ถวาย | (v) offer, See also: dedicate, present, Syn. ให้, มอบ, มอบให้, Ant. รับ, Example: ผมตื่นแต่เช้าช่วยแม่เตรียมอาหารถวายพระ |
ถวายกร | (v) salute a prince in Thai style, See also: raise hands up palm against palm in an attitude of paying respect, Thai Definition: ไหว้เจ้านาย |
ของถวาย | (n) offering/s, See also: gift, present (only to monks, royalty, spirits), Example: ท่านมาถึงสันติอโศก 21.20 น. มาพร้อมของถวาย กระเช้าผลไม้ และของกินของใช้อีกหนึ่งกล่อง, Count Unit: ชนิด, Thai Definition: สิ่งของที่มอบให้ (ใช้แก่พระสงฆ์หรือเจ้านาย) |
ถวายตัว | (v) give oneself, See also: offer one's services, Syn. มอบตัว, Example: ในสมัยก่อน พ่อแม่นิยมนำบุตรชายเข้าไปถวายตัวเพื่อเป็นทหารรับใช้ในพระราชวัง, Thai Definition: มอบตัวแก่เจ้านาย |
ถวายบังคม | (v) pay homage, See also: pay obeisance to royalty, Example: อาจารย์นัดหมายให้นิสิตทุกคนไปถวายบังคมพระบรมศพโดยพร้อมเพรียงกัน, Thai Definition: แสดงความเคารพพระมหากษัตริย์อย่างเต็มแบบ โดยคุกเข่ายกมือจรดหน้าผาก แล้วลดลง 3 ครั้ง |
ถวายพระพร | (v) bless, Syn. อวยพร, ให้พร, Example: ปวงชนชาวไทยร่วมกันถวายพระพรแด่ในหลวง เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา, Notes: (ราชา) |
อุทิศถวาย | (v) dedicate, See also: give, offer, Syn. ถวาย, อุทิศ, Example: รัชกาลที่ 3 โปรดให้สร้างพระมหาเจดีย์ เพื่อทรงอุทิศถวายรัชกาลที่ 2 |
ดอกถวายพระ | (n) flower of the creeper plant, See also: flower of pumpkin, flower bearing no fruit, Syn. กระชอมดอก, Thai Definition: ดอกไม้ตัวผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ |
การถวายบังคม | (n) homage, See also: obeisance, curtsy, deference, Syn. การถวายความเคารพ, การคารวะ, การถอนสายบัว, การคำนับ, Example: เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประชาชนที่จะไปรับเสด็จได้พร้อมใจซ้อมการถวายบังคมเพื่อความพร้อมเพรียงกัน, Thai Definition: การแสดงความเคารพ |
ถวายพระเพลิง | (v) cremate, Syn. เผาศพ, ฌาปนกิจ, พระราชทานเพลิงศพ, Example: เมื่อเสร็จพิธีอุปสมบทแล้วได้ไปถวายพระเพลิงล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 ณ พระเมรุท้องสนามหลวงพร้อมด้วยพระอุปัชฌาย์ |
ทูลเกล้าฯ ถวาย | (v) present, See also: offer, dedicate, consecrate, give, bestow, confer, Syn. ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย, Thai Definition: ถวาย (ใช้แก่ของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี), Notes: (ราชา) |
น้อมเกล้าฯ ถวาย | (v) present, See also: offer, Syn. น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย, Example: บริษัทสหกรณ์ ซี.ซี. ฟรีสแลนด์น้อมเกล้าฯ ถวายเครื่องมือสำหรับผลิตเนยแข็ง เนื่องในวโรกาสมหามงคล, Notes: (ราชา) |
