ถาวร | (adj) permanent, See also: lasting, enduring, Syn. คงทน, ยั่งยืน, มั่นคง, Example: ประเทศผู้ค้าอาวุธรายใหญ่ของโลกอีก 4 ประเทศซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะพร้อมใจกันลดการส่งออกอาวุธธรรมดาๆ, Thai Definition: เป็นเช่นนั้นตลอดไป |
ถาวร | (v) be permanent, See also: be lasting, be enduring, Syn. คงทน, ยั่งยืน, มั่นคง, Example: การเปลี่ยนแปลงเพราะฤทธิ์ยา เราก็ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ถาวร, Thai Definition: เป็นเช่นนั้นตลอดไป |
ถาวร | (adv) permanently, See also: for good, Syn. คงทน, ยั่งยืน, มั่นคง, Example: หน่วยความจำในลักษณะนี้จะถูกเก็บไว้อย่างถาวร, Thai Definition: เป็นเช่นนั้นตลอดไป |
ฟันถาวร | (n) tooth, Syn. ฟันแท้, Example: เมื่ออายุ 6 ปี จะมีฟันถาวรซี่แรกปรากฏขึ้น คือ ฟันกราม, Count Unit: ซี่, แถว, ชุด, Thai Definition: ฟันชุดที่ 2 ซึ่งขึ้นภายหลังฟันน้ำนม |
คงทนถาวร | (adj) durable, See also: strong, enduring, permanent, Syn. ทนทาน, ทน, Example: ปูนเป็นวัสดุคงทนถาวร ไม่เสื่อมสลายง่าย |
ถาวรวัตถุ | (n) permanent structure, See also: architecture, permanent thing, article or building which is permanent, durable and indestr, Example: งานการกุศลครั้งนั้นจัดขึ้นเพื่อหาเงินสร้างถาวรวัตถุในพระศาสนา, Count Unit: ชนิด, ประเภท, อย่าง, Thai Definition: สิ่งที่ก่อสร้างเพื่อให้มั่นคง ยั่งยืน, Notes: (บาลี) |
อย่างถาวร | (adv) permanently, See also: stably, enduringly, constantly, Syn. อย่างคงทน, อย่างยั่งยืน, Ant. ชั่วคราว, Example: คนที่ขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง จะทำให้สมองและเส้นประสาทสูญเสียหน้าที่อย่างถาวร |
มั่นคงถาวร | (adv) permanently, See also: constantly, enduringly, Syn. คงทนถาวร, Ant. ชั่วครั้งชั่วคราว, Example: พระสงฆ์ ทำพิธีสวดเบิกพระธาตุ เพื่อขอให้พระธาตุดำรงอยู่อย่างมั่นคงถาวร, Thai Definition: อย่างอยู่ได้นาน |
มั่นคงถาวร | (v) last, See also: be permanent, be constant, Syn. คงทนถาวร, Ant. ชั่วครั้งชั่วคราว, Thai Definition: อยู่ได้นาน |
ถาวร, ถาวร- | (-วอน, -วอระ-) ว. มั่นคง, ยั่งยืน, คงทน. |
ถาวรวัตถุ | (ถาวอระวัดถุ, ถาวอนวัดถุ) น. สิ่งที่ก่อสร้างเพื่อให้มั่นคงยั่งยืน เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ ปราสาท พระราชวัง. |
ถาวรธิรา | น. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง บังคับให้มีคำที่ใช้ไม้ม้วนทุกวรรค ไม่ให้มีคำที่ใช้ไม้มลาย เช่น จักกล่าวถึงมเหษีที่อยู่ใน อรัญใหญ่องค์เดียวอนาถา อนาถใจถึงองค์พระภัศดา ให้โศกาถึงบุตรสุดอาวรณ์ (ศิริวิบุลกิตติ์). |
ฟันถาวร, ฟันแท้ | น. ฟันชุดที่ ๒ ซึ่งขึ้นภายหลังฟันนํ้านม. |
สถาพร, สถาวร | (สะถาพอน, -วอน) ว. ยืนยง, มั่นคง, เช่น ขอให้มีความสุขสถาพร สถิตสถาพร. |
แก่นสาร | น. สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ, คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร. |
คงทน | ว. ยั่งยืน, ถาวร, ทนทาน. |
คำสั่งทางปกครอง | น. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ. |
นวนิยาย | น. บันเทิงคดีร้อยแก้วขนาดยาวรูปแบบหนึ่ง มีตัวละคร โครงเรื่อง เหตุการณ์ในเรื่อง และสถานที่ ที่ทำให้เนื้อเรื่องมีความสมจริง เช่น เรื่องหญิงคนชั่ว ของ ก. สุรางคนางค์ เรื่องเรือมนุษย์ ของ กฤษณา อโศกสิน, ถ้ามีขนาดสั้น เรียกว่า นวนิยายขนาดสั้น เช่น เรื่องดรรชนีนาง ของ อิงอร เรื่องสร้อยทอง ของ นิมิต ภูมิถาวร. |
