ทึก | (n) water, Syn. น้ำ, Notes: (เขมร) |
ทึก | (v) presume, See also: assume, claim, suppose, claim something false, make an arbitrary decision, jump to a concl, Syn. ตู่, Thai Definition: ตู่เอาเป็นของตัว, ถือเอาเป็นจริงเป็นจัง, เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ |
ระทึก | (v) beat fast from fear, See also: be very fearful with quick and weak pulse, Example: ใจของเขานอกจากจะร้อนรนเหมือนโดนไฟเผาแล้ว มันยังระทึกจนแทบไม่เป็นจังหวะอีกด้วย, Thai Definition: ใจเต้นตึกๆ, ใจสั่นรัว |
อาทึก | (adj) first, See also: preliminary, initial, prior, Syn. อาทิก, Thai Definition: เป็นที่ต้น, ก่อน, แรก, เบื้องต้น |
ทึกทัก | (v) assume, See also: presume, claim, suppose, Syn. ตู่, คาดเดา, ตู่เอา, เดา, โมเม, Thai Definition: เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ |
ทึนทึก | (adj) almost old, See also: almost ripe, Syn. ทึมทึก, Thai Definition: จวนแก่ |
บันทึก | (n) note, See also: memo, memorandum, Example: มีบันทึกถึงหัวหน้าจากลูกค้ารายสำคัญ, Thai Definition: ข้อความที่จดไว้เพื่อช่วยเตือนความจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน |
อึกทึก | (adv) noisily, See also: clamorously, boisterously, tumultuously, Syn. ครึกโครม, อื้ออึง, เอ็ด, Ant. เงียบ, Example: พรรคการเมืองแต่ละพรรคเคลื่อนไหวเตรียมตัวรับมือเลือกตั้งในกติกาใหม่กันอย่างอึกทึก |
อึกทึก | (v) be noisy, See also: be clamorous, Syn. ครึกโครม, อื้ออึง, เอ็ด, Ant. เงียบ, Example: บรรยากาศของงานวัดอึกทึกด้วยเสียงโฆษณาสินค้า และเสียงบอกบุญ, Thai Definition: เอ็ด, อื้ออึง, ครึกโครม |
อึกทึก | (adj) noisy, See also: clamorous, boisterous, tumultuous, Syn. ครึกโครม, อื้ออึง, เอ็ด, Ant. เงียบ, Example: กระแสแห่งความคิดของเขาต้องสะดุดหยุดลง เพราะเสียงอึกทึก, Thai Definition: เอ็ด, อื้ออึง, ครึกโครม |
ระทึกใจ | (adj) excited, See also: frightened, Example: เขาเล่าถึงช่วงนาทีระทึกใจในตอนถูกล่าว่า ไม่มีทั้งความสบายกาย และใจ |
ระทึกใจ | (v) excite, See also: tremble with terror, be extremely frightened |
จดบันทึก | (v) take (down) notes, See also: make a note of something, Syn. เขียนบันทึก, Example: ผู้ควบคุมเครื่องควรจดบันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงานแล้วแจ้งให้นักโปรแกรมระบบทราบเพื่อทำการแก้ไข, Thai Definition: ที่รับภาพ |
มโหระทึก | (n) metal drum used in state ceremonies, See also: ceremonial kettledrum, Example: เจ้าพนักงานประโคมฆ้องชัย สังข์ แตร มโหระทึก และดุริยางค์, Count Unit: ใบ, ลูก, Thai Definition: กลองโลหะชนิดหนึ่งของชนชาติที่อยู่ตอนใต้ประเทศจีน ใช้ตีเป็นสัญญาณและประโคม |
มโหระทึก | (adv) grandly, See also: greatly, hugely, vastly, enormously, magnificently, Syn. มโหฬาร, ยิ่งใหญ่, กว้างใหญ่, ใหญ่โต, Example: เขาสร้างบ้านอย่างใหญ่โตมโหระทึก ถึงระดับที่ต้องบันทึกเป็นสถิติโลกไว้ |
ลงบันทึก | (v) record, See also: write down, document, take down, log, minute, note, register, set down, Example: พนักงานลงบันทึกเวลาทำงานทุกเช้า, Thai Definition: จดลงไว้เป็นลายลักษณ์อักษร |
บันทึกเทป | (v) record, See also: copy, Syn. อัดเทป, Example: รายการของเขาถูกถอดออกจากผัง หลังจากบันทึกเทปไปแค่ 4 เทปเท่านั้น, Thai Definition: ทำการบันทึกสัญญาณภาพหรือเสียง, ทำให้เรื่องราวยังอยู่ ในรูปสัญญาณภาพหรือเสียง |
ผู้บันทึก | (n) recorder, See also: secretary (for a meeting), Syn. คนบันทึก, Example: ผมได้รับมอบหมายให้เป็นผู้บันทึกสถิติในการทดสอบครั้งนี้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่จดข้อความไว้เพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, |
ระทึกขวัญ | (adj) thrilling, See also: exciting, sensational, stirring, Syn. ตื่นเต้น, Example: เหตุการณ์ระทึกขวัญยังอยู่ในห้วงความคิดของผมตลอด แม้เวลาจะผ่านไปเป็นปีๆ แล้ว |
สาวทึนทึก | (n) old maid, See also: spinster, Syn. สาวทึมทึก, สาวแก่, Count Unit: คน, Thai Definition: สาวใหญ่ที่ยังไม่มีสามี |
หัวบันทึก | (n) record head, Example: ดิสก์จะถูกบรรจุใว้ในกล่องที่ปิดสนิท มีหัวบันทึกและหัวอ่านในตัวที่จะสัมผัสกับแผ่นฮาร์ดดิสก์, Count Unit: หัว |
น่าระทึกใจ | (adj) excited, See also: agitated, thrilled, ruffled, Syn. น่าเร้าใจ, น่าตื่นเต้น, Ant. จืดชืด, เรียบๆ, เฉยๆ, Example: ฉันชอบฉากที่น่าระทึกใจตอนที่พระเอกกับนางเอกหนีลงไปใต้น้ำเท่านั้น |
น่าระทึกใจ | (v) be excited, See also: be agitated, be thrilled, be ruffled, Syn. น่าเร้าใจ, น่าตื่นเต้น, Ant. จืดชืด, เรียบๆ, เฉยๆ |
สมุดบันทึก | (n) note book, Syn. สมุด, ไดอารี่, อนุทิน, บันทึกประจำวัน, Count Unit: เล่ม |
สมุดบันทึก | (n) diary, See also: memorandum book, Example: ไม่ว่าจะไปเที่ยวที่ไหน ผมจะต้องจดใสสมุดบันทึกไว้ทุกครั้ง, Count Unit: เล่ม |
การจดบันทึก | (n) taking notes, Example: การจดบันทึกประจำวันทำให้เราสามารถรู้ความเป็นไปในอดีตที่ผ่านมา |
การบันทึกภาพ | (n) taking pictures, See also: record by video, taking a photograph of, Syn. การถ่ายภาพ, Example: หัวหน้าโครงการสั่งให้มีการบันทึกภาพการสาธิตเพื่อใช้ประกอบการสอนในครั้งต่อๆ ไป |
แถบบันทึกภาพ | (n) magnetic picture-recording tape, Example: เดี๋ยวนี้เราใช้แถบบันทึกภาพกันอย่างแพร่หลาย, Thai Definition: แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณภาพ |
พะเนินเทินทึก | (adv) in a heap, See also: in a pile, Syn. พะเนิน, Example: บนชานชาลามีบุหรี่สิบซองห่อกระดาษสีน้ำตาลกองไว้พะเนินเทินทึก, Thai Definition: อย่างมากมายก่ายกอง |
