | การผสมพิจารณาลักษณะเดียว, การผสมระหว่างพ่อพันธุ์และ แม่พันธุ์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยพิจารณาลักษณะที่ต้องการผสมเพียงลักษณะเดียว เช่น ผสมหนูสีดำกับหนูสีขาวโดยพิจารณาลักษณะสีขนของหนูเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trial and error | การลองผิดลองถูก, พฤติกรรมที่สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยที่ยังไม่ทราบแน่ว่าจะมีผลดีหรือผลเสียต่อตัวเอง ต่อเมื่อได้ทดลองตอบสนองสิ่งเร้านั้นแล้ว ภายหลังจะเลือกตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่จะเป็นผลต่อตัวเองเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gill slit | ช่องเหงือก, ช่องเปิดบริเวณคอหอยของสัตว์จำพวกคอร์เคต สัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงจะมีช่องเหงือกในระยะเอ็มบริโอเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
herbivore | ผู้บริโภคพืช, สัตว์ที่ดำรงชีวิตโดยอาศัยพืชเป็นอาหารเท่านั้น เช่น วัว ควาย ช้าง ม้า กระต่าย เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ขอสันติจงมีแด่ท่าน | [khø santhi jong mī daē thān] (xp) EN: May peace be with you ! ; May peace prevail on earth ! FR: La paix soit avec vous ! |
พณหัวเจ้าท่าน = ฯ พณ ฯ | [phanahūajaothan] (n) EN: His Excellency, Your Excellency |
เรียนท่านสมาชิก | [rīen than samāchik] (xp) FR: cher(s) membre(s) |
รองเท้านิรภัย | [røngthāo niraphai] (n, exp) EN: safety shoe FR: chaussures de sécurité [ fpl ] |
ศาลาท่าน้ำ | [sālā thā nām] (n, exp) EN: waterfront pavilion ; waterfront public hall ; waterfront public rest-house |
สั่นสะท้าน | [san sathān] (v, exp) EN: tremble ; shake ; shudder ; shiver |
สะพานท่าน้ำ | [saphān thānām] (n, exp) EN: landing ; wharf |
สะท้าน | [sathān] (v) EN: tremble from cold ; tremble from fear ; shiver ; vibrate ; shake FR: trembler (de froid/peur) ; frissonner |
สะทกสะท้าน | [sathoksathān] (v) EN: tremble in fear ; quail ; be frightened ; fear ; be afraid FR: trembler de peur |
ตามใจท่าน | [tāmjai than] (x) EN: as you like it |
ท่าน | [than] (n) EN: sir ; mister FR: monsieur |
ท่าน | [than] (pron) EN: you FR: vous |
ท่าน | [than] (pron) EN: he ; she ; His Excellency ; His Lordship ; Her Ladyship |
ท่าน้ำ | [thānām] (n) EN: waterside ; landing stage with steps ; river's harbour ; boat landing ; dock FR: quai [ m ] |
ท่านั้นท่านี้ | [thā nan thā nī] (xp) EN: this ; that and the other thing ; fussing around |
ท่านผู้นำ | [than phūnam] (n, exp) EN: Our Leader |
ท่านผู้มีเกียรติ | [than phū mī kīet] (n, exp) EN: ladies and gentlemen FR: mesdames et messieurs |
ท่านผู้หญิง | [than phūying] (n, exp) EN: lady ; madam ; first lady ; Her Ladyship |
ท่านสมาชิกผู้มีเกียรติ | [than samāchik phū mī kīet] (n, exp) EN: honorable member |
ท่านสุภาพสตรีและสุภาพบุรุษ | [than suphāpsatrī lae suphāpburut] (xp) EN: ladies and gentlemen FR: mesdames et messieurs |
ท่านสุภาพสตรีและท่านสุภาพบุรุษ | [than suphāpsatrī lae than suphāpburut] (xp) EN: ladies and gentlemen FR: mesdames et messieurs |
ท่านทั้งหลาย | [than thanglāi] (n, exp) EN: ladies and gentlemen |
ท่านหญิง | [than ying] (n, exp) EN: princess |
เท่านั้น | [thaonan] (x) EN: only ; merely FR: seulement ; uniquement |
เท่านั้น | [thaonan] (adv) EN: as much ; that much FR: que |
เท่านั้นเอง | [thaonan ēng] (adv) EN: only ; merely |
เท่านั้น พอแล้ว | [thaonan phø laēo] (xp) EN: that much will do |
ทุกท่าน | [thuk than] (x) EN: all of you ; everyone |
ต่อท่าน | [tø than] (xp) FR: par personne |
ยกตนข่มท่าน | [yok ton khom than] (v, exp) EN: bluster ; swagger ; swank ; brag FR: fanfaronner ; se pavaner ; se vanter |
airside | (n) บริเวณหนึ่งของสนามบินซึ่งจำกัดให้เฉพาะผู้โดยสารและพนักงานเข้าไปได้เท่านั่น |