ถวายสัตย์ปฏิญาณ | (v) take an oath of allegiance, Example: นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ |
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย | (v) present, See also: offer, dedicate, consecrate, give, bestow, confer, Syn. ทูลเกล้าฯ ถวาย, Ant. พระราชทาน, รับพระราชทาน, Thai Definition: ถวาย (ใช้แก่ของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี), Notes: (ราชา) |
น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย | (v) present, See also: offer, Syn. น้อมเกล้าฯ ถวาย, Example: เศรษฐีจากเมืองจีนน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายที่ดิน 100 ไร่, Notes: (ราชา) |
ขดถวาย | ก. ขัดสมาธิ. |
ดอกถวายพระ | น. ดอกเพศผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ, กระชอมดอก ก็เรียก. |
ถวาย | (ถะหฺวาย) ก. ให้, มอบให้, เช่น ถวายของ (ใช้แก่พระสงฆ์) |
ถวาย | ให้ดู, ให้ชม, เช่น รำถวายมือ เล่นถวายตัว, แผลงเป็น ดงวาย หรือ ตังวาย ก็ได้ |
ถวาย | ให้, มอบให้, (ใช้แก่สมเด็จเจ้าฟ้าลงมาจนถึงหม่อมเจ้า), ให้สิ่งที่เป็นนามธรรมแก่พระมหากษัตริย์และเจ้านาย เช่น ถวายพระพร ถวายชีวิต. |
ถวายกร | ก. ไหว้เจ้านาย, รำให้เจ้านายชม. |
ถวายข้าวพระ | ก. ทำพิธีอย่างหนึ่ง เมื่อนำสำรับคาวหวานไปถวายพระพุทธรูปโดยยกมือประนม กล่าวคำว่า อุกาส สูปพฺยฺชนสมฺปนฺนํ สาลีนํ โภชนํ สอุทกํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ. |
ถวายงาน | ก. ปฏิบัติงานรับใช้พระมหากษัตริย์ เช่น ถวายงานพัด ถวายงานนวด. |
ถวายตัว | ก. เข้าเฝ้ามอบตัวเป็นข้ารับใช้เจ้านาย. |
ถวายเนตร | น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง ในพระอิริยาบถยืนด้วยพระอาการสำรวม พระหัตถ์ขวาทาบหลังพระหัตถ์ซ้ายอยู่หน้าพระเพลา ลืมพระเนตรทั้ง ๒ ดูมหาโพธิพฤกษ์. |
ถวายบังคม | ก. แสดงความเคารพพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี และพระบรมราชวงศ์ชั้นสูง ตามประเพณีไทย. |
ถวายพระพร | คำเริ่มและคำรับที่พระสงฆ์พูดกับเจ้านาย. |
ถวายหัว | ก. ทำจนสุดความสามารถ, ยอมสู้ตาย. |
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย | ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของเล็กหรือของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย. |
น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย | ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของใหญ่หรือของที่ยกขึ้นให้ไม่ได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย. |
สู้ถวายหัว | ก. สู้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน, สู้ตาย หรือ สู้จนตัวตาย ก็ว่า. |
กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). |
กรม ๕ | (กฺรม) ย่อมาจากคำว่า กรรม เช่น อวยสรรพเพียญชนพิธีกรมเสร็จกำนนถวาย (ดุษฎีสังเวย). |
