ดักแด้ | (n) chrysalis, See also: pupa, Syn. แดกแด้, แด็กแด้, Example: ผีเสื้อจะชักใยไหมให้เป็นปลอกห่อหุ้มตัวดักแด้นี้ไว้, Thai Definition: ชื่อตัวอ่อนระยะสุดท้ายของแมลงหลายชนิดที่สร้างเปลือกแข็งหุ้มตัวเพื่อที่จะเจริญวัยเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ระยะนี้จะเป็นระยะอยู่นิ่งกับที่และไม่กินอาหาร มีรูปร่างต่างกัน เช่น รูปไข่ รูปยาวรี |
ดักแด้ ๑ | น. ชื่อตัวอ่อนระยะสุดท้ายของแมลงหลายชนิด มีรูปร่างเปลี่ยนไปจากตัวหนอน บางชนิดสร้างปลอกหุ้มตัวรูปร่างแตกต่างกัน เช่น รูปไข่ รูปกลม รูปกระสวย ทำด้วยเส้นใย เศษใบไม้ หรือดิน เพื่อเจริญไปเป็นตัวเต็มวัย ระยะนี้อยู่กับที่ไม่กินอาหาร, แดกแด้ หรือ แด็กแด้ ก็เรียก. |
ดักแด้ ๒ | ก. ลำบากเต็มแย่, ขัดสนเต็มแย่. |
ดาโป้งเป้ง | น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Nepidae ที่พบบ่อยอยู่ในสกุล Laccotrephesเช่น ชนิด L. ruberLinn. และ L. robustus Stål ลำตัวยาว ๓-๔ เซนติเมตร มีหางยาวยื่นออกมา ๒ เส้น ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ ขาคู่หน้าแข็งแรง จับสัตว์น้ำขนาดเล็กเช่นลูกน้ำหรือดักแด้ยุงกิน, มวนแมงป่องน้ำ หรือ แมลงดาโป้งเป้ง ก็เรียก, พายัพเรียก ดากลั้นเยี่ยว หรือ ดาเยี่ยว, อีสานเรียก แมงฮอด อีงอด งอดน้ำ หรือ กะโซ่น้ำ, ปักษ์ใต้เรียก แมลงจิ้มฟันจระเข้ หรือ แมลงดาขี้ควาย. |
แดกแด้, แด็กแด้ | ดู ดักแด้. |
บุ้ง ๑ | น. ชื่อหนอนผีเสื้อกลางคืนหลายชนิดหลายวงศ์ ในอันดับ Lepidoptera มีขนอ่อนปกคลุมตามตัว เมื่อถูกตัวจะเกิดระคายเคือง เมื่อเจริญวัยเปลี่ยนเป็นดักแด้และออกมาเป็นผีเสื้อกลางคืน เช่น ชนิด Leucoma ochripesMoore ในวงศ์ Lymantriidae, ชนิด Ceratonotos transiensWalker ในวงศ์ Arctiidae. |
ร่าน ๑ | น. ชื่อหนอนผีเสื้อกลางคืนหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ Limacodidae มีขนแข็งคล้ายหนามปกคลุมทั้งตัวหรือเป็นกระจุก ปลายขนมีต่อมน้ำพิษเมื่อถูกตัวจะเกิดอาการปวดแสบปวดร้อน เมื่อเจริญวัยเปลี่ยนเป็นดักแด้และออกมาเป็นผีเสื้อกลางคืน เช่น ชนิด Parasa lepida (Cramer), ชนิด Miresa albipuncta (Herrich-Schäffer), เขียวหวาน ก็เรียก. |
วงจรชีวิต | น. การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ. |
ไหม ๑ | น. ชื่อผีเสื้อชนิด Bombyx mori ในวงศ์ Bombycidae ตัวอ้วนป้อมมีขนสีขาวและสีครีมคลุมเต็ม ปีกมีลายเส้นสีนํ้าตาลอ่อนพาดตามขวางหลายเส้น ตัวหนอนสีขาวหรือสีครีม มีรยางค์เล็ก ๆ สั้น ๆ คล้ายเขาที่ปลายหาง กินใบหม่อนได้อย่างเดียว เมื่อโตเต็มที่จะถักใยหุ้มดักแด้ ซึ่งใยนี้สามารถสาวเป็นเส้นไหมนำมาทอเป็นเสื้อผ้าได้, ใยของสัตว์ชนิดนี้ก็เรียกว่า ไหม |