เครื่องบันทึก | (n) recorder, See also: recording device, Count Unit: เครื่อง |
การบันทึกเสียง | (n) sound recording, See also: record, Syn. การอัดเสียง, Example: ผู้เรียนจะชมรายการบทเรียนวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เมื่อไรก็ได้จากการบันทึกเสียงลงบนเทปบันทึกเสียง |
อึกทึกครึกโครม | (adj) noisy, See also: loud, boisterous, tumultuous, Syn. อึกทึก, ครึกโครม, อื้ออึง, Ant. เงียบ, เงียบสงบ, Example: นักเรียนลากเก้าอี้เพื่อจัดห้องสอบทำให้มีเสียงอึกทึกครึกโครมลั่นไปหมด |
แถบบันทึกเสียง | (n) magnetic sound-recording tape, Thai Definition: แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง |
กองพะเนินเทินทึก | (v) pile up, See also: pile on, heap up, Syn. กองเป็นภูเขาเลากา, กองสุม, Example: โกดังเก็บของมีสินค้ากองพะเนินเทินทึก, Thai Definition: สุมกันอยู่มากมาย |
เครื่องบันทึกเสียง | (n) tape recorder, See also: recording device, recorder, audiotape, Example: เจ้าหน้าที่ได้บันทึกคำให้การของ เขาไว้ในเครื่องบันทึกเสียง, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องที่ใช้เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นรูปอื่นซึ่งบันทึกเก็บไว้ได้ เช่นบันทึกลงบนแถบแม่เหล็กหรือลงบนร่องจานเสียง |
เครื่องเก็บบันทึกข้อมูล | (n) data entry equipment, Syn. เครื่องบันทึกข้อมูล, Thai Definition: อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียม และบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผล |
กองพะเนิน, กองพะเนินเทินทึก | ว. สุมกันเป็นกองมากมาย. |
เครื่องบันทึกเสียง | น. เครื่องที่ใช้เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นรูปอื่นซึ่งบันทึกเก็บไว้ได้ เช่น บันทึกลงบนแถบแม่เหล็กหรือลงบนร่องจานเสียง. |
ถนำทึก | น. ยาน้ำ. |
แถบบันทึกภาพ | น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณภาพและมักบันทึกสัญญาณเสียงด้วย. |
แถบบันทึกเสียง | น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง. |
ทะทึก | ว. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ. |
ทึก | น. นํ้า เช่น ปางคราสฉมจันทนคันธา เรียบเทียบทึกสรา สำรวลสำราญริมถนน (อนิรุทธ์). |
ทึกทัก | ก. ตู่เอาเป็นของตัว, ถือเอาเป็นจริงเป็นจัง, เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้. |
ทึนทึก | ว. จวนแก่, เรียกมะพร้าวที่จวนแก่ ว่า มะพร้าวทึนทึก, เรียกสาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน ว่า สาวทึนทึก, ทึมทึก ก็ว่า. |
ทึมทึก | ว. จวนแก่, เรียกมะพร้าวที่จวนแก่ ว่า มะพร้าวทึมทึก, เรียกสาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน ว่า สาวทึมทึก, ทึนทึก ก็ว่า. |
บันทึก | ก. จดข้อความเพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, จดหรือถ่ายทำไว้เพื่อช่วยความจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, เช่น บันทึกรายงานการประชุม บันทึกภาพ บันทึกเสียง, จดย่อ ๆ ไว้เพื่อให้รู้เรื่องเดิม |
บันทึก | ย่นย่อ, ทำให้สั้น, เช่น อันว่าเทพยดาก็ปรานีกระษัตรท้งงสี่ ก็บันทึกที่หนทางน้นนเข้ามา (ม. คำหลวง วนประเวศน์). |
บันทึก | น. ข้อความที่จดไว้เพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, ข้อความที่นำมาจดย่อ ๆ ไว้เพื่อให้รู้เรื่องเดิม. |
พะเนินเทินทึก | ว. มากมายก่ายกอง, พะเนิน ก็ว่า. |
มโหระทึก | น. กลองโลหะหน้าเดียวส่วนมากทำด้วยสัมฤทธิ์ ใช้ตีเป็นสัญญาณประโคมในพิธีกรรม. |
มะพร้าวทึนทึก, มะพร้าวทึมทึก | น. มะพร้าวจวนแก่. |
ระทึก | ก. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ. |
สะทึก | ก. ใจเต้นตึก ๆ. |
สาวทึนทึก, สาวทึมทึก | น. สาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน, สาวเทื้อ ก็ว่า. |
อาทึก | ว. เป็นที่ต้น, ก่อน, แรก, เบื้องต้น. |
อึกทึก | (อึกกะทึก) ว. เอ็ดอึง, อื้ออึง, ครึกโครม. |
กฎหมาย | ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า) |
กระเกรอก | (-เกฺริก) ว. กระเกริก, เสียงดังอึกทึก, เช่น กระเกรอกทงงท้องธรณี (สมุทรโฆษ). |
กระเกริก | ว. เสียงดังอึกทึก เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา (อุเทน). |
กระฉีก | น. ของหวานทำด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด กวนกับนํ้าตาลปึกให้เข้ากันจนเหนียว อบด้วยควันเทียนอบให้หอม ใช้เป็นไส้หรือหน้าขนม เรียกว่า หน้ากระฉีก เช่น ขนมใส่ไส้มีไส้เป็นหน้ากระฉีก ข้าวเหนียวหน้ากระฉีก. |
กระทั่ง ๑ | ทำให้มีเสียงด้วยการเป่าหรือตีเครื่องดนตรีบางชนิด เช่น กระทั่งแตร ว่า เป่าแตร กระทั่งมโหระทึก ว่า ตีมโหระทึก |
กระอึก | ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน). |
กลอง | (กฺลอง) น. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ขึงด้วยหนัง ใช้ตีบอกสัญญาณ กำกับจังหวะ หรือใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่น ๆ ตัวกลองเรียกว่า “หุ่น” ลักษณะกลมกลวงทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่นไม้ชิงชัน ไม้มะริด ไม้มะม่วง มีทั้งหน้าเดียวและ ๒ หน้า ที่ขึ้นหนังหน้าเดียว เช่น โทน กลองยาว รำมะนา ที่ขึ้นหนัง ๒ หน้า เช่น กลองทัด ตะโพน เปิงมาง กลองแขก กลองมลายู กลองชนะ การขึ้นหนังมีทั้งที่ใช้หมุดตรึงให้แน่น และใช้โยงเร่งเสียงด้วยสายหนัง เรียกว่า หนังเรียด หรือใช้หวายหรือลวด ยังมีกลองที่หล่อด้วยโลหะทั้งลูก แต่มิได้ขึงด้วยหนัง ก็มี เช่น มโหระทึก และกลองที่ทำด้วยดินเผา การตีกลองอาจใช้ไม้ตี มือ (ฝ่ามือ) หรือนิ้ว เพื่อให้เกิดเสียงดังก้อง, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก. |
ขนมคันหลาว | น. ขนมทำด้วยแป้งข้าวเจ้า นวด ปั้นเป็นตัวยาว ๆ หัวแหลมท้ายแหลม ต้มให้สุกแล้วคลุกกับมะพร้าวทึนทึกขูดผสมเกลือ เป็นเครื่องกระยาบวช. |