กรรพุม, กรรพุ่ม | (กัน-) น. มือที่ประนม เช่น ถวายกรกรรพุม (ม. คำหลวง ทศพร) |
กรวย ๑ | น. ของมีรูปกลม กลวง ยาวเรียวแหลม, เรียกขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลปีบ เป็นต้น หยอดในกรวยใบตอง ว่า ขนมกรวย, กระทงมีฝาเป็นกรวยครอบ ข้างในใส่หมากหรือเมี่ยงสำหรับถวายพระอุปัชฌาย์และคู่สวดในการบวชนาค เรียกว่า กรวยอุปัชฌาย์และกรวยคู่สวด |
กระชอมดอก | น. ดอกเพศผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ ซึ่งเรียกกันว่า ดอกถวายพระ. |
กระหม่อม | คำสำหรับใช้ควบกับคำที่ขึ้นต้นว่า “เกล้า” เช่น ทราบเกล้าทราบกระหม่อม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในการเขียนหนังสือใช้ไปยาลน้อยแทนก็ได้ เช่น ทราบเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย. |
กฤดาอัญชลี | (กฺริ-) ก. กระทำอัญชลี, ยกมือไหว้, เช่น ขอถวายกฤดาอัญ- ชลีโอนศิโรจร (ตำราช้างคำฉันท์). |
กฤษฎาญ | (กฺริดสะดาน) กร่อนมาจาก กฤษฎาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญกฤษฎาการกราบเกล้า (ม. คำหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์). |
กฤษฎาญชลี | (กฺริดสะดานชะลี) ก. มีอัญชลีอันกระทำแล้ว, กระทำอัญชลี, เช่น กฤษฎาญชลียะยุ่งแล (ม. คำหลวง ทศพร), ในวรรณคดีแผลงไปเป็นรูปต่าง ๆ คือ กฤษฎาญชลิต เช่น กฤษฎาญชลิตไหว้ (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิตวา เช่น อันว่ากฤษฎาญชวลิตวา (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิศ เช่น อนนว่าเจ้าสากลกฤษฎาญชวลิศท่านธแล้ว (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กฤษฎาญชวเลศ เช่น ถวายกฤษฎาญชวเลศ ทูลแถลงเหตุนุสนธ์ (เพชรมงกุฎ), กฤษฎาญชุลี เช่น กฤษฎาญชุลีน้อม (ฉันทลักษณ์). |
กลางช้าง | น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานประจำปืนใหญ่บนสัปคับที่ตั้งกลางหลังช้าง, ขุนนางซึ่งนั่งประจำที่บนสัปคับที่ตั้งกลางหลังช้างพระที่นั่ง คอยรับพระราชดำรัสสั่งให้สัญญาณแก่ไพร่พลเพื่อให้รุก รับ หรือถอย และส่งศาสตราวุธถวายพระเจ้าอยู่หัวเมื่อประทับตรงคอช้าง. |
กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
กัณฑ์เทศน์ | น. สิ่งของหรือไทยธรรมสำหรับถวายพระภิกษุสามเณรผู้แสดงพระธรรมเทศนา, เครื่องกัณฑ์ ก็ว่า |
กัน ๓ | ก. กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น เช่น กันฝน กันสนิม กันภัย, แยกไว้ เช่น กันเงินไว้ ๕๐๐ บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จำเป็น กันเอาไว้เป็นพยาน. น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง ทำหน้าที่ถวายอารักขา ว่า เรือกัน. |
กัลพุม | (กันพุม) น. กรรพุม, มือที่ประนม, เช่น ถวายกรกัลพุมบันสารโกสุม ศิโรจม์ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์) |
การัณย์ | (การัน) น. กรณีย์, กิจ, เช่น ชี้แจงแถลงเรื่องการัณย์ ส่งคชสำคัญ ทั้งหมอแลควาญมาถวาย (ดุษฎีสังเวย). |