ประตูชัย | น. ประตูที่มีลักษณะเป็นซุ้ม อาจสร้างเป็นการถาวรหรือชั่วคราว สำหรับผู้ชนะสงครามจะเดินลอดในพิธีเพื่อประกาศชัยชนะ. |
ปอย ๒ | น. งานพิธีต่าง ๆ, ถ้างานใหญ่ เช่นประเพณีฉลองการสร้างถาวรวัตถุของวัด เรียกว่า ปอยหลวง, ถ้างานเล็ก เช่นงานบวช เรียกว่า ปอยน้อย. |
เผนธรรม | ไม่ถาวร. |
พลาสติก | น. สารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฟิล์ม ภาชนะ ส่วนประกอบเรือหรือรถยนต์. |
เพิง | น. สิ่งปลูกสร้างมีทั้งชนิดชั่วคราวขนาดเล็ก และชนิดถาวร ประกอบด้วยหลังคาปีกเดียว, ถ้าเอียงลาด เรียกว่า เพิงหมาแหงน, ถ้ามีแขนนางคํ้าตอนหน้า เรียกว่า เพิงแขนนาง, ถ้าปลายข้างหนึ่งพิงอยู่กับสิ่งก่อสร้างหลัก เรียกว่า เพิงพะ หรือ พะเพิง, ส่วนเพิงพะที่ใช้เป็นที่พักทหาร เรียกว่า เพิงพล. |
วันรัฐธรรมนูญ | น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. |
วัยหมดระดู | น. วัยของหญิงเมื่อหมดประจำเดือนอย่างถาวร โดยประมาณเริ่มตั้งแต่อายุ ๔๕ ปีขึ้นไป. |
ศูนย์ชุมชน | น. หน่วยงานถาวรที่เป็นศูนย์กลางในการวางแผนปฏิบัติงานและประสานงานบริการของหน่วยราชการและองค์การต่าง ๆ โดยประชาชนในท้องถิ่นนั้นจะเลือกคณะกรรมการขึ้นทำหน้าที่กำหนดนโยบายและบริหารงาน. |
ศูนยวาท | น. ปรัชญาฝ่ายมหายานที่ถือว่า (๑) โลกเป็นศูนยะ คือ ไม่ใช่สิ่งจริงแท้ถาวร (๒) นิพพานก็เป็นศูนยะ คือ ไม่มีวาทะหรือลัทธิใด ๆ สามารถบรรยายได้ถูกต้องครบถ้วน, มาธยมิกะ ก็เรียก. |
สัสต- | (สัดสะตะ-) ว. เที่ยง, แน่นอน, คงที่, ถาวร. |
สุญนิยม | ลัทธิที่ถือว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่อย่างเที่ยงแท้ถาวร |
อสังหาริมทรัพย์ | ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย, คู่กับ สังหาริมทรัพย์. |
อาตมัน | น. อัตตาหรือดวงวิญญาณ ซึ่งศาสนาและปรัชญาฮินดูถือว่าเที่ยงแท้ถาวร. |
permanent sterility | การเป็นหมันถาวร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
permanent virtual circuit (PVC) | วงจรเสมือนถาวร (พีวีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent fixture | สิ่งติดตรึงถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent health insurance | การประกันสุขภาพแบบถาวร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent infertility | ภาวะไม่เจริญพันธุ์ถาวร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
permanent registration | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
permanent resident | ผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวร, ผู้อยู่ประจำถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
permanent revolution | การปฏิวัติถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
PVC (permanent virtual circuit) | พีวีซี (วงจรเสมือนถาวร) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent abode | ถิ่นที่อยู่ถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent appointment | การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
permanent appropriation | งบจัดสรรถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
permanent backing | แผ่นรองเชื่อมถาวร [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
permanent backing ring | แหวนรองเชื่อมถาวร [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
permanent disability | ความพิการถาวร, ทุพพลภาพถาวร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