backdoor | (adj) ผิดกฎหมาย (ใช้นำหน้าคำนามเท่านั้น), See also: ซึ่งใช้วิถีทางลับ, Syn. underhand, secret |
baron | (n) ท่านบารอน, See also: ขุนนางขั้นต่ำของอังกฤษหรือญี่ปุ่น |
baroness | (n) ภรรยาของท่านบารอน |
baronet | (n) ขุนนางอังกฤษยศขั้นต่ำกว่า Baron, See also: ท่านบารอเน็ต คำย่อคือ Bart หรือ Bt มักใช้คำนำหน้าว่า Sir เช่น Sir Arthur Henderson Fairburn, Bart. |
baronetcy | (n) ยศของท่านบารอน |
baronial | (adj) เกี่ยวกับท่านบารอน, See also: เกี่ยวกับท่านบารอน, Syn. noble |
barony | (n) ตำแหน่งหรือที่ดินของท่านแบรอน |
bearer bond | (n) พันธบัตรที่จ่ายให้ผู้ถือมาเท่านั้น |
boastful | (adj) อวดดี, See also: ยกตนข่มท่าน, คุยโว, โอ้อวด, Syn. bragging, cocky |
classified | (adj) ที่เป็นความลับทางราชการ, See also: ที่เปิดเผยเฉพาะเจ้าหน้าที่เท่านั้น |
clearway | (n) ทางด่วน (ถนนที่ห้ามจอด ยกเว้นกรณีที่รถเสียเท่านั้น) |
duchess | (n) ภรรยาของท่านดยุค, See also: ภรรยาหม้ายของท่านดยุค, คุณหญิง, ท่านหญิง, Syn. archduke, margrave |
duke | (n) ท่านดยุค, See also: ขุนนางชั้นสูงของอังกฤษ, Syn. aristocrat, nobleman, peer, Ant. citizen, commoner |
earl | (n) ตำแหน่งขุนนางอังกฤษ, See also: ท่านเอิร์ล |
earldom | (n) ตำแหน่งท่านเอิร์ล |
everybody | (pron) ทุกคน, See also: ทุกท่าน, Syn. everyone |
everyone | (pron) ทุกคน, See also: ทุกท่าน, Syn. everybody, every person |
nothing but | (idm) เพียงแต่, See also: เว้นแต่, แค่ บางสิ่ง เท่านั้น |
only have eyes for | (idm) จงรักภักดีต่อคนเดียวเท่านั้น, See also: ยึดมั่นต่อ, มั่นคงต่อ |
lady | (n) ท่านผู้หญิง, See also: คุณหญิง, คุณผู้หญิง |
ladyship | (n) ตำแหน่งท่านผู้หญิงหรือคุณหญิง |
lord | (n) ท่านลอร์ด (ใช้เรียกขุนนางที่มีบรรดาศักดิ์ระดับสูง) |
mere | (adj) เพียงเท่านั้น, See also: ไม่เกินกว่า, เท่านั้น, Syn. small, minor, insignificant |
merely | (adv) เพียงเท่านั้น, See also: เพียงแต่, เท่านั้น, อย่างง่ายๆ, Syn. only, exclusively |
monsieur | (n) คำเรียกสุภาพบุรุษ, See also: นาย, ท่าน, Syn. sinor |
Mr.President | (n) ท่านประธานาธิบดี |
none but | (idm) เท่านั้น, Syn. only |
one-on-one | (adj) ระหว่างสองคนเท่านั้น, Syn. one-to-one |
one-shot | (adj) ซึ่งมีครั้งเดียวเท่านั้น, Syn. one-off |
only | (adv) เพียงแค่, See also: เพียงแต่, เพียงแต่ … เท่านั้น, Syn. barely, just |
only | (adv) เท่านั้น, See also: ไม่มากไม่น้อยไปกว่านี้, Syn. merely, simply |
princess | (n) เจ้าหญิง, See also: เจ้าฟ้าหญิง, ท่านหญิง, Syn. monarch, dauphiness |
prone | (adj) ที่อยู่ในท่านอนคว่ำ, Syn. lying, prostate, recumbent |
sahib | (n) นาย (ใช้ในอินเดียสมัยก่อน), See also: ท่าน |
simply | (adv) เพียงแค่นั้น, See also: เพียงแค่, เพียง, เท่านั้น, Syn. just, merely, only |
sir | (n) คำสุภาพสำหรับเรียกผู้ชาย, See also: ท่าน, คุณ |
sir | (n) คำสุภาพสำหรับเรียกครูอาจารย์ผู้ชาย, See also: ท่าน, คุณ |
stag | (adj) สำหรับผู้ชายเท่านั้น (คำไม่เป็นทางการ) |
tete-a-tete | (n) เก้าอี้รูปตัวเอส (S) ที่นั่งได้สองคนเท่านั้น |
tete-a-tete | (adv) ระหว่างบุคคลสองคนเท่านั้น |
thee | (pron) ท่าน (คำโบราณ), See also: คุณ, เธอ, Syn. thou, you |
this | (adv) ขนาดนี้, See also: ถึงเพียงนี้, เท่านี้ |
thou | (n) คุณ, See also: ท่าน, เธอ ใช้ในภาษาวรรณคดีโบราณ, Syn. thee, yourself, thyself |
thy | (pron) ของท่าน |
thyself | (pron) ตัวของท่านเอง |
U | (pron) คุณ ( ตัวย่อมาจาก you), See also: เธอ, ท่าน, มึง, เอ็ง, Syn. you, thou, thee |
Unitarian | (n) ชาวคริสต์นิกายที่เชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียว, See also: ชาวคริสต์ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียวเท่านั้น |
very | (adj) เฉพาะ, See also: เท่านั้น, Syn. mere |
