จ๊ะ ๑ | ว. คำต่อท้ายคำเชิญชวนหลังคำ “นะ” หรือ “ซิ” เช่น ไปนะจ๊ะ เชิญซิจ๊ะ หรือต่อท้ายคำถามเป็นต้น เช่น อะไรจ๊ะ. |
เชื้อพระวงศ์ | น. ผู้ที่สืบเชื้อสายราชสกุล ตลอดลงมาจนถึงผู้ที่นับเนื่องอยู่ในราชสกุล ได้แก่ หม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง และผู้ที่ใช้คำว่า ณ อยุธยา ต่อท้ายชื่อสกุล แต่มิได้หมายรวมถึงสตรีที่สมรสกับผู้สืบสายราชสกุล. |
ซ้อน | ก. ทับกันขึ้นไป เช่น เอาจานซ้อนกัน เอาหนังสือซ้อนสมุด, เรียงเหลื่อมกัน เช่น ฟันซ้อน มะลิซ้อน, อาการที่นั่งพาหนะเรียงไปข้างหน้าหรือต่อท้าย เช่น นั่งซ้อนหลังวัวหรือควาย นั่งซ้อนหน้าจักรยาน นั่งซ้อนท้ายมอเตอร์ไซค์ |
ซุ้ม ๓ | น. ทำนองเพลงไทยสำเนียงลาว อัตราชั้นเดียว เดิมประดิษฐ์ขึ้นสำหรับบรรเลงต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพน เรียกว่า ออกซุ้ม ต่อมามีผู้นำไปบรรเลงต่อท้ายเพลงสำเนียงลาวอื่น ๆ. |
เณรหางนาค | น. กุลบุตรที่บวชเป็นสามเณรต่อท้ายพิธีบวชพระ. |
เตียว ๑ | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงเชิดนอกในการแสดงโขน. |
บรรดาศักดิ์ | (บันดา-) น. ฐานันดรศักดิ์ที่พระราชทานแก่ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไป แบ่งออกเป็น เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน และทนาย โดยมีราชทินนามต่อท้าย เช่น เจ้าพระยายมราช พระยาพลเทพ. |
ปรัศว์ | เรียกอาคาร ๒ หลังที่อยู่ขนานกัน ซึ่งอยู่ต่อท้ายพระที่นั่งที่เป็นประธาน ว่า พระปรัศว์ เช่น ในหมู่พระมหามณเฑียร มีพระที่นั่งเทพสถานพิลาสเป็นพระปรัศว์ขวา พระที่นั่งเทพอาศน์พิไลเป็นพระปรัศว์ซ้าย, โบราณเขียนว่า พระปลัด ก็มี. |
ผ้าป่า | น. ผ้า (พร้อมทั้งเครื่องบริวาร ถ้ามี) ที่นำเอาไปวางทอดไว้เสมือนว่าเป็นผ้าที่ทิ้งอยู่ในป่า เพื่อให้พระชักเอาไป เป็นทำนองผ้าบังสุกุล มักทำเป็นปรกติต่อท้ายทอดกฐิน เรียกว่า ทอดผ้าป่า. |
พ่วง ๑ | ก. ต่อท้าย, ตามติด, เติมเข้ามา, เช่น ขอพ่วงไปด้วยคน. |
พิธีสาร | น. ความตกลงระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง ได้แก่ ตราสารอันบรรจุไว้ซึ่งความตกลงที่มีความสำคัญรองลงมาจากสนธิสัญญาและอนุสัญญา โดยมากเป็นพิธีสารต่อท้ายหรือแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาหรืออนุสัญญา. |
เพลงหางเครื่อง | น. เพลงที่ใช้บรรเลงต่อท้ายการบรรเลงเพลง ๓ ชั้นหรือเพลงเถา, เพลงท้ายเครื่อง ก็เรียก. |
รัว ๒ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงในลักษณะต่าง ๆ กันคือ รัวธรรมดาหรือรัวลาเดียว ใช้บรรเลงเมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในการแสดงโขนละครเป็นต้น และใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์ที่แสดงผลสำเร็จของพิธีการหรือพิธีกรรมนั้น ๆ, รัวเฉพาะ ใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์บางเพลง เช่น รัวท้ายเพลงบาทสกุณี รัวท้ายเพลงปลูกต้นไม้ รัวสามลา เป็นเพลงในชุดโหมโรงเย็นมีความหมายแทนการกราบไหว้บูชา ในการแสดงโขนละคร ใช้บรรเลงประกอบกิริยาแสดงอิทธิฤทธิ์ของตัวละครสูงศักดิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. |