กาลานุกาล | น. งานบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมอัฐิและพระอัฐิในกาลใดกาลหนึ่ง. |
กาษา, กาสา ๑ | น. ผ้าชนิดหนึ่ง เช่น คลังถวายผ้ากาษา (กฎ. ราชบุรี ๒/๑๐๗), และพระไตรภูวนาทิตยวงศ์ก็ให้ผ้าลายและเสื้อกาสาคนละสำรับ (พงศ. กรุงเก่า), ฝันว่าห่มผ้าขาวกาสา (ตำราทำนายฝัน). |
ขนาบ | โดยปริยายหมายความว่า เรื่อยมา, ตลอดมา, เช่น รับของถวายกันขนาบมา (ประพาสมลายู). |
ขยัน ๑ | แข็งแรง, เข้าที, เช่น เนื้อหนังขยันมั่นคงนัก (อิเหนา), พอกํ้ากึ่งกลางนั้นขยันนัก (เพลงยาวถวายโอวาท). |
ข้าหลวง ๑ | น. คนที่ถวายตัวเป็นข้าของพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย, คนรับใช้ของพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย ปัจจุบันมีเฉพาะผู้หญิง เรียกว่า คุณข้าหลวง. |
ข้าวต้มปัด | น. ข้าวเหนียวต้มที่ห่อด้วยใบไม้เช่นใบมะพร้าวอ่อนหรือใบเตย มักทำถวายพระในเทศกาลออกพรรษา, ข้าวปัด ก็ว่า. |
ข้าวปัด | น. ข้าวเหนียวต้มที่ห่อด้วยใบไม้เช่นใบมะพร้าวอ่อนหรือใบเตย มักทำถวายพระในเทศกาลออกพรรษา, ข้าวต้มปัด ก็ว่า. |
ข้าวพระ | น. อาหารคาวหวานที่จัดใส่สำรับสำหรับถวายพระพุทธ. |
ขำ ๒ | น. สิ่งหรือข้อความที่มีนัยซึ่งไม่ควรเปิดเผย เช่น ความขำเขาซับซี่ในวัดที่ดรธานปล่ยวน้นน (ม. คำหลวง ชูชก), แล้วทูลว่านางคันธมาลี ให้ข้านี้นำของมาถวาย เป็นความขำกำชับมามากมาย พลางยอบกายเข้าไปให้ใกล้ชิด (คาวี). |
ขึ้นพรหม | น. ท่ารำกระบี่กระบอง เพื่อแสดงความเคารพ เป็นท่าต่อจากท่าถวายบังคม มี ๒ แบบ คือ ขึ้นพรหมนั่ง และ ขึ้นพรหมยืน. |
คณะองคมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. |
คมิกภัต | (คะมิกะ-) น. อาหารที่เตรียมถวายภิกษุก่อนที่ท่านจะออกเดินทาง. |
ครัวทาน | น. ของถวายพระ. |
เครื่องกัณฑ์ | น. สิ่งของหรือไทยธรรมสำหรับถวายพระภิกษุสามเณรผู้แสดงพระธรรมเทศนา, กัณฑ์เทศน์ ก็ว่า. |
เครื่องสังเค็ด | น. ทานวัตถุมีตู้พระธรรม โต๊ะหมู่ เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่สงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ. |
จำนอง | ก. ผูก, คล้อง, หมายไว้, กำหนด, จำไว้, (โบ; กลอน) ประพันธ์, แต่ง, เช่น จึ่งจำนองโคลงอ้าง ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง (ลอ). |
จำนำพรรษา | ว. เรียกผ้าที่ถวายแก่พระสงฆ์ที่อยู่จำพรรษาในวัดนั้น ๆ ว่า ผ้าจำนำพรรษา. |
จิ้มก้อง | ก. เจริญทางพระราชไมตรีเฉพาะกับประเทศจีน โดยนำพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิตามเวลาที่กำหนด ปรกติ ๓ ปี ต่อครั้ง เช่น แต่งทูตออกไปจิ้มก้อง (พงศ. ร. ๓), (ปาก) โดยปริยายหมายถึงนำสิ่งของเป็นต้นไปกำนัลเพื่อเอาใจ. |
จีวรกาลสมัย | น. คราวที่เป็นฤดูถวายจีวร (งวดที่ ๑ ตั้งแต่วันมหาปวารณา คือ วันแรมคํ่าหนึ่งเดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒, งวดที่ ๒ ตั้งแต่วันมหาปวารณาไปจนหมดฤดูหนาว, งวดที่ ๑ เป็นของพระที่มิได้กรานกฐิน, งวดที่ ๒ เป็นของพระที่กรานกฐินแล้ว). |