witch-hunt | (n) การสอบสวนและเปิดเผยแผนการกบฏ หรือศัตรูทางการเมือง, See also: มักเป็นการอาศัยหลักฐานที่คลุมเครือ หรือแค่ความสงสัยเท่านั้น |
a vptre sante | (เอวอ' ทระ'ซานเท) fr. เพื่อสุขภาพของท่าน (to your health) |
adytum | (แอด' ดิทัม) n., (pl. -ta) สถานศักดิ์สิทธิ์สำหรับพระบูชาเท่านั่น, ห้องลับ |
apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ |
authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น |
babu | (บา'บู) n. คำทักทายยกย่อง (คุณ, คุณนาย, ท่าน) ของชาวฮินดู, สุภาพบุรุษชาวฮินดู, ชาวอินเดียที่รู้จักภาษาเล็กน้อย, Syn. baboo, Sir, Mr. |
baroness | n. ภรรยาบารอน, ท่านบารอนที่เป็นหญิง |
beerhouse | (เบียร์'เฮาซฺ) n. สถานที่ดื่มเหล้าเท่านั้น |
binary file | แฟ้มข้อมูลฐานสองหมายถึง แฟ้มที่บรรจุข้อมูลที่เป็นฐานสองเท่านั้น ข้อมูลเหล่านี้ คอมพิวเตอร์จะเข้าใจและรับรู้ได้ โดยปกติ แฟ้มข้อมูลเหล่านี้จะถูกกำหนดให้ใช้นามสกุล (file type) ว่า BIN ดู BIN ประกอบ |
black-and-white | adj. มีเพียงสีดำและขาวเท่านั้น, เกี่ยวกับระบบที่มีเพียง2ค่า, ไม่มีสี, ไม่ระบายสี', เขียนหรือพิมพ์, Syn. writing or print |
boilerplate | ต้นแบบหมายถึง เอกสารประเภทหนึ่งที่ทำเอาไว้เป็นแบบ เรียกว่า boilerplate document นิยมนำมาใช้ในเวลาที่รีบร้อน ไม่มีเวลาคิดหาถ้อยคำเพราะ ๆ เช่น บัตรเชิญ จดหมายขอบคุณ จดหมายแสดงความยินดี แสดงความเสียใจ หรือ สัญญาต่าง ๆ เมื่อนำมาใช้ ก็เพียงแต่เปลี่ยนข้อความให้เหมาะกับสถานการณ์เท่านั้นมีความหมายเหมือน template |
case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ |
characters per second | จำนวนอักขระต่อวินาทีใช้ตัวย่อว่า CPS แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อวินาที ใช้เป็น หน่วยวัดความเร็วในการพิมพ์ว่าเครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้กี่ตัวอักขระในเวลา 1 วินาที ใช้กับเครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix) และแบบฉีดหมึก (ink jet) เท่านั้น (เครื่องพิมพ์เลเซอร์จะพิมพ์ที่ละหน้า) ดู printer ประกอบ |
classified | (แคลส'ซิไฟดฺ) adj. ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทหรือหมวดหมู่, สำหรับเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น, เป็นความลับ. n. แจ้งความเล็ก ๆ ในหน้าหนังสือพิมพ์, Syn. confidential |
client server system | ระบบรับ-ให้บริการหมายถึง เครือข่ายการทำงานแบบที่กำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเป็นเครื่องบริการแฟ้ม (file server) หรือเป็นที่เก็บโปรแกรมและแฟ้มทั้งหมด คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากกันไม่ได้ ต้องเรียกจากเครื่องบริการแฟ้มเท่านั้นดู file server ประกอบดู peer to peer เปรียบเทียบ |
clock ticks | สัญญาณนาฬิกาหมายถึง จังหวะช่วงเวลาที่นาฬิกาเดิน (ติ๊ก) ซึ่งจะเป็นช่วงที่แน่นอนสม่ำเสมอ ในแต่ละช่วงเดินของนาฬิกาที่เรียกว่า "ติ๊ก" นั้น คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่ง และจะหยุดทำงานในช่วงว่างระหว่างติ๊ก ยิ่งช่วงติ๊กนี้ถี่เท่าใด ก็ยิ่งแปลว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเร็วเท่านั้น สัญญาณนาฬิกานี้ จึงถือเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความ เร็วของการเดินของนาฬิกา หรือความถี่นี้วัดกันเป็นเมกะเฮิรตช์ (megahertz) 1 เมกะเฮิรตซ์ จะเท่ากับ 1 ล้านติ๊กของนาฬิกาต่อ 1 วินาที คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซีในยุคปัจจุบันนั้นมีหน่วยความจำที่ทำงานด้วยความเร็ว ถึงประมาณ 33-66 เมกะเฮิร์ตซ์ |
closed architecture | สถาปัตยกรรมปิดหมายถึง การออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ใช้ได้เฉพาะกับอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนที่ผลิตจากบริษัทเดียวกันเท่านั้น (เรียกว่า ปิดประตูตาย ไม่ให้ผู้อื่นมาร่วมทำมาหากิน) |
concurrent processing | การประมวลผลพร้อมกันหมายถึง การประมวลผลตั้งแต่สองโปรแกรมขึ้นไปพร้อม ๆ กัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว เครื่องจะปฏิบัติงานได้ครั้งละหนึ่งโปรแกรมเท่านั้น เพียงแต่ว่าทำในอัตราที่รวดเร็วมาก จนดูประหนึ่งว่าทำงานหลาย ๆ โปรแกรมพร้อมกัน |