ขนมหูช้าง | น. ขนมทำด้วยแป้งข้าวเจ้า นวดทำเป็นแผ่นแบน ๆ ต้มให้สุกแล้วคลุกกับมะพร้าวทึนทึกขูดผสมเกลือ เป็นเครื่องกระยาบวช |
ขี้ตู่ | ก. กล่าวอ้างหรือทึกทักว่าของผู้อื่นเป็นของตัว เช่น นี่ปากกาของฉันนะอย่ามาขี้ตู่. |
ขี้หนู ๒ | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งข้าวเจ้าโม่ทับน้ำ ยีให้ร่วนแล้วนึ่งให้สุก ใส่น้ำเชื่อม เคล้าให้ฟูเป็นเม็ดเล็ก ๆ คล้ายเม็ดทราย โรยด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด. |
ครึกโครม | (คฺรึกโคฺรม) ว. อึกทึก, อื้ออึง, ชวนให้ตื่นเต้น, เป็นที่เล่าลือกันแพร่หลาย. |
เครง, เครงครา | (เคฺรง, -คฺรา) ว. อึกทึก, กึกก้อง, เช่น หนึ่งกล้วยออกเครือเครงครา กลางลำมายา (อภิไธยโพธิบาทว์). |
แครง ๓ | (แคฺรง) ว. อึกทึก, กึกก้อง, เช่น อย่างแครงครวญ (กล่อมช้างของเก่า), สงครามแครง ฟ้งเฟือด (ม. คำหลวง วนปเวสน์). |
โครงแคร | (โคฺรงแคฺร) ว. ครื้นเครง, อึกทึก, กึกก้อง, เช่น เสียงฉะฉาวโครงแคร (สมุทรโฆษ). |
จดทะเบียน | ก. ลงบันทึกข้อความไว้กับทางราชการเพื่อให้การใดเกิดผล บังคับกันได้ ได้รับการคุ้มครอง หรือเป็นหลักฐานตามที่กฎหมายกำหนด เช่น จดทะเบียนรถยนต์ จดทะเบียนสมรส จดทะเบียนหุ้นส่วนและบริษัท จดทะเบียนเครื่องจักร. |
จดหมายเหตุ | น. หนังสือบอกข่าวคราวที่เป็นไป, รายงานหรือบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น, เอกสารที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ผลิตขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานและเครื่องมือในการปฏิบัติงาน. |
จานเสียง | น. วัสดุแผ่นกลมบางซึ่งบันทึกเสียงไว้ในลักษณะเป็นร่องบนผิวพื้น เมื่อใส่บนแผ่นหมุนของหีบเสียง วางเข็มลงในร่องแล้วให้จานหมุนไป ก็จะเกิดเสียงตามที่บันทึกไว้, แผ่นเสียง ก็เรียก. |
จาว ๖ | ก. ส่งเสียงดัง, อึกทึก, เช่น อันจาวจำเรียงเสียงฉันท์ (สมุทรโฆษ). |
แจจน, แจจัน | อึกทึก, อึง. |
ชักรูป | ก. บันทึกภาพโดยวิธีให้แสงจากสิ่งที่จะถ่ายไปลงบนแผ่นวัสดุใสเช่นฟิล์ม กระจกถ่ายรูป, ถ่ายรูป ก็ว่า. |
ซ้อมค้าง | ก. พูดทึกทักเอาราวกับเป็นจริง เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งยอมรับ. |
ด้วง ๒ | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า ปั้นเป็นตัวกลมยาวหัวท้ายเรียวคล้ายตัวด้วง ต้มให้สุก ราดหัวกะทิ โรยงาคั่ว นํ้าตาลทราย เหยาะเกลือเล็กน้อย และมะพร้าวทึนทึกขูดเป็นเส้น. |
ตัดต่อ | ก. ตัดฟิล์มภาพยนตร์ เทปบันทึกภาพ เป็นต้น ที่ไม่ติดต่อกัน แล้วนำมาต่อกันเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ. |
ตีขลุม | ก. ตู่หรือหยิบฉวยเอาของผู้อื่นโดยทึกทักเอาว่าเป็นของตน, รับสมอ้างเพื่อประโยชน์แก่ตน. |
ตู่ | ก. กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของตัว, กล่าวอ้างผิดตัว ผิดสิ่ง ผิดเรื่อง. |
ตูมตาม | ว. เสียงดังเอะอะอึกทึก เช่น เสียงระเบิดตูมตาม. |
ถ่ายภาพยนตร์ | ก. บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาว ๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้เหมือนจริง, (ปาก) ถ่ายหนัง. |
ถ่ายรูป | ก. บันทึกภาพโดยวิธีให้แสงจากสิ่งที่จะถ่ายไปลงบนแผ่นวัสดุใสเช่นฟิล์ม กระจกถ่ายรูป, โบราณว่า ชักรูป. |
Material | วัสดุ, สิ่งของต่างๆ ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น รูปภาพ บัตรคำ แผนภูมิ ฟิล์มภาพยนต์ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Equipment | อุปกรณ์, เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาช่วยในการใช้วัสดุให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เครื่องเล่นจานเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายฟิล์มสติรป เป็นต้น [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Tape recordings | แถบบันทึกเสียง (Tape recording), Example: <p>แถบบันทึกเสียง <p>หมายถึงวัสดุที่แบนยาวเคลือบด้วยสารแม่เหล็กใช้บันทึกสัญญาณเสียง เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ บันทึก เสียงได้ทั้งสองแถบและสามารถลบเสียงเดิมออกแล้วบันทึกเสียงใหม่ได้ ต่างจากแผ่นเสียงที่เมื่อบันทึกเสียงลงไปแล้วจะคงอยู่ตลอด ไปจนกว่าแผ่นเสียงจะสึกหรอหรือแตกหัก เทปบันทึกเสียง มี 3 ลักษณะ ได้แก่ <p>1.เทปม้วน (tape open reel-to reel) <p>2.เทปตลับแบบคาสเซท (tape cassette) <p>3.เทปตลับแบบ cartridge <p>(tape cartridge) การจัดเก็บเทปบันทึกเสียง จะจัดเก็บไว้ในกล่อง เรียงตามลำดับเลขทะเบียนหรือหัวเรื่องที่กล่องเทปและที่วงของเทปมีป้ายระบุรายละเอียดไดว้คือ ผู้ผลิต ชื่อเรื่อง สถานที่ วัน เดือน ปี หมายเลขจำนวนระยะเวลาที่เล่น และอัตราความเร็ว <p>บรรณานุกรม : พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์, การใช้ห้องสมุด กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Official record | บันทึกทางราชการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electroencephalography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electrocardiography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radiography | การบันทึกภาพด้วยรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Autoradiograph | ภาพรังสีในตัว, ภาพบันทึกการกระจายของรังสีจากสารกัมมันตรังสีในวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต โดยวางวัตถุนั้นไว้ใกล้แผ่นฟิล์มถ่ายภาพหรือเยื่อไวแสง (emulsion) รังสีที่แผ่ออกมาจะทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มหรือเยื่อไวแสง (ดู radiography ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Data entry | บันทึกข้อมูล, Example: กระบวนการนำข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกหรือในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้แป้นพิมพ์บันทึกข้อมูลเก็บ [คอมพิวเตอร์] |
Log off | ลงบันทึกปิด [คอมพิวเตอร์] |
Log on | ลงบันทึกเปิด [คอมพิวเตอร์] |