permanent disability | ทุพพลภาพถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent disablement | ทุพพลภาพถาวร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permanent | ถาวร, ตลอดไป, ไม่มีกำหนดเวลา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
registration, permanent | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
assets, fixed | สินทรัพย์ถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
appointment, permanent | การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
appropriation, permanent | งบจัดสรรถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
archive | หน่วยเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
archive | หน่วยเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
archived file | แฟ้มเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
archived file | แฟ้มเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
archiving | การเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
archiving | การเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chemical remanent magnetisation | การเป็นแม่เหล็กถาวรเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
fixed assets | สินทรัพย์ถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
hard copy; hardcopy | ๑. สำเนาถาวร, ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [ มีความหมายเหมือนกับ printout ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hardcopy; hard copy | ๑. สำเนาถาวร, ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [ มีความหมายเหมือนกับ printout ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
hard | ๑. แข็ง๒. ถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hard copy; hardcopy | ๑. สำเนาถาวร, ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [ มีความหมายเหมือนกับ printout ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hard copy; hardcopy | ๑. สำเนาถาวร, ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [ มีความหมายเหมือนกับ printout ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
hard font | ชุดแบบอักษรถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Open Archives Initiative | โครงการริเริ่มคลังสาระถาวรด้วยเทคโนโลยีแบบเปิด, Example: Open Archives Initiative (OAI) เป็นองค์กรที่จัดตั้งและได้การสนับสนุนจาก Andrew W. Mellon Foundation, the Coalition for Networked Information, the Digital Library Federation, และจาก National Science Foundation <p> <p>OAI พัฒนามาตรฐานและส่งเสริมการใช้มาตรฐานสำหรับการทำงานเครือข่ายข้อมูลต่างระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้การเผยแพร่เนื้อหาความรู้เป็นไปได้ง่ายและสะดวก OAI เสนอกลไกสำหรับเจ้าของสารสนเทศให้เปิดเผยเมทาดาทาที่ใช้ เพื่อให้ระบบสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นและเข้าถึงข้อมูลหรือเอกสารได้ <p>ผลงานหลักของ OAI คือ กรอบทำงานในการเก็บเกี่ยวเมทาดาทาจากแหล่งสารสนเทศ (repository) หลายๆ แหล่งและโปรโตคอลที่ใช้ในการเก็บเกี่ยวที่รู้จักกันในนาม OAI Protocol for Metadata Harvesting (OAI-PMH) <p>OAI-PMH จึงเป็นการหาข้อมูลทั้งหมด จากนั้นจึงแปลเมทาดาทาของเดิม (Native metadata) ไปเป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้กันโดยทั่วไป และนำออกเพื่อการเก็บเกี่ยว (Harvesting) ตัวให้บริการคำค้นจะรวบรวมเมทาดาทาเข้าไปเก็บไว้ในดรรชนีส่วนกลาง (คลังเก็บคำค้นส่วนกลาง) เพื่อให้มีการสืบค้นข้ามแหล่งเก็บนี้ได้ ดังรูป <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120829-OAI-PMH.jpg" width="540" higth="100" alt="OAI-PMH"> <p> <p>รายการอ้างอิง <p>Open Archives Initiative. http://www.openarchives.org/OAI/OAI-organization.php. Accessed 29-08-2012. <p>Rajashekar, T.B. IS 206 - Information and Knowledge Organization. http://www.ncsi.iisc.ernet.in/raja/is206/topic-14.htm. Accessed: 29-08-2012 <p>Rajashekar, T.B. Metadata and Interoperability. 2003. http://www.ncsi.iisc.ernet.in/raja/is206/raja-interoperability.ppt. Accessed. 29-08-2012 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Vertical file | ตู้เก็บเอกสารที่เก็บจุลสาร กฤตภาค แผนที่ เอกสารพับ ที่มีลักษณะไม่คงทนถาวร, ตู้จุลสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
พระเมรุพิมาน | อาคารถาวรที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งตั้งพระบรมศพ หรือพระศพเวลาถวายพระเพลิงอัญเชิญพระบรมศพหรือพระศพจากพระเมรุพิมานไปถวายพระเพลิงที่พระเมรุ (ขนาดน้อย) อีกแห่งใกล้ ๆ หรือไม่ไกลกันมาก [ศัพท์พระราชพิธี] |
Permanent magnet motor | มอเตอร์แม่เหล็กถาวร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Unsealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เช่น วัสดุกัมมันตรังสีไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะหรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจาย หกเปรอะเปื้อน ซึมรั่ว ออกจากภาชนะที่บรรจุได้ [นิวเคลียร์] |
Sealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งปิดผนึกอย่างถาวรในปลอกหุ้ม หรือห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตภาพรังสีในสภาวะการใช้งานปกติ รวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ [นิวเคลียร์] |
Interim storage | การเก็บรักษาเฉพาะกาล, การเก็บรักษาเชื้อเพลิงใช้แล้วหรือกากกัมมันตรังสีในสถานที่เก็บชั่วคราวก่อนที่จะนำไปดำเนินการหรือเก็บรักษาในสถานที่เก็บถาวรต่อไป <br> (ดู storage, waste และ disposal, waste ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Dental restoration | การบูรณะฟันถาวร [TU Subject Heading] |
Denture | การใส่ฟันเทียมบางส่วนถาวร [TU Subject Heading] |
Permanent | การบูรณะฟันถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Temporary | การบูรณะฟันถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Partial | การใส่ฟันเทียมบางส่วนถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Fixed | การใส่ฟันเทียมบางส่วนถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Peritoneal dialysis, Continuous ambulatory | ไดอะลัยซิสเยื่อบุช่องท้องแบบถาวร [TU Subject Heading] |
Permaculture | เกษตรกรรมถาวร [TU Subject Heading] |
Holoplankton | แพลงก์ตอนถาวร, Example: แพลงก์ตอนพืชและสัตว์ที่ดำรงชีวิตเป็น แพลงก์ตอนตลอดชีพ นับตั้งแต่เกิดเป็นตัวจนถึงระยะโตเต็มที่ เช่น ไดอะตอม สาหร่าย กุ้งเคย หวีวุ้น เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
Celibacy | การครองโสดถาวร, Example: บุคคลที่ยังไม่เคยสมรสคำที่มีความหมายเหมือน กัน คือสถานภาพโสด (single) (11) หมวดประชากร เศรษฐกิจ และสังคม [สิ่งแวดล้อม] |
Permanent Hardness | ความกระด้างถาวร, Example: ความกระด้างของน้ำ ซึ่งไม่อาจกำจัดได้ด้วยการต้ม [สิ่งแวดล้อม] |
Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary Permanent Representative of Thailand to the United Nations | เอกอัครราชทูต ผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำองค์การสหประชาชาติ (ณ นครนิวยอร์ก/นครเจนีวา) [การทูต] |
Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Committee of Permanent Representatives | คณะกรรมการในกรอบสหภาพยุโรป ประกอบด้วยผู้แทนถาวรประจำสหภาพยุโรปของประเทศสมาชิก [การทูต] |
Committee of Permanent Representatives to ASEAN | คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำอาเซียน ประกอบด้วยผู้แทนถาวร (ระดับเอกอัครราชทูต) ประจำอาเซียนของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับสำนัก เลขาธิการอาเซียนสนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนรวมทั้งองค์กร ระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาต่าง ๆ [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] |
Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Organization of American States | องค์กรรัฐอเมริกัน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2491 เป็นองค์กรความร่วมมือในทวีปอเมริกาและ แคริบเบียน ซึ่งเป็นองค์กรหลักด้านการเมืองในทวีปอเมริกา และในปัจจุบันได้ขยายบทบาทเน้นหนักความร่วมมือเพื่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการร่วมมือป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและคอรัปชั่น ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประเทศผู้สังเกตการณ์ 45 ประเทศ โดยประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ถาวรของ OAS เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2541 (ประเทศสมาชิกดูที่ FTAA) [การทูต] |
peace building | การสร้างสันติภาพ เป็นการสร้างและพัฒนาเงื่อนไขเพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร อันรวมถึงการสร้างสถาบันและโครงสร้างพื้นฐานของชาติที่ถูกทำลายโดยสงคราม กลางเมืองหรือการสู้รบขึ้นมาใหม่ [การทูต] |
permanent resident in the receiving state | บุคคลผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Plural Representation | หมายถึง การที่รัฐหนึ่งแต่งตั้งผู้แทนทางการทูตถาวรของตนมากกว่าหนึ่งคนไปประจำรัฐ อีกแห่งหนึ่งนอกประเทศ ในกรณีเช่นนั้น ผู้แทนทางการทูตคนหนึ่งจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางทูต ส่วนผู้แทนทางการทูตที่เหลือจะเป็นตัวรองอยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา เช่น ในสหประชาชาติมีคณะทูตถาวรประจำสหประชาชาติหลายแห่ง นิยมตั้งเอกอัครราชทูตของตนเป็นจำนวนมากถึง 3 หรือ 4 คนไปประจำอยู่ในคณะ ตัวหัวหน้าคณะทูตถาวรเช่นนั้น จะมีตำแหน่งเรียกว่า เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศของตนประจำสหประชาชาติ ส่วนเอกอัครราชทูตคนที่สองในคณะทูตถาวร มีตำแหน่งเรียกว่า รองผู้แทนถาวรการส่งเอกอัครราชทูตหลายคนไปประจำเป็นตัวแทนเช่นนี้ ไม่เป็นที่นิยมกระทำกันแพร่หลายเหมือนกับการส่งหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตคน เดียวไปประจำในหลายประเทศในเวลาเดียวกัน ดังที่กล่าวมาข้างต้น [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] |
United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] |
sealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งถูกปิดผนึกอย่างถาวรในปลอกหุ้ม หรือถูกห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มต้องมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตรังสี ภายใต้สภาวะการใช้งานปกติรวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ [พลังงาน] |
unsealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก ได้แก่ วัสดุกัมมันตรังสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะ หรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจายหกเปรอะเปื้อน ซึมรั่วออกจากภาชนะบรรจุได้ [พลังงาน] |
Fixed asset | ทรัพย์สินถาวร [การบัญชี] |
Intangible fixed asset | ทรัพย์สินถาวรไม่มีตัวตน [การบัญชี] |
Permanent file | แฟ้มถาวร [การบัญชี] |
Tangible | ทรัพย์สินถาวรที่มีตัวตน [การบัญชี] |
Tangible fixed asset | สินทรัพย์ถาวรมีตัวตน [การบัญชี] |
built-in | (adj) ที่สร้างเป็นส่วนถาวรในโครงสร้างที่ใหญ่กว่า, Syn. fitted |
built-in | (n) สิ่งที่สร้างเป็นส่วนถาวรในโครงสร้างที่ใหญ่กว่า |
for good | (idm) ถาวร, See also: ตลอดไป, ตลอดกาล, ช่วนิรันดร์ |
engraft | (vt) ทำให้เนื้อเยื่อติดกันถาวร |
engraft | (vt) ฝังลงไปอย่างถาวร, Syn. implant, imbue |
impermanent | (adj) ซึ่งไม่ถาวร, See also: ชั่วคราว, ซึ่งเปลี่ยนแปลง, Syn. transient, Ant. permanent |
indelible | (adj) ที่ลบไม่ออก, See also: ที่ติดแน่น, ถาวร |
lasting | (adj) ยั่งยืน, See also: ยืนยง, คงทน, ถาวร, ยาวนาน, ยืนยาว, มั่นคง, ชั่วกัลปาวสาน, ไม่สิ้นสุด, Syn. continuing, enduring |
permanence | (n) ความถาวร |
permanency | (n) ความยั่งยืน, See also: ความถาวร, ความคงทน, Syn. permanence |
permanency | (n) สิ่งที่ยั่งยืน, See also: สิ่งที่ถาวร, สิ่งที่คงทน |
permanent | (adj) ถาวร, See also: คงทน, ยั่งยืน, Syn. lasting, Ant. impermanent, temporary |
permanent wave | (n) ลอนผมถาวรที่เกิดจากการใช้ความร้อนหรือสารเคมี, Syn. perm |
perpetuate | (vt) ทำให้ถาวร, Syn. immortalize, eternalize |
perpetuity | (n) สิ่งที่เป็นอมตะ, See also: สิ่งที่อยู่ในภาวะถาวร |
sessile | (adj) ซึ่งติดถาวร |
temporality | (n) ลักษณะชั่วคราว, See also: ลักษณะที่ไม่ถาวร |
temporarily | (adv) โดยชั่วคราว, See also: โดยไม่ถาวร, โดยไม่ประจำ, โดยไม่ตลอดไป |
temporary | (adj) ชั่วคราว, See also: ที่ไม่ประจำ, ที่ ไม่ตลอดไป, ที่ ไม่ถาวร, Syn. impermanent, Ant. permanent |
timeless | (adj) ถาวร, See also: นิรันดร์, ตลอดไป, ไม่จำกัดเวลา |
undying | (adj) ไม่รู้จักตาย, See also: ไม่รู้จบ, ไม่สิ้นสุด, อมตะ, ถาวร, Syn. eternal, everlasting, classic, immortal |
unending | (adj) ไม่มีที่สิ้นสุด, See also: ถาวร, อมตะ, Syn. eternal, incessant, perceptual, undying, endless |
well-established | (adj) ซึ่งมีฐานมั่นคง, See also: ก่อตัวขึ้นแล้วอย่างถาวร, มั่นคง |
archived file | (อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้) |
bubble | (บับ'เบิล) { bubbled, bubbling, bubbles } n. ฟอง, ฟองอากาศ, ฟองน้ำ, สิ่งที่ไร้ความแน่นหรือความถาวร, การลวงตา, การเป็นฟอง, เสียงแตกเป็นฟอง, การโกง. vi. เป็นฟอง, เกิดฟอง, เดือด, พูดจ้อ, พล่านไปด้วย, โกงหลอกลวง vt. ทำให้เป็นฟอง |
ciborium | (ชิบอ'เรียม) n. ปะรำถาวรเหนือที่บูชา, ภาชนะใส่ขนมปังพิธีและน้ำมนต์พิธีในโบสถ์, See also: ciborial adj. -pl. -boria |
deciduous | (ดิซิด'ดิวอัส) adj. ซึ่งเปลี่ยนใบ, ซึ่งสลัดหรือเปลี่ยนคราบฟัน เขา ใบ, ไม่ถาวร, ชั่วคราว, See also: deciduousness n. ดูdeciduous |
ephemeral | (อิเฟม'เมอเริล) adj. ชั่วคราว, ไม่ถาวร, มีอายุสั้น. -n. สิ่งมีชีวิตที่มีอายุสั้น (เช่นแมลง), See also: ephemerality, ephemeralness n. |