config.sys | แฟ้มโครงแบบย่อมาจาก configuration system เป็นชื่อแฟ้มข้อมูลที่ใช้ในระบบดอสและโอเอสทูซึ่งจะมีข้อความที่กำหนดในเรื่องการใช้แป้นพิมพ์ จำนวนของบัฟเฟอร์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ระบบนั้นจะใช้ ฯ พอเริ่มใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ไปสักพัก ก็จะต้องเรียนรู้วิธีการสร้างแฟ้มข้อมูลนี้ คอมพิวเตอร์จะแฟ้มข้อมูลนี้เฉพาะเมื่อมีการเริ่มเครื่องใหม่เท่านั้น |
context sensitive help | คำอธิบายตามบริบทหมายถึง คำอธิบาย (help) ในระบบวินโดว์ที่จะอธิบาย เฉพาะเรื่องที่กำลังทำอยู่ ซึ่งโปรแกรมจัดไว้ให้เรียกหาได้ตลอดเวลา เช่น ในขณะที่จะสั่งเครื่องคอมพิวเตอร์ให้พิมพ์ คำสั่ง Help ก็จะเปลี่ยนไปเป็นคำอธิบายการใช้คำสั่งพิมพ์เท่านั้น |
copy disk | คัดลอกทั้งแผ่นเป็นคำสั่งในระบบวินโดว์ ที่สั่งให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลทั้งหมดในแผ่นต้นแบบ ไปลงในอีกแผ่นหนึ่งซึ่งต้องมีขนาดเท่าแผ่นต้นแบบทุกประการ การคัดลอกด้วยคำสั่งนี้ จะเลือกเฉพาะบางแฟ้มข้อมูลไม่ได้ นอกจากนั้น เมื่อคัดลอกมาแล้ว จะลบแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่เดิมทิ้งไปให้ด้วย (เฉพาะแผ่นที่เก็บข้อมูลที่คัดลอกมาเท่านั้น) |
count | (เคาทฺ) { counted, counting, counts } v., n. (การ) นับ, นับจำนวน, นับค่า, คิด, คิดว่า, นับว่า, ถือ, เข้าใจว่า, หวังว่า.มขุนนางยุโรปที่มี่ตำแหน่งฐานะเท่าท่านเอิร์ลของอังกฤษ -Phr. (count beyond นับไม่หมด นับไม่ไหว) -Phr. (count down นับย้อนกลับ นับถอยหลัง (ไปยังศูนย์)) - |
countess | (เคา'เทส) n. ภรรยาของท่านเค้าท์ (count) ซึ่งเป็นขุนนางในประเทศภาคพื้นยุโรป (ยกเว้นอังกฤษ) , หญิงที่มีตำแหน่งเป็นท่านเค้าท์หรือเอิร์ล |
cps | (ซีพีเอส) ย่อมาจาก characters per second แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อวินาที ใช้เป็น หน่วยวัดความเร็วในการพิมพ์ว่า เครื่องพิมพ์ สามารถพิมพ์ได้กี่ตัวอักขระในเวลา 1 วินาที ใช้กับเครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix) และแบบฉีดหมึก (ink jet) เท่านั้น |
cr/lf | <คำย่อ>เป็นคำอธิบายคุณสมบัติของเครื่องพิมพ์ CR ย่อมาจาก Carriage Return หมายถึงการสิ้นสุดบรรทัด เครื่องพิมพ์จะขึ้นบรรทัดใหม่ให้ ส่วน LF ย่อมาจาก Line Feed หมายถึงว่าเครื่องพิมพ์จะเลื่อนกระดาษให้ด้วย (เครื่องพิมพ์บางเครื่องจะทำอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น) |
cryptography | วิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้ |
data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
diode | (ได'โอด) n. เครื่องมือหลอดอิเล็กตรอนที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทางเดียวเท่านั้น |
dotard | (โด'ทิจ) n. ความชรา, ภาวะสติปัญญาอ่อนในวัยชรา, ภาวะสติเลอะเลือน, ความหลงรักอย่างโง่ ๆ , การโอ๋จนเกินไปจุดเล็ก ๆ บนจอภาพจุดเล็กที่สุดที่สามารถแสดงบนจอภาพได้ วัดขนาดกันเป็นมิลลิเมตร โดยปกติ จะมีขนาด .41 มม. .31 ม.ม. และ .28 ม.ม. ยิ่งจุดเล็กมากเท่าใด ภาพที่ปรากฏบนจอภาพก็จะยิ่งคมชัดและละเอียดขึ้นเท่านั้น นอกจากนั้น ยังใช้วัดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดที่เป็นคนละสีในสีเดียวกันด้วย (สีบางสีที่เห็นบนจอภาพเกิดจากการผสมกันระหว่างจุดที่มีสีต่างกัน เช่น สีเทา เกิดจากการผสมกันของสีดำ และขาว) |
dp | (ดีพี) ย่อมาจาก data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูล) หมายถึงการนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่นจัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามต้องการหรือผลที่จะนำไปใช้ต่อไปได้ โดยปกติจะหมายถึงการประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น |
duchess | (ดัช'ชิส) n. ภรรยา (หรือหญิงม่าย) ของท่านดยุค |
duchy | (ดัช'ชี) n. ดินแดนในความปกครองของท่านดยุคหรือภรรยาท่านดยุค -pl. duchies |
duke | (ดิวคฺ) n. ท่านดยุค |