สังเค็ด | ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด [ศัพท์พระราชพิธี] |
ฉากบังเพลิง | เครื่องกั้นในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ บนพระเมรุมาศหรือเมรุ มีลักษณะเป็นฉากพับได้ ติดไว้กับเสาเมรุมาศทั้ง ๔ ด้าน เมื่อใช้งานจะดึงหรือยกมาปิดไว้ ใช้สำหรับศพชั้นโกศเท่านั้น, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/total-chark-2.jpg" alt="ฉากบังเพลิง"> <p>เครื่องกั้นในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ บนพระเมรุมาศหรือเมรุ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระเมรุพิมาน | อาคารถาวรที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งตั้งพระบรมศพ หรือพระศพเวลาถวายพระเพลิงอัญเชิญพระบรมศพหรือพระศพจากพระเมรุพิมานไปถวายพระเพลิงที่พระเมรุ (ขนาดน้อย) อีกแห่งใกล้ ๆ หรือไม่ไกลกันมาก [ศัพท์พระราชพิธี] |
เจ้าพนักงานภูษามาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
เมรุพระบุพโพ | เมรุขนาดน้อย สำหรับถวายพระเพลิงพระบุพโพ (น้ำเหลือง) ส่วนใหญ่จะทำที่วัดมหาธาตุ ฯลฯ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พนักงานพระภูษา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พนักงานพระมาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
ถวายอดิเรก | การถวาย พระพร ซึ่งพระสงฆ์ปฏิบัติต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเท่านั้น [ศัพท์พระราชพิธี] |
ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] |
ข้าหลวง | คนที่ถวายตัวเป็นข้าของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย, คนใช้ของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย [ศัพท์พระราชพิธี] |
ประเคน | ก. ถวายของพระโดยวิธียกส่งให้ตามพิธีการที่กําหนดไว้ เช่น ประเคนอาหาร; ส่งให้ถึงมือ (ใช้ในความแดกดัน) เช่น ต้องเอาไปประเคนให้จนถึงที่; (ปาก) ตี เช่น ประเคนกระบาล ๓ ที [ศัพท์พระราชพิธี] |
กงเต๊กหลวง | เป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย [ศัพท์พระราชพิธี] |
รถท่อนจันทน์ | เป็นเชื้อเพลิงในเวลาถวายพระเพลิง [ศัพท์พระราชพิธี] |
พัดสังเค็ด | เป็นหนึ่งในสิ่งของที่รวมอยู่ในเครื่องสังเค็ดสำหรับถวายพระภิกษุสงฆ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
พลับพลายก | มี ๓ หลัง ตั้งที่ท้องสนามหลวง นอกรั้วราชวัติ ด้านทิศเหนือ ๑ หลัง ใช้สำหรับเสร็จรับพระศพลงจากราชรถ ที่หน้าพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท ๑ หลัง ใช้สำหรับเจ้านายฝ่ายในและประทับทอดพระเนตรกระบวนและถวายบังคมพระศพ และที่หน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามอีก ๑ หลัง ใช้สำหรับเสด็จส่งพระศพขึ้นราชรถ [ศัพท์พระราชพิธี] |
ซ่าง หรือ สำซ่าง | สถานที่สำหรับพระสงฆ์สวดพระอภิธรรมในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพมีจำนวน ๔ หลัง อยู่ที่มุมติดกับรั้วราชวัติ ๒ หลัง และที่มุขด้านทิศเหนือและทิศใต้อย่างละ ๑ หลัง [ศัพท์พระราชพิธี] |