Note taker | ผู้ืำทำหน้าที่จดบันทึก [การจัดการความรู้] |
Scintillation counter | เครื่องนับรังสีจากแสงวับ, อุปกรณ์ตรวจวัดรังสีชนิดก่อไอออน ประกอบด้วยวัสดุที่เปล่งแสงวับเมื่อถูกกระทำโดยรังสี หลอดทวีคูณแสง และเครื่องบันทึกสัญญาณ ที่แสดงปริมาณและพลังงานของรังสีที่ตรวจวัด [นิวเคลียร์] |
read/write head | หัวอ่าน/บันทึก, Example: อุปกรณ์ในเครื่องขับจานแม่เหล็กสำหรับใช้อ่านข้อมูลจากจาน และบันทึกข้อมูลลงในจาน เมื่อเราบันทึกแฟ้มลงในจานแม่เหล็ก หัวอ่าน/บันทึกจะปล่อยประจุไฟฟ้าลงบนจานกำลังหมุน ทำให้อนุภาคแม่เหล็กบนจานจัดเรียงตัวใหม่ เมื่อต้องการข้อมูลจากจาน หัวอ่าน/บันทึกก็จะตรวจดูลักษณะการจัดเรียงตัวของจุดแม่เหล็กบนจาน แล้วเปลี่ยนเป็นพัลส์ไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ [คอมพิวเตอร์] |
Magnetic recorder and recording | เครื่องบันทึกเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Disk drive | หน่วยขับจาน, หน่วยขับจานบันทึก, หน่วยขับแผ่นบันทึก, Example: อุปกรณ์สำหรับใช้บันทึกและอ่านข้อมูลบนจานแม่เหล็ก [คอมพิวเตอร์] |
Diskette | แผ่นบันทึก (ดู floppy disk) [คอมพิวเตอร์] |
Document | ผลงานใดๆ ที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมประยุกต์แล้วเก็บบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลในแผ่นดิสก์ [คอมพิวเตอร์] |
Digitize | แปลงเป็นเลข การเปลียนแปลงภาพบนกระดาษให้เป็นสัญญาณเลข สำหรับบันทึก เก็บ และนำมาแสดงผลได้ [คอมพิวเตอร์] |
floppy disk | แผ่นบันทึก [คอมพิวเตอร์] |
hard disk | หน่วยขับจาน, หน่วยขับจานบันทึก, หน่วยขับแผ่นบันทึก, อุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่เป็นจานแม่เหล็กหลายแผ่นซ้อนอยู่บนแกนหมุนเดียวกัน [คอมพิวเตอร์] |
clip | ๑. เล็ม, ขริบ ๒. สิ่งบันทึก, ๑. เล็ม, ขริบ ๒. สิ่งบันทึก [คอมพิวเตอร์] |
Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] |
Augmentative and Alternative Communication Program | ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ "ปราศรัย" ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology] |
Digital Accessible Information System Book | หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี, สื่อข้อมูลดิจิทัล เช่น แผ่นซีดี หรือ หน่วยความจำ ที่สามารถนำมาเล่นด้วยเครื่อเล่นหรือคอมพิวเตอร์แล้วได้เป็นเสียงอ่านที่เคยบันทึกเอาไว้ก่อน ทั้งนี้ โดยใช้วิธีการกำหนดตำแหน่ง (mark up) ระหว่างเสียง กับข้อความ (ป้ายกำกับข้อมูลเสียง) ตามมาตรฐานเปิด ของสมาคมเดซี (Daisy Consortium) [Assistive Technology] |
Remote sensing | การสำรวจระยะทางไกล, การบันทึกหรือการได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวัตถุ พื้นที่เป้าหมายด้วยอุปกรณ์บันทึกข้อมูล (sensor) จากระยะไกล โดยทั่วไปมักจะหมายถึงดาวเทียมถ่ายภาพวัตถุบนพื้นโลกซึ่งจะสามารถวัดสี ความร้อน ความเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ บนพื้นผิวโลกได้ [Assistive Technology] |
Film badge | กลักฟิล์ม, ฟิล์มแบ็ดจ์, กลักบรรจุฟิล์มบันทึกปริมาณรังสี ที่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีใช้เพื่อให้ทราบว่าได้รับรังสีสะสมเป็นปริมาณเท่าใด, Example: [นิวเคลียร์] |
World Intellectual Property Organization Performances and Phonograms Treaty (1996) | สนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (ค.ศ. 1996) [TU Subject Heading] |
Angiography | การบันทึกภาพหลอดเลือดด้วยรังสี [TU Subject Heading] |
Audiocassettes | แถบบันทึกเสียงตลับ [TU Subject Heading] |
Audiocassettes for children | แถบบันทึกเสียงตลับสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] |
Audiotapes | แถบบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
Blogs | สมุดบันทึกทางอินเตอร์เน็ต [TU Subject Heading] |
Bookkeeping | การบันทึกบัญชี [TU Subject Heading] |
Cash registers | เครื่องบันทึกการเก็บเงิน [TU Subject Heading] |
Cassette tape recorders | เครื่องบันทึกและเล่นแถบเสียงตลับ [TU Subject Heading] |
Cerebral angiography | การบันทึกภาพหลอดเลือดสมองด้วยรังสี [TU Subject Heading] |
Coronary angiography | การบันทึกภาพหลอดเลือดหัวใจด้วยรังสี [TU Subject Heading] |
Court records | บันทึกของศาล [TU Subject Heading] |
Data disk drives | หน่วยขับจานบันทึกข้อมูล [TU Subject Heading] |
Data disk drives industry | อุตสาหกรรมหน่วยขับจานบันทึกข้อมูล [TU Subject Heading] |
Data entry | การบันทึกข้อมูล [TU Subject Heading] |
Diagnostic imaging | การบันทึกภาพเพื่อวินิจฉัยโรค [TU Subject Heading] |
Diaries | บันทึกประจำวัน [TU Subject Heading] |
Echocardiography | การบันทึกคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ [TU Subject Heading] |
Electrocardiography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ [TU Subject Heading] |
Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] |
Electroretinography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าจอตา [TU Subject Heading] |
Floppy disks | แผ่นบันทึก [TU Subject Heading] |
บันทึก | [bantheuk] (n) EN: note ; memorandum ; memo ; record ; summary ; abstract ; synopsis ; minute FR: mémoire [ m ] ; note [ f ] ; mémo [ m ] (fam.) ; mémorandum [ m ] ; minute [ f ] ; notation [ f ] |
บันทึก | [bantheuk] (n) EN: blog ; web log FR: blog [ m ] = bloc [ m ] = blogue [ m ] (Québ.) ; journal personnel [ m ] |
บันทึก | [bantheuk] (v) EN: note ; take note ; record ; save ; write down ; take a minute FR: inscrire ; noter ; enregistrer ; sauvegarder |