duplex | (ดู'เพลคซฺ) adj. ซึ่งมี2 ส่วน, คู่, สองเท่า n. ที่พักชุดที่ครอบคลุม2 ชั้น, บ้านสำหรับ 2 ครอบครัวอยู่., See also: duplexity n. ดูduplex สื่อสารสองทางเป็นศัพท์ที่ใช้ในวิธีการส่งสัญญาณของโทรคมนาคม มี 2 แบบคือ full duplex หมายถึง สัญญาณนั้นส่งไป/กลับได้อย่างต่อเนื่องพร้อมกันไปเลย และ half-duplex หมายถึงสัญญาณนั้นส่งไปหรือกลับได้ครั้งละอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น |
earl | (เอิร์ล) n. ท่านเอิร์ล, See also: earlship n. |
encapsulated postscript | ภาพที่เก็บไว้ด้วยภาษาโพสต์สคริปต์ใช้ตัวย่อว่า EPS (อ่านว่า อีพีเอส) หมายถึง ภาพที่สร้างขึ้นด้วยภาษาโพสต์สคริปต์ (PostScript) โปรแกรมประเภทนี้ใช้เนื้อที่เก็บในหน่วยความจำมาก แต่มีลักษณะคมชัดกว่าภาพชนิดอื่น ราคาค่อนข้างแพง มักใช้นามสกุล (file type) ว่า EPS การสั่งพิมพ์ภาพประเภทนี้ ต้องใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์บางชนิดเท่านั้นดู postscript ประกอบ |
eprom | (อีพร็อม) ย่อมาจาก erasable programmable read-only memory แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้และลบได้ หมายความถึงชิป (chip) ชนิดหนึ่งใช้เก็บข้อมูลหรือลบทิ้งได้ แต่การเก็บหรือการลบข้อมูลในนั้นต้องใช้แสงอุลตราไวโอเล็ต (ultraviolet) เท่านั้น หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ว่าจะไม่ใช้ไฟฟ้า ดู EEPROM และ PROM ประกอบ |
eps | (อีพีเอส) ย่อมาจาก encapsulated postscript หมายถึง ภาพที่สร้างขึ้นด้วยภาษาโพสต์สคริปต์ (post script) โปรแกรมประเภทนี้ใช้เนื้อที่เก็บในหน่วยความจำมาก แต่มีลักษณะคมชัดกว่าภาพชนิดอื่น ราคาค่อนข้างแพง มักใช้นามสกุล (file type) ว่า EPS การสั่งพิมพ์ภาพประเภทนี้ ต้องใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์บางชนิดเท่านั้น |
escape character | อักขระหลีกตัวอักขระบนแป้นพิมพ์ที่เมื่อกดแล้ว ทำให้ตัวอักขระอื่น ๆ ที่ตามมา ต้องแปลความต่างไป จากตัวอักขระที่ใช้มาก่อนหน้านี้ ตัวอย่าง เช่น จะใช้อักขระหลีก เพื่อกำหนดความหมายว่า ตัวอักขระที่จะใช้ต่อไปนั้น จะต้องใช้รหัสแปลความแตกต่างไปจากรหัสแปลความที่เคยใช้ก่อนหน้านี้ หรืออาจจะถือว่า อักขระเหล่านั้นไม่ใช่ข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นอักขระเพื่อการควบคุมเท่านั้น เป็นต้น |
ethical | (เอธ'ธิเคิล) adj. (เกี่ยวกับ) หลักจริยธรรม, ศีลธรรม, ยาที่ขายโดยใบสั่งแพทย์เท่านั้น., See also: ethicalness n. ดูethical ethicality n. ดูethical, Syn. moral, Ant. immoral |
exactly | (อิคแซคทฺ'ลี) adv. อย่างแน่นอน, อย่างแม่นยำ, อย่างแน่ชัด, อยู่พอทีเดียว, เท่านั้น |
fcb | (เอฟซีบี) เป็นตัวย่อของ file control block (แปลว่า กลุ่มแฟ้มข้อมูล) เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลที่อยู่เป็นกลุ่ม ซึ่งพวกนักเขียนโปรแกรมเท่านั้นที่จะต้องรู้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ไม่จำเป็นต้องรู้ก็ได้ |
file control block | กลุ่มแฟ้มข้อมูลใช้ตัวย่อว่า FCB เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล ที่อยู่เป็น กลุ่ม ซึ่งพวกนักเขียนโปรแกรมเท่านั้นที่จะต้องรู้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ไม่จำเป็นต้องรู้ก็ได้ |
file handle | รหัสเข้าสู่แฟ้มหมายถึง รหัสลับที่ใช้เป็นทางเข้าสู่แฟ้มข้อมูลในระบบดอส โดยปกติ เรา เพียงบอกแต่ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการเปิด คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการให้ แต่ถ้าเป็นเรื่องลับ เราอาจสั่งให้ คอมพิวเตอร์นำชื่อไปแปลงเป็นตัวเลขก่อน ตัวเลขเหล่านี้ เรียกว่า " file handle" การเข้าสู่แฟ้มข้อมูล ต้องใช้รหัส เหล่านั้นเท่านั้น |
font | (ฟอนทฺ) n. แท่นใส่น้ำมนต์, อ่างน้ำมนต์, โอ่งน้ำมนต์, ที่ใส่น้ำมันของตะเกียง, ชุดตัวพิมพ์ที่สมบูรณ์, รูปแบบอักขระ, แบบ ขนาด และรูปร่างของตัวอักขระ โดยทั่วไปจะหมายถึงตัวอักษรและตัวเลขเท่านั้น, ลักษณะหรือรูปแบบของตัวอักขระที่เขียนหรือประดิษฐ์ขึ้น เช่น ตัวอักขระ |
gateway | (เกท'เวย์) n.ทางผ่าน, ทางเข้า, วิธีการ, Syn. entrance ประตูสัญญาณหมายถึง ประตูสัญญาณที่ต่อเชื่อมไว้ระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่างตระกูลกัน ตระกูลพีซี, ตระกูลแมคอินทอช ฯ ในกรณีที่ต้องการแยกเครือข่ายทั้งสองออกจากกัน ก็ เพียงแต่ปิดสวิตช์ตัวประตูสัญญาณนี้เสียเท่านั้นเอง |