fixed | (ฟิคซฺทฺ) adj. ติดแน่น, ซึ่งได้กำหนดไว้, ซึ่งได้ทำให้มั่นคงหรือถาวร, เป็นการเพ่งมองหรือเพ่งความสนใจ, แน่นอน, มั่นคง, ถาวร, ไม่ผันแปร, เป็นระเบียบ., See also: fixedly adv. fixedness n., Syn. fastened |
forever | (ฟอร์เอฟ'เวอะ) adj. ถาวร, นิรันดร, ตลอดไป, ต่อเนื่อง, ไม่สิ้นสุด., See also: forever and a day ตลอดไป, ชั่วนิรันดร, Syn. eternally |
fugitive | (ฟิว'จิทิฟว) n. ผู้ลี้ภัย, ผู้หลบหนี. adj. หลบหนี, ลี้ภัย, ชั่วคราว, เปลี่ยนแปลง, ร่อนเร่, ไม่ถาวร., See also: fugitively adv. fugitiveness n., Syn. fleetiing, runaway |
hard copy | สำเนาถาวรสิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ |
impermanent | (อิมเพอ' มะเนินทฺ) adj. ไม่ถาวร, ชั่วคราว., See also: impermanance, impermanency n. impermanently adv., Syn. transitory |
inherent | (อินเฮีย'เรินทฺ) adj. ซึ่งมีอยู่แต่กำเนิด, ซึ่งมีอยู่อย่างถาวรและไม่แยกจากกัน., Syn. inborn, inbred |
invariable | (อินแวร์'ระเบิล) adj., n. (สิ่งที่) ไม่เปลี่ยนแปลง, คงที่, ถาวร, สม่ำเสมอ, Syn. unvarying |
lasting | (ลาส'ทิง) adj. ทนทาน, ทน, คงทน, ยืนหยัด, ถาวร. n. สิ่งทอที่ทนทานแข็งแรง., See also: lastingness n. ดูlasting, Syn. durable |
master file | แฟ้มหลักหมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ทำไว้ค่อนข้างถาวร และมีข้อมูลเก็บไว้อย่างสมบูรณ์ ในการแก้ไขหรือปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักนี้ (เช่น ถ้าเป็นแฟ้มประวัติพนักงานของบริษัท ที่จะมีการแก้ไขเฉพาะรายการเงินเดือน ส่วนรายการอื่นไม่มีการแก้) มักจะใช้วิธีสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลเฉพาะบางรายการ เรียกว่า "แฟ้มรายการ เปลี่ยนแปลง " (transaction file) แล้วเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์อ่านแฟ้มข้อมูล ใหม่นี้ เข้าไปจัดการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลในแฟ้มหลักให้ ดู transaction file เปรียบเทียบ |
permanence | (เพอ'มะเนินซฺ) n. สภาพที่ถาวร, ลักษณะที่ถาวร, Syn. durability, fixity, stability, fixity, Ant. evanescence, mortality |
permanent | (เพอ'มะเนินทฺ) adj. ถาวร, ยืนยง, คงทน, ยาวนาน, (สี) ไม่ตก., See also: permanentness n., Syn. lasting, durable, stable, enduring, Ant. temporary |
permanent storage | หน่วยเก็บถาวรหมายถึง แหล่งเก็บข้อมูลถาวร กล่าวคือข้อมูลจะไม่ลบเลือนหายไป แม้เมื่อปิดสวิตช์ไม่ปล่อยกระแสไฟเข้าไปก็ตาม เช่น จานบันทึก |
perpetual | (เพอเพช'ชวล) adj. ตลอดไป, ถาวร, ตลอดกาล, ต่อเนื่อง, ตลอดฤดู, ตลอดปี., Syn. unceasing, continual |
perpetuate | (เพอเพช'ชุเอท) vt. ทำให้ถาวร, ทำให้ไม่สูญไป, ทำให้เป็นอมตะ., See also: perpetration n. perpetuator n., Syn. continue |
regular army | n. กองทัพทหารประจำการที่ถาวร, See also: regular army ทหารประจำการ |
reside | (รีไซดฺ') vi. อยู่อาศัย, อยู่เป็นเวลานาน, พำนักอยู่อย่างถาวร, อยู่ประจำ, อยู่กับ , ตั้งใหม่เป็นปุ่มหนึ่งบนเครื่องพีซีบางเครื่อง การกดที่ปุ่มนี้จะเป็นการเริ่มเปิดเดินเครื่องใหม่ใช้เหมือนการกดแป้น Ctrl + Alt + Del ในระบบดอส บางทีในกรอบสนทนาก็จะมีปุ่มนี้ ในกรณีนั้น จะเป็นคำสั่งให้ยกเลิกค่าที่กำหนดใหม่ แล้วกลับไปใช้ค่าเดิม, See also: resider n., Syn. dwell, live, stay |
security council | n. สภาความมั่นคงของสหประชาชาต'ประกอบด้วยสมาชิกถาวร5ประเทศ (สหรัฐอเมริกา, โซเวียต, ฝรั่งเศส, อังกฤษและจีน) และสมาชิกชั่วคราว10ประเทศที่มีวาระครั้งละ2ปี |