ราชนิกุล | น. ผู้สืบสายราชสกุลตั้งแต่หม่อมราชวงศ์ทั้งชายและหญิงลงมาจนถึงผู้ที่ใช้คำว่า ณ อยุธยา ต่อท้ายชื่อราชสกุล แต่มิได้หมายรวมถึงสตรีที่สมรสกับผู้สืบสายราชสกุล. |
เรือประตู | น. เรือหลวงที่จัดเข้าร่วมในกระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขาและป้องกันอันตรายกระบวนเรือพระที่นั่ง จัดอยู่ตามตำแหน่งเป็นชั้น ๆ ข้างหน้ากระบวนมีเรือประตูนอกหรือเรือประตูชั้นนอกอยู่ข้างหน้าเรือคู่ชักหมู่หนึ่ง กับอยู่ต่อเรือคู่ชักเข้ามาก่อนถึงเรือดั้งอีกแถวหนึ่งเรียกว่า เรือประตูใน และยังมีอยู่ทางตอนท้ายกระบวนอีก ๒ หมู่ หมู่ต้นอยู่ต่อท้ายเรือกันเรียกว่า เรือประตูใน กับหมู่ปลายอยู่ต่อท้ายหมู่เรือพระที่นั่งกรมพระราชวังบวรฯ และเรือที่นั่งเจ้านายเรียกว่า เรือประตูนอก. |
ลูกหมด | น. ทำนองเพลงสั้น ๆ มีจังหวะเร็ว เทียบเท่ากับอัตราชั้นเดียวหรือครึ่งชั้นใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงต่าง ๆ เพื่อแสดงว่าจบ. |
วะ ๑ | ว. คำบอกเสียงต่อท้ายประโยคแสดงความคุ้นเคยเป็นกันเองหรือแสดงความไม่สุภาพ เช่น ไปไหนวะ. |
สร้อย ๓ | คำที่เติมหรือประกอบคำอื่นเพื่อให้ไพเราะหรือเต็มความ เช่น เสื้อแสง หนังสือหนังหา, คำต่อท้ายราชทินนาม เช่น พระราชปัญญาสุธี ศรีปริยัติธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ สกลนิติธรรมศาสตราจารย์ มหิบาลมหาสวามิภักดิ์ ปรมัคราชมนตรีอภัยพิริยปรากรมพาหุ. |
ห้อยท้าย | ก. ต่อท้าย. |
หางเครื่อง | น. เพลงที่ออกต่อท้ายจากเพลง ๓ ชั้น หรือ เพลงเถา |
ไหน ๑ | ว. ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความสงสัยหรือคำถาม เช่น คนไหน อันไหน ที่ไหน, ถ้ามีคำ ก็ได้ ต่อท้าย แสดงถึงความไม่เจาะจง เช่น คนไหนก็ได้ ที่ไหนก็ได้. |
ออกซุ้ม | ก. บรรเลงทำนองเพลงสำเนียงลาวต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพนโดยเฉพาะ. |
ออกภาษา | น. เพลงที่บรรเลงขับร้องทำนองออกสำเนียงภาษาต่างชาติ เช่น ออกภาษาแขก จีน ญวน ซึ่งนิยมใช้บรรเลงต่อท้ายเพลง ๓ ชั้นหรือเพลงเถา, ถ้าบรรเลงครบ ๑๒ ภาษา เรียกว่า ออกสิบสองภาษา. |
ออกลูกหมด | ก. การบรรเลงต่อท้ายเพลงด้วยทำนองสั้น ๆ ก่อนลงจบ. |
Kinds | ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, Example: ตัวอย่าง DE1234A1 หมายถึงคำโฆษณาที่ยื่นขอเปิดเผยให้สาธารณะตรวจสอบ ส่วน DE1234C1 หมายถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ได้รับอนุมัติของสำนักงานสิทธิบัตรเยอรมนี [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] |