อ้ายโม่ง | น. ชื่อเรียกดักแด้ยุง ในวงศ์ Culicidae ส่วนหัวและอกขยายใหญ่ มีท่อหายใจ ๒ ท่ออยู่บนส่วนอก ต้องขึ้นมาหายใจที่ผิวน้ำ เคลื่อนไหวได้รวดเร็ว. |
Coarctate | ดักแด้แบบโคอาร์ดเตท [การแพทย์] |
Eclosion | การออกจากคราบดักแด้เป็นตัวยุง [การแพทย์] |
Exarates | ดักแด้แบบเอ๊กซาเรท [การแพทย์] |
metamorphosis | เมทามอร์โฟซิส, กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปเป็นขั้น ๆ จากตัวอ่อนจน ถึงตัวโตเต็มวัย เช่น การเจริญเติบโตของตัวไหมซึ่งเปลี่ยนแปลงจากไข่เป็นหนอน (ตัวอ่อน) ดักแด้ และตัวโตเต็มวัยตามลำดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ดักแด้ | [dakdaē] (n) EN: chrysalis ; silkworm ; worm FR: chrysalide [ f ] |
ดักแด้ | [dakdaē] (n) EN: Silkworm Pupae |
ดักแด้ไหม | [dakdaē mai] (n, exp) EN: Silkworm Pupae |
ปลอกดักแด้ | [pløk dak daē] (n) EN: cocoon FR: cocon [ m ] |
ตัวดักแด้ | [tūa dak daē] (n) EN: pupa FR: chrysalide [ f ] ; nymphe [ f ] |
stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera |
chrysalis | (n) ดักแด้ |
cocoon | (n) รังไหมดิบ, See also: ดักแด้, Syn. chrysalis, pupa, silky case |
pupa | (n) ดักแด้, Syn. cocoon, chrysalis |
pupate | (vi) กลายเป็นดักแด้ |
spinneret | (n) อวัยวะส่วนสร้างเส้นใย, See also: ตัวอ่อนของดักแด้ |
webworm | (n) ตัวดักแด้ |
armyworm | (อาร์'มีเวอม) n. ตัวดักแด้ของผีเสื้อกลางคืนจำพวก Pseudaletia unipuncta มันมักเคลื่อนที่เป็นกลุ่มใหญ่และทำลายพืชผัก |
chrysalid | (คริส'ซะลิด) n., adj. (เกี่ยวกับ) ตัวดักแด้, ตัวแก้ว, ด้วง, ตัวหนอน |
chrysalis | (คริส'ซะลิส) n. ตัวดักแด้, ตัวแก้ว, ด้วง, ตัวหนอน -pl. chrysalises, chrysalides |
cocoonery | n. ห้องเลี้ยงดักแด้ |
larva | (ลาร์'วะ) n. ดักแด้, ตัวอ่อน, หนอนตัวอ่อน. adj., See also: larval adj. pl. larvae |
obtect | (ออบเทคท) adj. (ตัวดักแด้) |
pupa | (พิว'พะ) n. ดักแด้ pl. pupae, pupas |
caterpillar | (n) หนอนแก้ว, หนอนผีเสื้อ, ดักแด้, ตัวบุ้ง, ตัวด้วง, ตีนตะขาบ |
chrysalid | (n) ดักแด้, หนอน, ด้วง |
chrysalis | (n) ดักแด้, หนอน, ด้วง |
larva | (n) หนอนแมลง, ดักแด้, ตัวอ่อน |
pupa | (n) ดักแด้ |
Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |