กมล-, กมลา | (กะมะละ-, กะมะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. |
กระบวน | น. หมู่คนหรือพาหนะเป็นต้นที่จัดเป็นแถวเป็นแนวหรือเป็นหมวดเป็นหมู่ตามแบบแผน เช่น กระบวนพยุหยาตรา กระบวนทัพ, แบบแผน เช่น กระบวนหนังสือไทย, ชั้นเชิง เช่น ทำกระบวน งามกระบวนเนตรเงาเสน่ห์งำ |
กุมาร-ลฬิตา | (กุมาระละลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๒ คณะ คือ ช คณะ และ ส คณะ และเติมครุข้างท้ายอีก ๑ คำ หรือ ๑ พยางค์ จึงมีบาทละ ๗ คำ หรือ ๗ พยางค์ (ตามแบบว่า กุมารลฬิตาชฺสฺคา) ตัวอย่างว่า อนึ่งนุชมีจิต สนิทกรุณะเปรมปรี ดิสวามิมะนะภักดี ภิบาลบมิอนาทร (ชุมนุมตำรากลอน). |
กุสุมวิจิตร | น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน). |
กุสุมิตลดาเวลลิตา | (กุสุมิตะละดาเวนลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๖ คณะ คือ ม คณะ ต คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ บาทละ ๑๘ คำ หรือ ๑๘ พยางค์ (ตามแบบว่า โม โต โน โย ยา กุสุมิตลตาเวลฺลิตากฺขุตฺวสีหิ) ตัวอย่างว่า มนตรีมาตย์ผู้ฉลาดมละ ทุจริตธรรม์ พึงผดุงสรร- พสิ่งสวัสดิ์ (ชุมนุมตำรากลอน). |
เกณฑ์หัด | น. ทหารลูกหมู่เลกสมที่ให้หัดตามแบบทหารสมัยใหม่. |
เกวียนหลวง | น. มาตราตวงตามแบบราชการ มีอัตราเท่ากับ ๒, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๒ กิโลลิตร, อักษรย่อว่า กว. |
เข้าตำรา | ก. ถูกแบบแผน, ตรงตามแบบอย่างที่เคยมีมา, ถูกกับเรื่องราวที่เคยเล่ากันมา. |
เข้าแบบ, เข้าแบบเข้าแผน | ก. ถูกต้องตามแบบแผน, เป็นไปตามแบบ, เช่น ตัวละครเข้าแบบ. |
เข้าลิลิต | ก. สัมผัสคําระหว่างบทตามแบบการแต่งลิลิตที่กําหนดไว้ในตําราฉันทลักษณ์ เช่นคํา “สม” กับ “สนม” ในตัวอย่างต่อไปนี้
| (ตะเลงพ่าย). |
|
ต้มเค็ม | น. ชื่ออาหารคาวอย่างหนึ่ง ใช้ปลาหรือเนื้อสัตว์อื่นมีหมูเป็นต้น ใส่เครื่องปรุงมีซีอิ๊วขาว ขิง ผักกาดดองเค็ม เคี่ยวให้เปื่อย, ถ้าต้มตามแบบจีนมีรสเค็ม แต่ถ้าต้มตามแบบไทยมีรสหวานเค็ม. |
ตามเพรง | ว. ตามแบบอย่างที่เคยทำมาแต่เก่าก่อน. |
ทุตวิลัมพิตมาลา | (ทุตะวิลำพิตะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย. |
โทธก | (-ทก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๑ พยางค์ กำหนดด้วย ภะคณะ ภะคณะ ภะคณะ และครุ ๒ พยางค์ ตามลำดับเหมือนกันทุกบาท (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย (ชุมนุมตำรากลอน). |
ธง | น. ผืนผ้ารูปสี่เหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม โดยมากเป็นสีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ทำด้วยกระดาษและสิ่งอื่น ๆ ก็มี สำหรับ (๑) ใช้เป็นเครื่องหมายบอกชาติ ตำแหน่งในราชการ โดยมีกำหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ทัพนายกอง. (๒) ใช้เป็นเครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกที่ตั้งกองบรรเทาทุกข์, ธงขาว บอกความจำนนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้, ธงเหลือง บอกเป็นเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย, ธงแดง บอกเหตุการณ์อันเป็นภัย. (๓) ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคารการค้า และอื่น ๆ. (๔) ใช้เป็นอาณัติสัญญาณ. (๕) ใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ในงานรื่นเริง. (๖) ใช้ถือเข้ากระบวนแห่ |
นอกครู | ก. ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา. |
นอกคอก | ว. ประพฤติไม่ตรงตามแบบตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ. |
ปฏิญาณ | ก. ให้คำมั่นสัญญา โดยมากมักเป็นไปตามแบบพิธี เช่น พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณของข้าราชการเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา. |
ปั๊ม | ก. ใช้เครื่องที่เป็นแบบพิมพ์ตอกลงหรือกดลงบนกระดาษหรือโลหะเป็นต้นให้มีรูปหรือลวดลายตามแบบพิมพ์นั้น เช่น ปั๊มตรา ปั๊มกระดุม, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปั๊มแบงก์ ปั๊มเงิน |
แปรไข้ | น. วิธีรักษาโดยวางยาตามแบบแพทย์แผนโบราณ เพื่อบรรเทาโรคหนักให้เบาลง. |
พระพิมพ์ | น. พระเครื่องที่สร้างขึ้นตามแบบแม่พิมพ์. |
พลี ๑ | (พะลี) น. การบวงสรวง, เครื่องบวงสรวง, ส่วย, การบูชา, (ตามแบบมี ๕ คือ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ, อติถิพลี ต้อนรับแขก, เปตพลี ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย, ราชพลี ถวายเป็นหลวง มีเสียภาษีอากรเป็นต้น, เทวตาพลี ทำบุญอุทิศให้เทวดา, และแบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ ธรรมพลี อุทิศกุศลให้ และ อามิสพลี ให้สิ่งของ). |
พิธีรีตอง | น. งานพิธีตามแบบตามธรรมเนียม. |
มัชฌิมประเทศ | (มัดชิมะ-, มัดชิม-) น. ประเทศอินเดีย, ตามแบบหมายถึงอินเดียตอนกลาง. |
ยศอย่าง | น. การทำตามแบบอย่างผู้มียศ, การถือยศ ถือศักดิ์. |
ยำสลัด | น. ยำชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด. |
รายงานตัว | ก. รายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามแบบพิธี โดยบอกชื่อ นามสกุล ยศ ตำแหน่ง หน้าที่ และภารกิจที่ต้องรับผิดชอบ. |
ลักลั่น | ว. ขาดความเป็นระเบียบทำให้เกิดเหลื่อมลํ้าไม่เป็นไปตามกฎตามแบบตามลำดับเป็นต้น เช่น ทำงานลักลั่น เครื่องใช้ต่างชุดต่างสำรับใช้ปนกันดูลักลั่น. |
ลำลอง | ว. ตามสบาย, ตามอำเภอใจ, (ใช้แก่การแต่งกายซึ่งไม่ต้องให้เป็นไปตามแบบ) เช่น แต่งตัวลำลอง. |
ศิษย์นอกครู | น. ศิษย์ที่ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา. |
สเต๊ก | (สะ-) น. ชื่ออาหารคาวชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยเนื้อสันหรือปลาเป็นต้น หั่นชิ้นใหญ่ ๆ มักปรุงรส แล้วนำไปย่างหรือทอด กินกับมันฝรั่งทอด บดหรือต้ม และผักบางชนิด ใส่เครื่องปรุงรสตามชอบ. |
สลัด ๑ | (สะหฺลัด) น. ชื่อยำชนิดหนึ่งตามแบบชาวตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด สลัดมีหลายชนิด เช่น สลัดผัก สลัดเนื้อสัน สลัดแขก. |
สลัดผลไม้ | น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยผลไม้หลายชนิด หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ราดด้วยน้ำเชื่อมหรือครีม หรือใช้โรยหน้าไอศกรีม. |
สวนญี่ปุ่น | น. สวนที่จัดตามแบบญี่ปุ่น มีสิ่งประดับที่สำคัญคือ ไม้ดอก ไม้ใบ สะพาน โคม เป็นต้น. |
หล่อ | ก. เทโลหะเหลวหรือขี้ผึ้งเหลวเป็นต้นลงในแม่พิมพ์ แล้วทิ้งให้แข็งเป็นรูปตามแบบ (มักใช้ในงานประติมากรรมและอุตสาหกรรม) เช่น หล่อพระพุทธรูป หล่อกระทะ หล่อกระบอกปืนใหญ่ |
หัวเก่า | ว. นิยมของเก่า, นิยมตามแบบเก่า, (ปาก) ครึ, ไม่ทันสมัย. |
หัวโบราณ | ว. นิยมตามแบบเก่าแก่, (ปาก) ครึมาก, ล้าสมัย. |
หัวสมัยใหม่ | ว. นิยมของใหม่, นิยมตามแบบใหม่, ตรงข้ามกับ หัวเก่า |
หัวใหม่ | ว. นิยมของใหม่, นิยมตามแบบใหม่, ตรงข้ามกับ หัวเก่า |
หางหงส์ ๑ | เรียกเครื่องประดับที่ทำเป็นรูปคล้ายหางหงส์ติดตั้งอยู่ปลายรวยระกา หรือปลายตะเข้สันหลังคาของโบสถ์และพระที่นั่งเป็นต้นตามแบบสถาปัตยกรรมไทย. |
แหล่ ๒ | (แหฺล่) ก. เทศน์มหาชาติเป็นทำนองตามแบบในแต่ละกัณฑ์. |