protocol | 1. พิธีการทูต 2. พิธีสาร " 1. พิธีการทูต หมายถึง หลักปฏิบัติ หรือมารยาททางการทูต (etiquette) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในนานาประเทศจนกลายเป็นรูปแบบที่ใช้กันในงานพิธีการ หรือรัฐพิธีต่าง ๆ รวมถึงเรื่องเอกสิทธิ์ ความคุ้มกัน ลำดับอาวุโส ฯลฯ ทั้งนี้ บุคคลซึ่งเป็นหัวหน้ารับผิดชอบด้านพิธีการทูต เรียกว่า Chief of Protocol สำหรับประเทศไทย คือ อธิบดีกรมพิธีการทูต ส่วนเจ้าหน้าที่พิธีการทูต เรียกว่า protocol official 2. พิธีสาร เป็นความตกลงระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง โดยมากเป็นพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาหรืออนุสัญญา หรือพิธีสารแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาหรืออนุสัญญานั้น " [การทูต] |
War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] |
addition | (อะดิช' เชิน) n. การเพิ่ม, การบวก, สิ่งที่เพิ่มเข้าไป, ชื่อที่เพิ่มต่อท้ายชื่อนามสกุล. |
affix | (อะฟิคซฺ') vt. ติด, ติดกับ, ประทับ, เพิ่มใส่, ใส่ (ความ) -n. สิ่งที่ติดใส่, ส่วนผนวก, คำต่อท้าย, คำนำหน้า. -affixal, affixial adj. -affixer n., Syn. fasten, attach, Ant. split |
alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
codicil | n. บันทึกเพิ่มเติมของพินัยกรรม, ภาคผนวก, ส่วนต่อท้าย, See also: codicillary adj. ดูcodicil |
suffix | (ซัฟ'ฟิคซฺ) n. คำเสริมท้าย, คำต่อท้าย, อาคม, ปัจจัย, สิ่งต่อท้าย, เครื่องหมายต่อท้าย. vt. ต่อท้าย, เสริมท้าย, เติมปัจจัย., See also: suffixal adj. suffixion n. suffixation n. |
tag | (แทก) n. หัวหุ้มปลายเชือกผูกรองเท้า, หูหลังรองเท้า, แผ่นกลม, โลหะกลม, ป้ายติดราคา, สายโยง, สายคาด, ชายหรือปลายหางของสิ่งหนึ่ง ๆ , สิ่งต่อท้าย, บทลูกคู่, ฉายา, การเล่นไล่จับของเด็ก vt. ติดป้ายบอกราคา, ติดแผ่นกลม, ติดกระจุก, ต่อ, ติดตาม, ต่อท้าย, ทำให้รวมกัน, ประมาณ, ไล่หลัง, ป้ายระบุหมายถึงรหัสที่ใส่ในแฟ้มข้อมูล หรือใช้ในเรื่องของโครงสร้างข้อมูล (data structure) ที่จะเป็นตัวบ่งบอกว่า จะต้องมีการตีความเรื่องนั้น ๆ อย่างไร ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ นิยมใช้ป้ายระบุนี้ด้วยจุดประสงค์ต่าง ๆ กัน คำสั่งในภาษา HTML ก็นิยมให้ใช้ป้ายระบุนี้ดู HTML ประกอบ |
terminator | (เทอ'มะเนเทอะ) n. ผู้ยุติ, สิ่งที่อยู่ท้าย, สิ่งต่อท้าย, ผู้อยู่ตอนปลาย, เส้นแบ่งเขตความมืดและความสว่างของดาวนพเคราะห์ |
addendum | (n) ภาคผนวก, บทเสริม, บทต่อท้าย |
affix | (n) สิ่งเพิ่มเติม, ภาคผนวก, คำต่อท้าย |
append | (vt) ผนวก, เพิ่มเติม, ต่อท้าย, แนบท้าย |
appendix | (n) ภาคผนวก, ไส้ติ่ง, ส่วนต่อท้าย |
suffix | (n) อาคม, วิภัตติ, ปัจจัย, คำต่อท้าย |
suffix | (vt) ต่อท้าย, เติมท้าย, เติมปัจจัย |
tag | (vi, vt) ติดป้าย, ติดตาม, ต่อท้าย, ประมาณ |
ぶり | [ぶり, buri] (prep) ต่อท้ายคำแสดงเวลาเพื่อให้มีแปลว่าไม่เกิดขึ้นในระยะเวลานั้น เช่น 28年ぶりに金メダルを獲得した ได้รับเหรียญทองหลังจากที่ไม่ได้รับมา 28 ปี |