sessile | (เซส'-ไซล) adj. ติดกับฐาน, ไม่มีก้านแต่ตั้งอยู่บนฐานกว้าง, ติดอยู่อย่าง ถาวร., See also: sessility n. |
soap bubble | n. ฟองสบู่, สิ่งที่ไม่ปฎิเสธ, สิ่งที่ไม่ถาวร |
soft copy | สำเนาชั่วคราวหมายถึง ผลลัพธ์จากการประมวลผลที่แสดงผลของการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ที่ปรากฎบนจอภาพ ผลลัพธ์นี้ยังสามารถแก้ไขได้ง่าย ต่างกับ hard copy ซึ่งหมายถึงสำเนาถาวร หรือผลลัพธ์ที่พิมพ์ลงบนกระดาษพิมพ์แล้วที่เรียกว่าสำเนาถาวรดู hard copy เปรียบเทียบ |
sturdy | (สเทอ'ดี) adj. แข็งแรง, แข็งแกร่ง, มั่นคง, ทนทาน, เหนียว, ถาวร, หนักแน่น, กล้าหาญ, เด็ดเดี่ยว, งอกงาม., See also: sturdily adv. sturdiness n., Syn. robust, stalwart, stout |
temporality | (เทมพะแรล'ลิที) n. ลักษณะชั่วคราว, ลักษณะที่ไม่ถาวร, ทรัพย์สมบัติทางโลก |
temporary | (เทม'พะเรอรี่) adj. ชั่วคราว, ไม่ถาวร. n. คนที่ทำงานที่ไม่ถาวร., See also: temporarily adv. temporariness n., Syn. transient, brief, short-lived |
transience | (แทรน'เชินซฺ, -เ?ินซฺ) n. ภาวะชั่ว-คราว, สภาพที่ไม่ถาวร, ลักษณะที่ไม่ยั่งยืน., Syn. transiency |
transient | (แทรน'เชินทฺ) adj. ชั่วคราว, ไม่ถาวร, ชั่วคราว n. สิ่งที่อยู่ชั่วคราว, สภาพชั่วคราว, นอกฤดูกาล., See also: transiently adv. transientness n., Syn. brief, temporary, vagrant |
transitory | (แทรน'ซิทอรี) adj. ไม่ถาวร, ไม่ยั่งยืน, ชั่วคราว, ชั่วประเดี๋ยว., See also: transitorily adv. transitoriness n. |
undying | (อันได'อิง) adj. ไม่รู้จักตาย, ไม่รู้จบ, ไม่สิ้นสุด, อมตะ, ถาวร., See also: undyingly adv. |
unending | (อันเอน'ดิง) adj. ไม่มีที่สิ้นสุด, ไม่หยุด, ถาวร, อมตะ, ไม่มีขอบเขต |
veto | (วี'โท) n. อำนาจยับยั้ง, ลัทธิยับยั้ง, การใช้สิทธิยับยั้ง, เอกสารแสดงการใช้สิทธิยับยั้งและเหตุผลที่ยับยั้ง, การยับยั้ง, การห้าม, การออกเสียงยับยั้งของสมาชิกหนึ่งในห้าเสียงของสมาชิกถาวรของสภาความมั่นคง (ในสหประชาชาติ) สามารถยับยั้งการปฎิบัติการหรือมติของที่ประชุมไ |
well-established | (เวล'เอสแทบ'ลิชทฺ) adj. มีฐานที่มั่นคง, ก่อตัวขึ้นแล้วอย่างถาวร, แน่นแฟ้น, มั่นคง, Syn. settled, firmly set |
abiding | (adj) ถาวร, สืบไป, ตลอดกาล, มั่นคง |
ephemeral | (adj) ไม่จีรัง, ไม่ยั่งยืน, ชั่วคราว, ไม่ถาวร |
fixity | (n) ความคงที่, ความแน่นอน, ความตายตัว, ความมั่นคง, ความถาวร |
forever | (adv) เป็นนิตย์, ตลอดกาล, ตลอดไป, ถาวร, นิรันดร, ไม่สิ้นสุด |
fugitive | (adj) หลบหนี, ลี้ภัย, หนี, ร่อนเร่, ไม่ถาวร, ชั่วคราว |
invariable | (adj) ไม่เปลี่ยนแปลง, สม่ำเสมอ, นิจสิน, คงที่, ถาวร |
last | (adj) สุดท้าย, หลังสุด, ท้ายสุด, ปลาย, จบ, ตลอดไป, ถาวร, ล่าสุด |
last | (vt) ทนอยู่ได้, คงทน, ยืดเยื้อ, ถาวร, มีอายุต่อไป |
lasting | (adj) ทนทาน, คงทน, ถาวร, ยืดเยื้อ, ยืดยาด |
monumental | (adj) เป็นอนุสาวรีย์, ถาวร, อย่างมหันต์, กล้าหาญ |
permanence | (n) ความคงทน, ความถาวร, ความยืนยง |
permanent | (adj) คงทน, ถาวร, ยืนยง |
perpetuate | (vt) ทำให้ถาวร, ทำให้เป็นอมตะ |
perpetuation | (n) การทำให้เป็นอมตะ, การทำให้ถาวร |
perpetuity | (n) ความเป็นอมตะ, ความถาวร |
soundly | (adv) อย่างละเอียดลออ, อย่างถูกต้อง, อย่างถาวร, อย่างมั่นคง |
temporarily | (adv) เพียงชั่วคราว, อย่างไม่ถาวร |
temporary | (adj) ชั่วคราว, ชั่วขณะ, ไม่ถาวร, เฉพาะกาล |
transitory | (adj) ชั่วครู่, ชั่วคราว, ชั่วแล่น, ไม่ถาวร |