บันทึกเหตุการณ์ | [bantheuk hētkān] (n) EN: log FR: journal de bord [ m ] |
บันทึกคนไข้ | [bantheuk khonkhai] (n, exp) EN: patient's chart |
บันทึกภาพ | [bantheuk phāp] (v, exp) FR: enregistrer une image |
บันทึกผล | [bantheuk phon] (n, exp) FR: noter le résultat ; inscrire le résultat |
บันทึกประจำวัน | [bantheuk prajamwan] (x) EN: diary FR: agenda [ m ] |
บันทึกเสียง | [bantheuk sīeng] (v, exp) EN: record voices FR: enregistrer la voix ; enregistrer le son |
บันทึกเทป | [bantheukthēp] (n, exp) EN: recording tape FR: bande d'enregistrement [ f ] |
อึกทึก | [eukkatheuk] (adj) EN: noisy ; clamorous ; tumultuous ; boisterous FR: bruyant ; sonore |
อึกทึก | [eukkatheuk] (adv) EN: loudly ; noisily ; boisterously FR: bruyamment |
อึกทึกครึกโครม | [eukkatheuk-khreukkhrōm] (adj) EN: noisy |
หัวบันทึก | [hūa bantheuk] (n, exp) EN: record head |
จานบันทึก | [jānbantheuk] (n) EN: disk |
จดบันทึก | [jot bantheuk] (v, exp) EN: take down the minutes FR: répertorier |
จดบันทึกการประชุม | [jot bantheuk kān prachum] (v, exp) EN: do the minutes ; take the minutes |
การบันทึกภาพ | [kān bantheuk phāp] (n, exp) EN: taking pictures FR: prise de vues [ f ] |
การบันทึกเสียง | [kān bantheuk sīeng] (n, exp) EN: sound recording FR: prise de son [ f ] |
การจดบันทึก | [kān jot bantheuk] (n, exp) EN: taking notes FR: prise de notes [ f ] |
เขียนบันทึกความจำ | [khīen bantheuk khwāmjam] (v, exp) FR: écrire ses mémoires |
ข้อความที่บันทึกไว้ | [khøkhwām thī bantheuk wai] (n, exp) EN: annals |
คนบันทึก | [khon bantheuk] (n, exp) EN: recorder |
เครื่องบันทึกเงินสด | [khreūang bantheuk ngoen sot] (n, exp) EN: cash register FR: caisse enregistreuse [ f ] |
เครื่องบันทึกเสียง | [khreūang bantheuk sīeng] (x) EN: tape recorder FR: magnétophone [ m ] ; enregistreur à cassettes [ m ] |
ลงบันทึกเข้า | [long bantheuk khao] (n) EN: login FR: login [ m ] |
ลงบันทึกปิด | [long bantheuk pit] (n) EN: logoff FR: logoff [ m ] |
ลงบันทึกเปิด | [long bantheuk poēt] (n) EN: logon FR: logon [ m ] |
มะพร้าวทึนทึกขูดกระต่ายจีน | [maphrāo theuntheuk khūt kratāi jīn] (n, exp) EN: shredded coconut |
ผู้บันทึก | [phūbantheuk] (n) EN: recorder ; secretary (for a meeting) ; memoirist |
ผู้จดบันทึก | [phū jot bantheuk] (n, exp) EN: memoirist ; recorder (of a meeting) |
ระทึก | [ratheuk] (adj) EN: excited ; frightened ; hair-rising ; shocking ; soul-stirring FR: palpitant ; émouvant |
สมุดบันทึก | [samut bantheuk] (n, exp) EN: diary ; record book ; notebook FR: journal [ m ] ; agenda [ m ] ; carnet [ m ] |
สมุดบันทึกสุขภาพ | [samut bantheuk sukkhaphāp] (n, exp) FR: carnet médical [ m ] |
สมุดจดบันทึก | [samut jot bantheuk] (n) EN: notebook FR: cahier [ m ] |
สาวทึนทึก | [sāo theuntheuk] (n, exp) EN: spinster ; old maid FR: vieille fille [ f ] |
เสียงอึกทึก | [sīeng eukkatheuk] (n, exp) FR: tapage [ m ] ; vacarme [ m ] |
ทึนทึก | [theuntheuk] (adj) EN: overripe FR: blet ; trop mûr |
เทปบันทึกเสียง | [thēp ban theuk sīeng] (n, exp) EN: recording tape FR: bande d'enregistrement [ f ] |
ทึนทึก | [theuntheuk] (adj) EN: spinsterish ; almost ripe ; override |
account | (n) รายงาน, See also: บันทึก, ประวัติ, เรื่องราว, Syn. report, description |
acoustic | (adj) ซึ่งออกแบบมาเพื่อการควบคุมหรือบันทึกเสียง |
act | (n) บันทึกที่เป็นทางการ |
aide-memoire | (n) บันทึกช่วยจำ, Syn. position paper |
almanac | (n) หนังสือที่บันทึกข้อมูลสถิติ, Syn. statistical almanac, record, register of the year |
anemograph | (n) เครื่องวัดที่บันทึกอัตราความเร็วและทิศทางของลม |
annalist | (n) ผู้บันทึกเหตุการณ์ประจำปี |
annals | (n) จดหมายเหตุ, See also: ข้อความที่บันทึกไว้, บันทึก, ประวัติการณ์, Syn. history, historical records, historical chronicles |
annals | (n) บันทึกเหตุการณ์ประจำปี |
apocalypse | (n) บันทึกทางศาสนาของยิวหรือคริสเตียน (ระหว่างช่วง 200 ปี ก่อนคริสตศักราชถึงปีคริสตศักราชที่ 300) |
assume | (vt) ทึกทักเอา, See also: คิดว่าเป็นจริง, Syn. suppose, presume, presuppose |
audiotape | (n) แถบบันทึกเสียง |
babel | (n) เสียงคุยจ้อกแจ้กจอแจ, See also: เสียงคุยกันอึกทึก, Syn. noise, racket |
back | (vt) เขียนสลักหลัง, See also: สลักหลัง เช็ค, เขียนบันทึกกำกับ |
ballyhoo | (n) การทำเสียงเอะอะ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การส่งเสียงอึกทึก, Syn. advertise, advertisement, propaganda |
bear garden | (n) สถานที่มีแต่เสียงอึกทึกครึกโครม |
boisterous | (adj) เอะอะ, See also: พลุกพล่าน, อึกทึก, ครืนครั่น, ตูมตาม, ปึงปัง, เอ็ดอึง, พล่าน, เอิกเกริก, แซด, อึง, Syn. noisy, rowdy, Ant. docile |
boisterousness | (n) ความอึกทึก, See also: เสียงดัง, Syn. vitality |
book | (vt) บันทึกข้อหา, See also: เขียนใบสั่ง, Syn. charge, record |
brattle | (n) เสียงอึกทึก, See also: เสียงโครมคราม, Syn. rattle |
brattle | (vt) ทำให้เกิดเสียงอึกทึก, Syn. rattle |
bustling | (adj) อึกทึกครึกโครม |
bang about | (phrv) ทำเสียงอึกทึก, See also: ทำเสียงโครมคราม, ทำเสียงตึงตัง |
bang around | (phrv) ทำเสียงโครมคราม, See also: ทำเสียงอึกทึก, ทำเสียงตึงตัง, Syn. bang about |
be down | (phrv) จดบันทึก, See also: เขียนบันทึก, จด, Syn. write down |
be down as | (phrv) ได้รับการบันทึกว่าเป็นหรือทำบางสิ่ง, Syn. put down as |
bring someone to book | (idm) ต้องลงบันทึก, See also: ต้องลงบัญชีไว้ |
card | (vt) บันทึกคะแนน (ในสกอร์การ์ดในกีฬากอล์ฟ), See also: จดแต้ม |
case history | (n) ประวัติบันทึก (ของผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับความลำบากในสังคม), Syn. record |
catalog | (vt) บันทึกในบัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue, record |
catalog | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, Syn. catalogue |
catalogue | (vt) บันทึกในบัญชีรายชื่อ, Syn. catalog, record |
catalogue | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, See also: แค็ตตาล็อก, Syn. catalog |
charge | (vt) ลงบันทึกการยืม, See also: ลงบันทึกการยืมหนังสือ จากห้องสมุด |
chronicle | (vt) บันทึกเหตุการณ์, See also: บันทึกเรื่องราวมตามลำดับเวลา |
clock | (n) เครื่องบันทึกเวลา (เช่น ในรถแท็กซี่), Syn. time clock |
combustion | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความสับสนอลหม่าน, ความอึกทึกครึกโครม, ความโกลาหล, Syn. tumult, turmoil, disturbance |
chalk up | (phrv) บันทึก, See also: จดไว้, ลงบัญชี, Syn. charge against, charge down, charge to, mark up, put down |
chalk up | (phrv) บันทึก (บางสิ่ง) เป็นความสำเร็จ, See also: จดบันทึก, จดจำไว้ |
charge against | (phrv) ลงบัญชี, See also: บันทึกเข้า, จดเอาไว้, Syn. chalk up |
charge down | (phrv) ลงบัญชี (หนี้สิน), See also: บันทึกเข้า, จดเอาไว้, Syn. chalk up |
charge to | (phrv) ลงบัญชี, See also: บันทึกเข้า, จดเอาไว้, Syn. chalk up |
clock up | (phrv) บันทึกระยะทาง (เช่น รถยนต์), Syn. log up |
clock up | (phrv) บันทึก (ความสำเร็จ), See also: บันทึกไว้ ความสำเร็จ, จดบันทึก ความสำเร็จ, Syn. chalk up, log up, notch up |
din in | (phrv) ส่งเสียงอึกทึก (มักใช้รูป continuous tense), See also: ส่งเสียงดัง, Syn. dim down |
din into | (phrv) ส่งเสียงอึกทึก (มักใช้รูป continuous tense), See also: ส่งเสียงดัง, Syn. dim down, din in |
enrol for | (phrv) บันทึก, See also: ลงทะเบียน |
enter in | (phrv) บันทึกใน, See also: เขียนใน, Syn. enter into, enter up |
enter into | (phrv) เขียนลงใน, See also: บันทึกใน |
enter up | (phrv) บันทึกใน, See also: เขียนใน, Syn. enter in, enter into |
* | เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ |
a & r | abbr. artists and repertory (เกี่ยวกับอาชีพการคัดเลือกสรรหานักดนตรี เพื่อบันทึกเสียงหรือภาพ) |
a: | A: Drive A ไดรฟ์เอ หมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกหน่วยแรกของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะเข้าไปดูในหน่วยนี้ก่อน หากไม่พบสิ่งใด ๆ จึงจะย้ายไปดูหน่วยบันทึกอื่นต่อไป หน่วยที่สองจะนิยมเรียกกันว่า B: และหน่วยจานบันทึกแข็งหรือฮาร์ดดิสก์ มักจะถูกกำหนดให้เป็น C: (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังเสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก) |
accelerograph | (แอคเซล' เลอโรกราฟ) n. เครื่องเร่งบันทึกอัตโนมัติ |
access arm | ก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง |
access mechanism | กลไกการเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง กลไกของอุปกรณ์ที่ใช้รองรับ และเคลื่อนย้ายก้านเข้าถึง (access arm) ของหน่วยจานบันทึก (disk drive) ไปบนพื้นผิวของจาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงจานบันทึก |
access time | ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ |
acoustic | (อะคู' สทิค) adj. เกี่ยวกับการฟัง, เกี่ยวกับการควบคุมเสียง, ซึ่งใช้บันทึกคลื่นเสียง |
actinograph | (แอคทิน' โนกราฟ) n. บันทึกจากเครื่อง actinometer. -actinographic adj., -actinography n. |
aerograph | (แอ' โรกราฟ) n. บันทึกอุตุวิทยา |
agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable |
agrapha | (แอก' ราฟา) n. คำสอนของพระเยซูคริสต์ที่บันทึกโดยชาวคริสเตียนใน New Testament เล่มอื่นที่ไม่ใช่ Gospels |
ahistoric | (al) (อะฮิสทอ' ริค -คัล) adj. ไม่มีการบันทึกเป็นประวัติศาสตร์ (indifferent to tradition) |
air log | เครื่องบันทึกระยะทางที่บินของเครื่องบิน |
alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
anemograph | (อะเนม' โมกราฟ) n. เครื่องวัดที่บันทึกอัตราความเร็วของลม -anemographic adj. (a recording aanemometer) |
anna | (แอน' นะ) n. บันทึกหนึ่ง (โดยเฉพาะเหตุการณ์ประจำปี) ของ annals (a record) |
annalist | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events) |
annals | (แอน' นัลซฺ) บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events) |
apocalypse | (อะพอด'คะลิพซ) n. บันทึกทางศาสนาของยิวหรือคริสเตียนพบระหว่างปี 200 B.C.A.D. 350 การค้นพบ, การเปิดเผย. -apocalyptic (al) adj. (revelation; discovery) |
arc | (อาร์ค) 1. n. ส่วนโค้ง, ความโค้ง, สะพานเรืองแสงที่อยู่ระหว่างปลายหรือ conductors ทั้งสอง, สิ่งที่มีรูปคล้ายคันศร -S...curve, arch, bend 2. เป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการหลอมรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แฟ้มเข้าเป็นแฟ้มเดียวกัน เพื่อให้ใช้เนื้อที่ในการเก็บน้อยลง โปรแกรมนี้เคยได้รับความนิยมอย่างสูงมาก่อน ต่อมาความนิยมได้ลดลงเพราะมีโปรแกรมใหม่กว่า มีผู้นิยมใช้มากกว่า มีชื่อเรียกว่า ZIP โปรแกรมประเภทนี้จะสามารถอัด (compress) ข้อมูลจำนวนมาก ๆ ให้เก็บได้ในเนื้อที่น้อย ๆ เช่นในจานบันทึก (floppy disk) แต่เมื่อจะใช้ จะต้องนำมาขยายเป็นขนาดปกติก่อน เรียกว่า decompress (ดู compress) |