hollerith, dr. herman | เป็นชาวอเมริกัน เกิด ค.ศ.1860 ตาย ค.ศ.1929 เป็นผู้คิดเอาวิธีนำเอาระบบบัตรเจาะรูมาใช้ในการบันทึกข้อมูลลงในบัตร โดยเลียนแบบจากบัตรของแจ็กการ์ด (Jacquard) ซึ่งเคยใช้วิธีการนี้ควบคุมการให้ลายและพิมพ์สีลงบนผ้า ฮอลเลอริทได้สร้างรหัสสำหรับบัตรเจาะรูขึ้น แล้วจึงนำข้อมูลถ่ายลงบนบัตรเพื่อนำไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่าน เครื่องมือประดิษฐ์ของฮอลเลอริทนี้ได้นำมาใช้ในงาประมวลผลและรายงานผลสำมะโนประชากรของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1890 ซึ่งทำให้ทราบผลลัพธ์เร็วขึ้นมาก โดยสามารถทำเสร็จภายในเวลาเพียง 2 ปีเท่านั้น ในปัจจุบัน การเจาะบัตรเพื่อส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์นั้นเกือบจะไม่มีแล้ว เพราะล้าสมัย |
ice | (ไอซฺ) n. น้ำแข็ง, ท่านที่เฉยเมย, สินบน, ไอศกรีม -v. ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง, เปลี่ยนเป็นน้ำแข็ง, แข็งตัว, คลุมด้วยสิ่งที่คล้ายน้ำแข็ง adj. ทำด้วยน้ำแข็ง, Syn. frozen water |
intelligent terminal | เครื่องปลายทางฉลาดเครื่องปลายทางเชิงปัญญาหมายถึง เครื่องปลายทางที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย (network) แต่ในบางครั้งสามารถทำงานอย่างอิสระได้ เครื่องปลายทางประเภทนี้ จะต้องมีคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์อยู่ด้วย กล่าวคือ ต้องมีหน่วยความจำ หน่วยประมวลผล ฯ เครื่องปลายทางอีกแบบหนึ่ง จะเป็นแบบที่เรียกว่า เครื่องปลายทางธรรมดา (dumb terminal) กล่าวคือ จะทำได้เพียงรับหรือแสดงผลเท่านั้นมีความหมายเหมือน smart terminal ดู dumb terminal เปรียบเทียบ |
jarl | (จาร์ล) n. หัวหน้า, เจ้า, ท่านเอิร์ล |
joystick | ก้านควบคุม <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีสายเสียบต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องปลายทาง (terminal) มีคันโยก ทำหน้าที่เหมือนเมาส์ หมุนได้เป็นวงรอบ ใช้ควบคุมการเคลื่อนตัวไปในทิศทางต่าง ๆ ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ไปสู่จุดต่าง ๆ บนจอภาพ นำมาใช้กับการเล่นเกมเท่านั้น |
baron | (n) ท่านบารอน, คหบดีใหญ่ |
baroness | (n) ภรรยาท่านบารอน |
baronial | (adj) เกี่ยวกับท่านบารอน |
but | (adv) เท่านั้น, เพียงแต่ |
count | (n) การนับ, การคำนวณ, ตำแหน่งท่านเคานต์ |
countess | (n) ภรรยาท่านเคานต์ |
ducal | (adj) แห่งท่านดยุก, เกี่ยวกับขุนนางชั้นสูง |
duchess | (n) ภรรยาท่านดยุก |
duke | (n) ท่านดยุก, ขุนนางชั้นสูงของอังกฤษ |
earl | (n) ท่านเอิร์ล, ขุนนางอังกฤษ |
earldom | (n) ยศแห่งเอิร์ล, คฤหาสน์ของท่านเอิร์ล |
furthermore | (adv) ยิ่งกว่านั้น, ใช่แต่เท่านั้น, นอกจากนี้, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง |
Khan | (n) ท่านข่าน |
lady | (n) สุภาพสตรี, คุณหญิง, ท่านผู้หญิง |
ladyship | (n) ตำแหน่งคุณหญิง, ตำแหน่งท่านผู้หญิง |
Lord | (n) ท่านลอร์ด, พระเจ้า, พระเยซูคริสต์ |
lordship | (n) ตำแหน่งท่านลอร์ด, ความเป็นเจ้าของ, เขตการปกครอง |
marquis | (n) ท่านมาควิส |
mere | (adj) เท่านั้น, แท้ๆ, เป็นเพียง, เฉยๆ, บริสุทธิ์, อุดมสมบูรณ์ |
merely | (adv) เป็นเพียง, เท่านั้น, เฉยๆ, ง่ายๆ, บริสุทธิ์ |
nay | (adv) เปล่า, มิใช่เท่านั้น |
only | (adj) เท่านั้น, เพียงคนเดียว, เดี่ยว, เอก, เดียว |
only | (adv) เท่านั้น, อย่างเดียวเท่านั้น, เพียงแต่, เดียว, เพิ่ง |
overbearing | (adj) กดขี่, ยกตนข่มท่าน, เอาแต่ใจ, ครอบงำ |
peerage | (n) ตำแหน่งท่านเพียร์, ตำแหน่งขุนนาง |
peeress | (n) ภรรยาท่านเพียร์, ท่านผู้หญิง |
prior | (n) รองเจ้าอาวาส, รองอธิการวัด, ท่านปลัด |
sir | (n) ตำแหน่งขุนนาง, ท่าน, ใต้เท้า, ขอรับ |
solely | (adv) เท่านั้น, เพียงลำพัง, โดดเดี่ยว, แต่ผู้เดียว, โดยอันเดียว |
thee | (pro) ท่าน, คุณ |
thine | (pro) สิ่งของท่าน, สิ่งที่เป็นของคุณ |
thou | (pro) ท่าน, คุณ, เธอ |
thy | (adj) ของเจ้า, ของท่าน |