夫妻 | [ふさい, fusai] (n) สามีภรรยา ใช้เรียกคู่สามีภรรยารวมกัน โดยนำไปต่อท้ายนามสกุล เช่น 鈴木夫妻(すずきふさい) |
様 | [さま, sama] (n) ใช้ต่อท้ายชื่อหรือคำนาม แสดงถึงความยกย่อง (คล้ายกับท่าน, คุณ, Mr., Mrs., Miss), ให้เกียรติสูงกว่าการเติม -san ตัวอย่างการใช้ เช่น 皆様 (mina sama) พวกท่านทั้งหลาย |
殿下 | [でんか, denka] (n) ใช้ต่อท้ายคำเรียกเจ้าชายและเจ้าหญิง เช่น 皇太子殿下(こうたいしでんか) |
陛下 | [へいか, heika] (n) ใช้ต่อท้ายคำเรียกพระจักรพรรดิและพระจักรพรรดินี เช่น 天皇陛下(てんのうへいか) |
なんちゃって | [なんちゃって, nanchatte] (phrase) อธิบาย: เป็นคำใช้ล้อเลียน หรือเวลาต้องการพูดล้อเล่น ติดตลก แปลได้หลายอย่าง เช่น ไม่ใช่ซะกะหน่อย ซะอย่างงั้น กลายเป็นงั้นไป ฯลฯ ตัวอย่างการใช้ ใช้ต่อท้ายประโยคหรือบทพูด เพื่อจะบอกว่าสิ่งที่พูดมาทั้งหมดโม้ หรือโกหก |
産 | [さん, san] (n) คุณ นาย นาง น.ส. (เรียกต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ) |
訓 | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อของเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ 産) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
さん | [さん, san] (n) คุณ นาย นาง น.ส. (เรียกต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ) |
くん | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อของเด็กผู้ชาย) |
さん | [さん, san] (n) คุณ นาย นาง น.ส. (เขียนต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเด็กหญิง ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเเด็กชาย) |
人 | [じん, jin] (n) ชาว คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่าสัญชาติ) |
さん | [さん, san] (n) คุณ, นาย, นาง, น.ส. (เรียกต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
さん | [さん, san] (n) คุณ, นาย, นาง, น.ส. (เขียนต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ) |
ちゃん | [ちゃん, chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กชาย) |
君 | [くん, kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กชาย) |
人 | [じん, jin] (n) ชาว, คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่าสัญชาติ) |
さん | [さん, san, san , san] (n) คุณ, นาย, นาง, น.ส. (เขียนต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ) |
ちゃん | [ちゃん, chan, chan , chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อของเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん) |
くん | [くん, kun, kun , kun] (n) หนู (เรียกต่อท้ายชื่อเด็กชาย) |
人 | [じん, jin, jin , jin] (n) ชาว, คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่า "สัญชาติ") |
際 | [さい, sai, sai , sai] (n) อายุ (เขียนต่อท้ายตัวเลข เพื่อแสดงอายุ) |
番号 | [ばんごう, bangou] (n) หมายเลข (หมายเลขโทรศัพท์, หมายเลขเขียนต่อท้ายคำหรือประโยค) |
御中 | [おんちゅう, onchuu] คำต่อท้ายชื่อหน่วยงาน ในการจ่าหน้า ในกรณีที่ไม่ระบุชื่อบุคคล |