archives | (อาร์'ไคว'ซ) n., pl. เอกสารหรือบันทึกสำคัญห้องเก็บเอกสารหรือบันทึกสำคัญ. -archival adj., Syn. annal, record, chronicle |
archivist | (อาร์'คะวิสทฺ) n. ผู้เก็บและดูแลเอกสารหรือบันทึกสำคัญ |
asterisk | (แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ |
audiometer | (ออดีออม'มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดและบันทึกความสามารถในการฟัง (sonometer) |
audiometry | (ออดิออม'มิรี) n. การวัดและบันทึกความสามารถในการฟัง -audiometric, adj. |
audiotape | (ออ'ดีโอเทพ) n. เทปบันทึกเสียง |
auxiliary equipment | บริภัณฑ์ช่วย <คำแปล>อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลของคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องอ่านบัตร (card reader) , หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) เป็นต้น |
auxiliary memory | หน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
auxiliary storage | หน่วยเก็บช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำหรือหน่วยเก็บที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีความหมายเหมือน auxiliary memory |
backing store | หน่วยเก็บหนุนหน่วยเก็บข้อมูล ที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บหนุนนี้แทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยเก็บความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backup storage |
backslash | \ (อักขระ) <เครื่องหมาย>หมายถึงสัญลักษณ์ \ เครื่องหมายนี้ดูเผิน ๆ คล้ายกับ / (slash) แต่กลับทิศทางกัน บางคนคิดว่าเหมือนกัน แต่ความหมายจะแตกต่างกันมาก ในระบบดอส สัญลักษณ์นี้ใช้แยกระหว่างชื่อสารบบ (directory) กับชื่อแฟ้มข้อมูล (file) เช่น DIR C:\Taksina\June.xlsคำสั่งข้างบนนี้เป็นคำสั่งให้แสดงแฟ้มข้อมูลชื่อ June.xls ซึ่งอยู่ภายใต้สารบบชื่อ Taksina และเก็บอยู่ในหน่วยบันทึก C: |
backup storage | หน่วยเก็บสำรอง <คำแปล>หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store |
bad sectors | ส่วนวงเสียหมายถึงส่วนวงในร่องที่ใช้บันทึกข้อมูลบนแผ่นจานบันทึกเสีย ทำให้ไม่สามารถอ่านข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงไปเก็บได้ คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อความนี้บนจอภาพเมื่อสั่งให้อ่านหรือบันทึกข้อมูล แล้วไม่สามารถทำได้ เพราะเกิดกรณีนี้ขึ้น |
bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น |
begin of tape | จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
bernouilli box | กล่องเบอร์นิวลีหมายถึง ระบบการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ไว้ในแถบบันทึกคาร์ทริดจ์ (cartridge) แถบบันทึกชนิดนี้ทำไว้ให้ถอดเก็บได้สะดวก นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสที่ ชื่อเบอร์นิวลี (Bernouilli) เป็นผู้คิดทำและ เป็นผู้คิดทฤษฎีเกี่ยวกับพลังการหมุนของแถบบันทึกชนิดนี้ |
bios | (ไบออส) ย่อมาจาก Basic Input/Output System เป็นชื่อโปรแกรมชุดหนึ่งซึ่ง จะควบคมการทำงานของคอมพิวเตอร์ในส่วนที่เกี่ยวกับการนำข้อมูลเข้าไปเก็บและการแสดงผล (หน่วยบันทึก แผงแป้นอักขระ จอภาพฯ) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บไบออสนี้ไว้ในชิปตัวหนึ่งที่สร้างมาให้อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (built in) หรือที่เรียกว่า "รอม" (ROM) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะอ่านคำสั่งในไบออสก่อนเสมอ |
bits per inch | บิตต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก โดยวัดว่า แถบบันทึก 1 นิ้วจะเก็บตัวอักขระได้กี่บิต |
blackbox | กล่องไม่ติดไฟของเครื่องบิน/ใช้บันทึกการปฏิบัติการบินตลอดเวลา, Syn. flight recorder |
blank disk | จานบันทึกเปล่าหมายถึง จานบันทึกที่ไม่มีข้อมูลเก็บ หรือข้อมูลถูกลบออกไปหมด |
blank tape | แถบเปล่าหมายถึง แถบบันทึกที่ไม่มีข้อมูลเก็บ หรือข้อมูลถูกลบออกไปหมด |
blast | (บลาสทฺ) { blasted, blasting, blasts } n. การระเบิด, การเป่าแตร, การเป่านกหวีด, เสียงระเบิด, เสียงอึกกระทึก, ลมแรงจัด, ลมอัดเข้าไปในเตา, คลื่นกระทบ, ความเร็วสุดขีด, กำลังสุดขีด vt. ทำให้เกิดเสียงดังมาก, เป่าแตร, ทำให้เหี่ยว, ทำลาย, ระเบิด, ส่งลมเข้าไป, โจมตี, วิจารณ์อย่างเผ็ |
blocking factor | จำนวนระเบียนต่อกลุ่มหมายถึง จำนวนระเบียนในหนึ่งบล็อก (block) ในการบันทึกข้อมูลลงแถบบันทึก (tape) นั้น จะบันทึก 1 ระเบียน (record) ต่อ 1 บล็อก หรือหลายระเบียนต่อ 1 บล็อกก็ได้ดู block ประกอบ |
blotter | n. กระดาษซับ, บันทึกประจำวันของตำรวจ |
boisterous | (บอย'สเทอเริส) adj. หยาบ, หนวกหู, อึกทึก, พล่าน, เอะอะ, See also: boisterousness n. ดูboisterous, Syn. rowdy, Ant. restrained |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
boot | (บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot" |
boot sector | ส่วนวงปลุกเครื่องหมายถึง ส่วนของแผ่นจานบันทึกที่เก็บคำสั่งที่ใช้ในการปลุกเครื่อง ถ้าส่วนนี้เสีย (อ่านไม่ได้) คอมพิวเตอร์ก็จะไม่ทำงานเลยตั้งแต่ต้น |
bot | 1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
almanac | (n) ปูม, ปฏิทินบันทึกเหตุการณ์, ปฏิทินประจำปี |
annalist | (n) ผู้บันทึกเหตุการณ์ประจำปี |
annals | (n) สมุดบันทึกเหตุการณ์ประจำปี, หนังสือประจำปี |
annotate | (vt) บันทึกหมายเหตุ, ทำหมายเหตุประกอบ, อธิบาย |
archives | (n) เอกสารสำคัญ, บันทึกสำคัญ, ห้องเก็บเอกสาร |
arrogate | (vt) ยึดครอง, ถือสิทธิ์, แอบอ้างสิทธิ์, เหมาเอาว่า, ทึกทัก |
assume | (vt) สมมุติ, สันนิษฐาน, ทึกทัก |
assumption | (n) การสมมุติ, การสันนิษฐาน, การทึกทัก |
babble | (n) การพูดพล่อย, การพูดพล่าม, การพูดจ้อ, เสียงอึกทึก |
bawl | (n) เสียงอึกทึก, เสียงตะโกน, เสียงตวาด |