thyself | (pro) ตัวของท่านเอง, ตัวของคุณเอง |
very | (adj) แท้, อย่างเดียวกัน, เท่านั้น |
ye | (pro) สู, ท่าน, พวกท่าน |
you | (pro) ท่าน, คุณ, พวกท่าน, พวกคุณ |
your | (adj) ของท่าน, ของคุณ, ของพวกท่าน, ของพวกคุณ |
yours | (pro) สิ่งของของท่าน, สิ่งของของคุณ |
yourself | (pro) ตัวท่านเอง, ตัวคุณเอง |
*dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด |
blowjob | (n) (คำหยาบ) การที่ผู้หญิงสำเร็จความใคร่ให้ฝ่ายชายโดยใช้เพียงปากเท่านั้น, See also: Thumbnail gallery post |
caduceus | (n) คทางูไขว้. คือคทาสั้นที่มีงูสองตัวพันกันเป็นเกลียวขึ้นมา บางครั้งก็จะมีปีกอยู่ข้างบนด้วย ผู้ใช้คทางูไขว้คนแรกคือเทพีไอริสผู้เป็นผู้สื่อสารของเทพีเฮรา ต่อมาคทานี้เรียกว่า “คทาเฮอร์มีส” (wand of Hermes) ที่ถือโดยเทพเฮอร์มีสผู้ที่เป็นผู้ถือคทาต่อมาในตำนานเทพหลังจากนั้นเป็นเวลานาน บางครั้งคทางูไขว้ก็ใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์เช่นในประเทศไทยหรือในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งสัญลักษณ์นี้ก็ใช้สับสนกับสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์ในสมัยโบราณซึ่งเป็น[ [ คทางูเดี่ยว ] ] (rod of Asclepius) เท่านั้นที่มีงูเพียงตัวเดียวและไม่มีปีก (wikipedia.org/wiki/Caduceus), See also: rod of Asclepius |
caduceus | (n) คทางูไขว้. คือคทาสั้นที่มีงูสองตัวพันกันเป็นเกลียวขึ้นมา บางครั้งก็จะมีปีกอยู่ข้างบนด้วย ผู้ใช้คทางูไขว้คนแรกคือเทพีไอริสผู้เป็นผู้สื่อสารของเทพีเฮรา ต่อมาคทานี้เรียกว่า “คทาเฮอร์มีส” (wand of Hermes) ที่ถือโดยเทพเฮอร์มีสผู้ที่เป็นผู้ถือคทาต่อมาในตำนานเทพหลังจากนั้นเป็นเวลานาน บางครั้งคทางูไขว้ก็ใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์เช่นในประเทศไทยหรือในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งสัญลักษณ์นี้ก็ใช้สับสนกับสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์ในสมัยโบราณซึ่งเป็น[ [ คทางูเดี่ยว ] ] (rod of Asclepius) เท่านั้นที่มีงูเพียงตัวเดียวและไม่มีปีก (wikipedia.org/wiki/Caduceus), See also: rod of Asclepius |
constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " |
cross-border | (adj) เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ข้ามพรมแดนระหว่าง 2 ประเทศ, ระหว่างประเทศ, ที่ข้ามประเทศ, ที่ข้ามพรมแดน (ใช้นำหน้านามเท่านั้น) |
foregoing | [ฟอร์-โก-อิ้ง] (n, adj) สิ่งที่กล่าวมาก่อนหน้านี้, ข้อความก่อนหน้านี้ มักใช้ว่า the foregoing (อาจจะใช้ในเชิงกฎหมาย) เช่น The foregoing shall not affect the obligation of any person to comply with the applicable provisions of laws. ถ้าเป็น adj. จะใช้เติมนำหน้านามเท่านั้น, See also: A. following |
I avail myself of this opportunity to renew to your Excellency the assurance of my h | ในโอกาสนี้ข้าพเจ้าขอแสดงความนับถืออย่างยิ่งมายัง ฯพณฯ ท่านด้วย |
mayfly | (n, name, uniq) ชีปะขาว หรือชีผะขาวก็เรียก ชีผ้าขาวก็เรียก หรือเมย์ฟลายส์ (mayflies) ชื่อวิทยาศาสตร์ เอพฮีมีรอบเทอรา (Ephemeroptera) ตัวขนาดเล็กถึงกลาง ปีกบางมีเส้นมากมาย ปีกคู่แรกใหญ่กว่าคู่หลัง ตัวเมียวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนรูปร่างเรียวยาวอาศัยในน้ำนาน 1-2 ปี ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นแมลงโตเต็มวัย มีปีก ชอบเล่นไฟ มันมีอายุเพียง 1-2 วันเท่านั้น ไม่กินอาหาร ผสมพันธุ์แล้วตาย ฤดูกาลวางไข่อยู่ในราวกลางเดือนเมษายน พบใกล้แหล่งน้ำ บ่อน้ำ ลำธาร ตัวแก่เต็มที่จะลอกคราบออกพร้อมบินขึ้นจากผิวน้ำไปยังแสงสว่าง เป็นการบินขึ้นมาดูโลกครั้งแรกและครั้งสุดท้ายในชีวิต |
noob | (n, colloq) ในวงการเกมส์ DotA ใช้เรียกบุคคลซึ่งเล่นมานานแล้วยังไม่เก่ง แล้วยังอวดดี ชอบสั่งในขณะเล่นเกมส์ ทำตัวน่ารักเกียจ หรืออาจออกจากเกมส์เมื่อเห็นว่าตัวเองเสียเปรียบ ซึ่งจะไม่เหมือนกัน newbie ซึ่งเป็นผู้หัดเล่นใหม่เท่านั้น ดังนั้น newbie จึงไม่เหมือนกันกับ noob |
one third | (phrase) เศษหนึ่งส่วนสาม, จำนวนทั้งหมดมี 3 ส่วน แต่ต้องการเพียง 1 ส่วนเท่านั้น |