ปะรำ | ใช้เป็นสถานที่สำหรับราชสกุลและข้าราชการเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
morning coat | ชุดพิธีการกลางวัน " ที่มีลักษณะเป็นเสื้อสูทกางยาวสีดำ กางเกงลาย เสื้อเชิ้ตสีขาว ผ้าผูกคอ (necktie) สีเทาเงิน สีขาว หรือลายดำ-ขาว มีหมวกและถุงมือ ใช้สำหรับงานที่เป็นพิธีทางการสำคัญ เช่น การ เข้าเฝ้าฯ ถวายสาส์น พิธีศพ หรือพิธีสมรสในตอนเที่ยงหรือบ่าย " [การทูต] |
Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] |
address | (n. อะเดรส' , แอด' เดรส; -vi. อะเดรส') n., vi. (การ) ปราศรัยกับ, (การ) พูดกับ, (การ) เตรียม, คำปราศรัย, คำถวายพระพรชัยมงคล, คำจ่าหน้าซอง, กิริยาวาจา, บุคลิกลักษณะ, (การ) พูดจา, ความแคล่วคล่อง. -addresser n.ผู้ส่งจดหมาย, |
chantry | (ชาน'ทรี) n. ปัจจัยที่ถวายพระ, โบสถ์เล็ก ๆ ในสังกัด |
corban | (คอร์'บัน) n. เครื่องเช่นหรือของถวายแก่พระเจ้า |
dedicate | (เดด'คิเคท) vt. อุทิศ, อุทิศตัว, ถวาย, ใช้ไปในทาง adj. ซึ่งอุทิศแก่, See also: dedicator n., Syn. consecrate |
offer | (ออฟ'เฟอะ) v., n. (การ) เสนอ, กล่าวว่าจะยกให้, มอบ, ถวาย, ให้, เสนอราคา, บอกราคา, บอกขาย, ขอแต่งงาน, แสดง, ทำให้ปรากฎ, ประมูล, บูชา, See also: offerer n. offeror n. |
offering | (ออฟ'เฟอริง) n. สิ่งที่เสนอให้, สิ่งที่ถวายให้, ของบูชา, ของขวัญ, การเสนอ, การมอบ, การถวาย, การบูชา, Syn. submission |
offertory | (ออฟ'เฟอโทรี) n. ของบูชา, เพลงสวดในพิธีถวายของบูชา., See also: offertorial adj. |
petition | (พะทิช'เชิน) การร้องเรียน, การอ้อนวอน, การร้องทุกข์, การถวายฎีกา, สิทธิการร้องเรียน, หนังสือร้องเรียน, ฎีกา. vt., vi. ร้อยเรียน, ร้องทุกข์อ้อนวอน., See also: petitionary adj. petitioner n., Syn. request, appeal |
chantry | (n) ปัจจัยถวายพระในการบังสุกุล |
congratulate | (vt) แสดงความยินดี, อวยพร, ถวายพระพรชัยมงคล |
congratulation | (n) การแสดงความยินดี, การอวยพร, การถวายพระพร |
consecrate | (vt) ทำให้ศักดิ์สิทธิ์, ถวาย, อุทิศ, ฉลอง |
consecration | (n) การทำให้ศักดิ์สิทธิ์, การถวาย, การอุทิศ |
dedicate | (vt) อุทิศ, มอบให้, ถวาย |
enthrone | (vt) ยกขึ้นไว้สูงสุด, ตั้งให้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน, ถวายราชสมบัติ, มอบอำนาจให้ |
felicitate | (vt) แสดงความยินดี, แสดงความปีติ, ถวายพระพร, อวยพร |
glorify | (vt) ทำให้มีชื่อเสียง, สรรเสริญ, ยกย่อง, ถวายพระเกียรติ, สดุดี |
offer | (n) คำขอ, ข้อเสนอ, การยกให้, การเสนอ, การถวาย |
offering | (n) ของถวาย, เครื่องเซ่น, บัตรพลี |
petitioner | (n) ผู้อุทธรณ์, ผู้ร้องเรียน, ผู้ถวายฎีกา, ผู้ร้องทุกข์ |
presence | (n) การมี, การปรากฏ, การนำออกแสดง, การถวายตัว, การเข้าร่วม |