bawl | (vi) ส่งเสียงอึกทึก, ตะโกน, ตะคอก, ตวาด |
blast | (n) เสียงระเบิด, การระเบิด, ลมกรรโชก, เสียงอึกทึก |
blatant | (adj) อึกทึกครึกโครม, ดัง, โอ่อ่า, โอ้อวด |
blotter | (n) กระดาษซับหมึก, สมุดบันทึกเหตุการณ์ |
boisterous | (adj) อึกทึก, หนวกหู, เอะอะ, หยาบ |
book | (vt) จองล่วงหน้า, สำรองที่นั่ง, ลงบัญชี, ลงชื่อ, ลงรายการ, ลงบันทึก |
bumf | (n) หนังสือราชการ, กระดาษบันทึก |
chronicle | (n) บันทึกเหตุการณ์, รายงานเหตุการณ์, จดหมายเหตุ |
chronicle | (vt) บันทึกเหตุการณ์ |
chronicler | (n) ผู้บันทึกเหตุการณ์, นักประวัติศาสตร์ |
clamour | (n) เสียงโห่ร้อง, เสียงเอ็ดตะโร, เสียงอึกทึกครึกโครม |
diary | (n) อนุทิน, สมุดบันทึกประจำวัน, สมุดไดอารี |
din | (n) เสียงอึกทึกครึกโครม, เสียงเจี๊ยวจ๊าว |
din | (vi) ส่งเสียงอึกทึกครึกโครม, ส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว |
enroll | (vt) ลงทะเบียน, ลงชื่อ, จดทะเบียน, บันทึก |
entry | (n) ทางเข้า, การเข้า, การลงทะเบียน, การจดบันทึก |
epilogue | (n) บทส่งท้าย, คำส่งท้าย, ปัจฉิมกถา, บันทึกท้ายเล่ม |
hubbub | (n) เสียงจ้อกแจ้ก, เสียงขรม, เสียงระงม, เสียงอึกทึก |
jot | (vi) จดลง, บันทึก, เขียนย่อๆ |
journal | (n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร |
journalist | (n) นักหนังสือพิมพ์, นักข่าว, ผู้บันทึก |
loud | (adj) ดัง, กึกก้อง, จุ้นจ้าน, อึกทึก |
mark | (vt) ทำเครื่องหมาย, สังเกต, เพ่งเล็ง, บันทึก |
memoir | (n) ประวัติ, บันทึกความจริง, ชีวประวัติ |
memorandum | (n) บันทึกเหตุการณ์, หนังสือบริคณห์สนธิ, บันทึกความทรงจำ, จดหมายเหตุ |
noise | (n) เสียงรบกวน, เสียงอึกทึก, เสียงดัง |
notation | (n) หมายเหตุ, คำอธิบาย, เครื่องหมาย, การบันทึก, เอกสาร, จดหมาย |
note | (vt) บันทึก, สังเกต, จด, ใส่เครื่องหมาย, ทำหมายเหตุ |
notebook | (n) สมุดบันทึกข้อความ |
obstreperous | (adj) ดัง, เอะอะ, โวยวาย, อึกทึกครึกโครม |
OLD old maid | (n) สาวแก่, สาวทึนทึก |
outcry | (n) เสียงเอะอะโวยวาย, เสียงอึกทึก |
pother | (n) ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม |
pother | (vi) ยุ่งเหยิง, โกลาหล, อึกทึกครึกโครม |
presume | (vi) สันนิษฐาน, ทึกทักเอาเอง, เชื่อเอาว่า, กล้า, ถือสิทธิ์ |
presumption | (n) การสมมุติเอาว่า, ความทะลึ่ง, การทึกทักเอา, การถือสิทธิ์ |
presumptive | (adj) ซึ่งสมมุติเอาว่า, ซึ่งเชื่อเอาว่า, ซึ่งเข้าใจว่า, ซึ่งทึกทักเอาเองยร |
racket | (n) ความสนุกสนาน, เสียงดัง, เสียงอึกทึกครึกโครม |
record | (n) ประวัติการณ์, บันทึก, จานเสียง, สำนวน, ประวัติอาชญากรรม |
record | (vt) ลงบันทึก, ทำบันทึก, จดบันทึก |
affidavit | (n) บันทึกคำให้การ |
archival copy | สำเนาบันทึกเอกสารสำคัญ |
Benesh Notation | [เบเนช โนเทชั่น] (n) ระบบการจดบันทึกการเคลื่อนไหวของร่างกาย ที่ใช้สำหรับการเต้นบัลเลต์ เป็นระบบที่นิยมและแพร่หลายสำหรับผู้ที่เรียนศิลปะการเต้นบัลเลต์ มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับระบบของลาบาน (Labanotation) แต่จะนิยมใช้ระบบเบเนชในการจดบันทึกท่าเต้นรำของบัลเลต์มากกว่า, See also: Labanotation, Syn. Dance Notation |
bratty | (adj) เด็กที่ชอลทำเสียงอึกทึก, เสียงอึกทึก |
compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน |
Dysrhythmia | จังหวะที่ผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง : จังหวะที่ผิดปกติซึ่งจัดแสดงในบันทึกกิจกรรมทางไฟฟ้าของสมองหรือหัวใจ |
encode | (vt) Accounting. ทำการบันทึก บันทึกข้อมูล, See also: Save, Record, Syn. Record |
global positioning system | (n) GPS (global positioning system) จีพีเอส (ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูลตำแหน่งโลก คือ จีพีเอส ที่ทำให้เราทราบค่าตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของโลก โดยใช้อุปกรณ์รับสัญญาณคือ อุปกรณ์จีพีเอส ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนโลก มีอยู่สามค่ายคือ 1. NAVSTAR เป็นของประเทศอเมริกา 2. GLONASS เป็นของประเทศรัสเซีย 3. GALILEO เป็นของยุโรป แต่ที่เราใช้สัญญาณในปัจจุบันด้วย จีพีเอสที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดนั้นใช้ของ NAVSTAR แต่เรานิยมเรียกของค่ายนี้ว่า ดาวเทียมจีพีเอส |
Labanotation | [ลาบานโนเทชั่น] (n) ระบบการจดบันทึกการเคลื่อนไหวของร่างด้วยสัญลักษณ์ รู้จักในนาม "โน้ตนาฏศิลป์ระบบลาบาน" โดยเป็นระบบที่รู้จักและแพร่หลายทั่วโลกว่ามีคุณสมบัติในการบันทึกท่าเต้นรำได้ละเอียดลออที่สุด เป็นระบบที่คิดค้นโดย Rudolf Laban ชาวฮังกาเรียน |
logbook | สมุดปูมเรือ เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ และรายละเอียดต่าง ๆ ในการเดินเรือไว้ ตามลำดับเวลา |
mou | (phrase, abbrev) Memorandum Of Understand - ขอทำบันทึกความเข้าใจ |
pneumograph | (n) อุปกรณ์บันทึกกำลังแรงความเร็วของการขยับหน้าอกระหว่างการหายใจเข้า-ออกรัดรอบหน้าอก |
SASD | (jargon, slang) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบเรียงลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงโดยตรงได้ เช่น สายเทปบันทึกเสียง |
tally | บันทึก |
Testament { n } | sein Testament machen | (n) พินัยกรรม, ความประสงค์ครั้งสุดท้าย, บันทึกการยกมรดก |
Unless otherwise endorsed | (phrase, colloq, passport) นอกจากจะเขียนบันทึกไว้เป็นอย่างอื่น (ปรากฎในหน้าหนังสือเดินทาง) |
voice over | [วอยซ์ โอเวอร์] (n) การบันกทึกเสียง, การพากย์เสียง ในหนังภาพยนตร์เป็นต้น |
voice over | [วอยซ์ โอเวอร์] (n) การบันทึกเสียง, การพากย์เสียง ในหนังภาพยนตร์เป็นต้น |
กระดาษทด | [gra-dad-tode] (n) กระดาษที่ไม่ใช้แล้ว และยังเหลือพื้นที่ขีดเขียนว่างพอที่จะเขียน หรือบันทึกอะไรลงไปได้ |