อสีตยานุพยัญชนะ | (อะสีตะยานุพะยันชะนะ) น. ลักษณะน้อย ๆ ในร่างกายของผู้ที่เป็นพระมหาบุรุษมี ๘๐ อย่าง คือ ผู้ที่จะเป็นพระมหาบุรุษต้องสมบูรณ์ด้วยลักษณะสำคัญ ๓๒ อย่าง ซึ่งเรียกว่า มหาปุริสลักษณะ มีรอยพระบาทเป็นลายรูปจักรและอื่น ๆ ตามแบบเป็นต้น และสมบูรณ์ด้วยอสีตยานุพยัญชนะ. |
อีหรอบ | (-หฺรอบ) น. ยุโรป หมายความว่า ฝรั่ง เช่น ดินอีหรอบ เข้าอีหรอบ หมายความว่า ทำตามแบบฝรั่ง. |
Commissioning | การเริ่มดำเนินงาน, กระบวนการทดสอบการทำงานของระบบและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงการทดลองเดินเครื่องของโรงงานนิวเคลียร์ก่อนได้รับอนุญาตให้เดินเครื่อง เพื่อตรวจสอบว่าตรงตามแบบและเกณฑ์สมรรถนะที่ต้องการ [นิวเคลียร์] |
Uranium series | อนุกรมยูเรเนียม, อนุกรมกัมมันตรังสีของนิวไคลด์ที่เริ่มต้นจากยูเรเนียม-238 และได้ผลผลิตสุดท้ายเป็น ตะกั่ว-206 นิวไคลด์ที่มนุษย์ผลิตได้หลายชนิดจะสลายตามแบบอนุกรมนี้เช่นกัน (ดู decay radioactive, radioactive series ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Thorium series | อนุกรมทอเรียม, อนุกรมกัมมันตรังสีของนิวไคลด์ที่เริ่มต้นจากทอเรียม-232 และได้ผลผลิตสุดท้ายเป็น ตะกั่ว-208 นิวไคลด์ที่มนุษย์ผลิตได้หลายชนิดจะสลายตามแบบอนุกรมนี้เช่นกัน (ดู radioactive decay และ radioactive series ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
นอกคอก | ประพฤติไม่ตรงตามแบบตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ, Example: คำที่มักเขียนผิด นอกครอก [คำที่มักเขียนผิด] |
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] |
conventional weapons | อาวุธตามแบบ/อาวุธธรรมดา หมายถึง อาวุธที่ไม่ใช่อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง ตัวอย่างเช่น ปืน รถถัง ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล [การทูต] |
Cope Rearrangements | การเปลี่ยนแปลงใหม่ภายในโมเลกุลตามแบบของโคป [การแพทย์] |
Copy | การเขียนตามแบบ, เขียนตามแบบ, ลอกแบบ [การแพทย์] |
Fission, Binary | การแบ่งตัวตามแบบของบัคเตรี, เพิ่มจำนวนโดยแยกตัวเป็นสอง, การแบ่งตัวแบบไบนารีฟิชชัน [การแพทย์] |
computer-aided manufacturing (CAM) | คอมพิวเตอร์ช่วยการผลิต, การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการแปลงภาพร่าง 2 มิติ หรือ 3 มิติ ที่ได้ออกแบบไว้ให้เป็นรหัสควบคุมเครื่องจักรทางอุตสาหกรรม เพื่อให้เครื่องจักรทำการสร้างชิ้นงานตามแบบที่กำหนด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
doggerel | adj. ตลก, เลว, ไม่ถูกต้องตามแบบแผน, หยาบ.n. บทกวีตลกที่ไม่ถูกต้องตามแบบแผน, Syn. doggrel |
model | (โม'เดิล) n. แบบ, หุ่นจำลอง, ตัวอย่าง, บุคคลตัวอย่าง, สิ่งที่เป็นตัวอย่าง, แบบโครงสร้าง adj. เป็นตัวอย่าง. v. สร้างตามแบบ, สร้างแบบ, แสดง, สร้างหุ่น., See also: modeler n. modeller n., Syn. standard |
pro forma | (โพรโฟร'มะ, โพร์ฟอร์'มะ) (Latin) ตามแบบ |
proforma balance sheet | n. งบดุลตามแบบ |
regular | (เรก'กิวละ) adj. ปกติ, ธรรมดา, สามัญ, เป็นประจำ, สม่ำเสมอ, เป็นกิจวัตร, ตามกฎ, มีกฎเกณฑ์, มีระเบียบ, ตามระเบียบ, ตามแบบแผน, ถูกต้องตามกฎเกณฑ์, เกี่ยวกับทหารประจำการ, (กาแฟ) มีปริมาณปกติของนมหรือครีม n. ลูกค้าประจำ, ทหารอาชีพ, ทหารประจำการ, สมาชิกพรรคที่ยึดถือนโยบายของพรรค |
regularly | (เรก'กิวเลอลี) adv. โดยปกติ, ตามธรรมดา, เป็นประจำ, ตามแบบแผน |