portolan chart | [พอร์โทลาน ชาร์ท] (n) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) |
priesthood | (n) ฐานะปุโรหิต(ตำแหน่งทางศาสนาใช้สำหรับผู้ชายในศาสนามอรมอนเท่านั้น), Syn. priest |
reincarnation | (n) การกลับชาติมาเกิดใหม่ แต่ไม่ได้แปลว่าจุติใหม่ จุติแปลว่าเคลื่อน หรือหมายถึงตาย ใช้กับเทวดาที่ลงมายังโลกมนุษย์เท่านั้น เช่นเทวดาจุติลงมายังโลก |
road map | [โร๊ด แมป] (n) แนวทางการดำเนินการ eg. "the president said he had a road map for normalizing relations with Vietnam" "ท่านประธานธิบดี บอกว่า เขามีแนวทางดำเนินการเพื่อให้ความสัมพันธ์กับ ประเทศเวียตนาม กลับมาเหมือนเดิม", See also: วิธีการ, วิธี, Syn. แนวปฏิบัติ |
we had brough you to testified | ได้นำท่านขึ้นเบิกความต่อศาบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว |
Yoo | [ยู] หนึ่งเดียวเท่านั้น เช่น Your only one คนเดียวของคุณ เขาหรือคุณเป็นของเขาคนเดียวเป็นที่ต้องการเป็นที่รักที่กล่าวถึงผู้เดียว |
พิมพ์ใหญ่ | ท่านสามารถดู คำแนะนำเพิ่มเติม เกี่ยวกับวิธีการป้อนคำได้ รวมถึงตัวอย่างต่างๆ |
แผนที่การเดินเรือพอร์โทลาน | (Portolan chart) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) |
gelten | (vi) |gilt, galt, hat gegolten| มีผลใช้ได้(บัตร, ตั๋ว, กฏ, ระเบียบ) เช่น Sein Visum gilt nur für Deutschland, aber nicht für die Schweiz. วีซ่าของเขาใช้ได้เฉพาะในเยอรมนีเท่านั้น ในสวิสใช้ไม่ได้, See also: gültig |
S-Bahn | (n) |die, pl. S-Bahnen| รถไฟเร็วที่วิ่งจากในตัวเมืองถึงหัวเมืองซึ่งในเยอรมนีมีเฉพาะในเมืองใหญ่ๆ เท่านั้น |
U-Bahn | (n) |die, pl. U-Bahnen| รถไฟใต้ดิน (ซึ่งบางช่วงอาจวิ่งบนดิน) ที่วิ่งเฉพาะในตัวเมืองเท่านั้นหรือวิ่งระยะไม่ไกลเท่ารถประเภท S-Bahn |
Prüfung | (n) |die, pl. Prüfungen| การสอบซึ่งอาจเป็นได้ทั้งข้อเขียนและปากเปล่า (ต่างจาก Klausur ตรงที่ Klausur หมายถึงการสอบข้อเขียนเท่านั้น) |
original | (adj) ที่เป็นต้นแบบ, ต้นฉบับ, ของแท้ เช่น Die originale Sacher Torte bekommt man nur bei dem Hotel Sacher. ขนมเค้ก Sacher ต้นตำรับหาทานได้ที่โรงแรม Sacher เท่านั้น, See also: authentisch, A. gefälscht, nachgemacht, Syn. echt |
je | ยิ่ง (ใช้บ่งว่าของสองสิ่งขึ้นอยู่ซึ่งกันและกัน เช่น ถ้าสิ่งหนึ่งมากขึ้น อีกสิ่งน้อยลง ใช้คู่กับ umso หรือ desto) เช่น Je kälter es ist, desto mehr Gas für die Heizung verbraucht man. ยิ่งอากาศหนาวเท่าไหร่ เราก็ยิ่งใช้ก๊าซสำหรับเครื่องทำความร้อนมากขึ้นเท่านั้น |
ausschließlich | (adj, adv) เฉพาะตัว, แต่ผู้เดียว, เพียง เช่น ausschließlich für den Zweck เพียงเพื่อจุดประสงค์นี้เท่านั้น, See also: A. einschließlich, Syn. nur |
anmachen | (vt) |machte an, hat angemacht, etw.(Essen)| คลุกเคล้าให้เข้ากันดี (คลุกเครื่องปรุงอาหาร) เช่น Er ist gleich fertig. Er muß nur noch den Salat anmachen. เขาเกือบเสร็จแล้ว เขาเพียงแต่ต้องคลุกสลัดเท่านั้น |
Kost | (n) |die, nur Sg.| อาหาร (ภาษาค่อนข้างทางการ) เช่น Der Patient darf nur leichte Kost zu sich nehmen. คนไข้คนนี้ได้รับอนุญาตให้รับประทานอาหารอ่อนเท่านั้น, See also: Nahrung, Syn. Essen |
Kosten | (n) |nur Pl.| ผลรวมรายจ่ายในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง, ค่าใช้จ่าย เช่น Die beiden Politiker haben ihre Asienreise auf eigene Kosten gemacht. นักการเมืองสองท่านนี้ใช้เงินส่วนตัวจ่ายค่าเดินทางไปทวีปเอเซีย, See also: Related: Ausgaben, Unkosten |
sich an die Arbeit machen | เริ่มทำงาน เช่น Je früher ich mich an die Arbeit machst, desto eher bin ich fertig. ยิ่งฉันเริ่มทำงานเร็วเท่าไหร่ ฉันก็จะยิ่งเสร็จเร็วเท่านั้น, Syn. anfangen zu arbeiten |
Narzisse | (n) |die, pl. Narzissen| ดอกนาซีซัส เป็นพืชไม้ดอกมีกลีบสีเหลืองหรือขาวด้านนอกประมาณ 6 กลีบ ตรงกลางเป็นรูปถ้วย รากมีลักษณะเป็นหัวคล้ายหัวหอม และออกดอกช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น Image: |