ชวา | (n) Java, Example: ชวาเป็นเกาะที่สำคัญเกาะหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย, Thai Definition: ชื่อเกาะสำคัญที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย |
ชัชวาล | (v) be bright, See also: be brilliant, be blazing, be splendid, be shining, be ablaze, be luminous, Syn. สว่าง, รุ่งเรือง, Ant. มืดมิด, หมองมัว |
ราโชวาท | (n) king's instruction, See also: the instructions or speeches made by the king, royal instruction, Thai Definition: คำสั่งสอนของพระราชา., Notes: (บาลี) |
ผักตบชวา | (n) Water hyacinth, See also: Eichornia speciosa, Syn. ผักป่อง, ผักสามหาว, Example: ในคลองมีผักตบชวาเป็นแพ, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้น้ำในวงศ์ Pontederiaceae มี 2 ชนิด คือชนิด Monochoria hastata Solms ขึ้นตามท้องนาที่แฉะและน้ำนิ่ง ดอกสีน้ำเงิน ยอดอ่อนและดอกกินได้, ราชาศัพท์เรียกว่า ผักสามหาว, และชนิด Eichhornia crassipes Solms ขึ้นตามลำน้ำทั่วไป ดอกสีม่วงอ่อน เรียกว่า ผักตบชวา |
พระบรมราโชวาท | (n) royal guidance/tutelage, Example: ..ความสงบความรู้ความเข้าใจคือหลักใหญ่ในการพัฒนา” คือ พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Count Unit: องค์, Thai Definition: ถ้อยคำที่พระมหากษัตริย์แนะนำตักเตือนหรือสั่งสอน มักกล่าวแก่ที่ประชุม |
กรรมชวาต | (กำมะชะวาด) น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์ (ปฐมสมโพธิกถา), เขียนเป็น กรรมัชวาต ก็มี. |
กรรมัชวาต | (กำมัดชะ-) ดู กรรมชวาต ที่ กรรม ๑, กรรม- ๑. |
กระจอกชวา | น. ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Lonchura oryzivora (Linn.) วงศ์ย่อย Estrildinae ในวงศ์ Passeridae ปากหนารูปกรวย หัวสีดำ แก้มสีขาว ตัวสีเทาอมฟ้า ท้องสีส้ม หางเว้าตื้น มีถิ่นกำเนิดในเกาะชวาและเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เคยนำมาเลี้ยงใช้เสี่ยงทาย จึงเรียกว่า นกหมอดู. |
กระยาคชวาง | (-คดชะวาง) น. ข้าวสำหรับบำบวงเชือกบาศ เป็นพิธีของพระหมอเฒ่าในการรับช้างเผือก. |
กลองชวา | ดู กลองแขก. |
กัมมัชวาต | (กำมัดชะวาด) น. กรรมชวาต, ลมเบ่ง. |
ชวา ๑ | (ชะ-) น. ชื่อเกาะสำคัญที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย, (โบ) ใช้ว่า ยะวา ก็มี, เรียกประชาชนที่พูดภาษาชวา ว่า ชาวชวา |
ชวา ๑ | ชื่อปี่ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ปี่ชวา. |
ชวา ๒ | น. กุหลาบ เช่น งามฉวีคือชวาน่าใคร่ (กนกนคร). |
ชวาล | (ชะ-) น. ความรุ่งเรือง, เปลวไฟ, โคมไฟ |
ชวาล | ความสว่าง. ว. ซึ่งลุกโพลง, สว่างโพลง. |
ชวาลา | น. เครื่องตามไฟชนิดหนึ่ง ทำด้วยทองเหลือง มีรูปอย่างหม้อขนาดย่อม ๆ สำหรับใส่น้ำมัน มีพวยต่อออกมาข้าง ๆ ๒ พวยบ้าง ๓ พวยบ้าง ใส่ด้ายดิบเป็นไส้ ใช้จุดไฟ และประกอบกับแกนรับหม้อใส่น้ำมันตั้งบนถาด ใช้ได้ทั้งตั้งและแขวน เช่น ถับถึงคฤหาสน์หอทอง ชวาลาเรืองรองรยับด้วยรัตนรัศมี (สรรพสิทธิ์). |
ชัชวาล | (ชัดชะวาน) ว. สว่าง, รุ่งเรือง, โพลงขึ้น. |
ปี่ชวา | (-ชะวา) น. ชื่อปี่ชนิดหนึ่งที่ได้แบบมาจากชวา รูปร่างลักษณะทุกอย่างคล้ายปี่ไฉน แต่มีขนาดใหญ่และยาวกว่า. |
ผักตบชวา | ดู ตบ ๑. |
ราโชวาท | น. คำสั่งสอนของพระราชา ใช้ว่า พระบรมราโชวาท. |
ราโชวาท | ดู ราช ๑, ราช-. |
วิภัชวาที | น. ผู้จำแนกธรรมแต่ละหัวข้อตามเหตุและผลแห่งธรรมนั้น โดยคำนึงถึงนิสัยของผู้ฟังเป็นที่ตั้ง. |
สละชวา | ดู สละ ๒. |
กรอก ๒ | (กฺรอก-) น. ชื่อนกยางขนาดเล็ก ในวงศ์ Ardeidae นอกฤดูผสมพันธุ์เพศผู้และเพศเมียสีลำตัวคล้ายกัน แต่ในฤดูผสมพันธุ์สีต่างกัน ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ ยางกรอกพันธุ์จีน [ Ardeola bacchus (Bonaparte) ] หัวสีนํ้าตาลแดง หลังสีเทาดำ อกสีแดง ยางกรอกพันธุ์ชวา [ A. speciosa (Horsfield) ] หัวและคอสีเหลือง หลังสีเทาดำ อกสีเหลือง และยางกรอกพันธุ์อินเดีย [ A. grayii (Sykes) ] หัวและคอสีเหลือง หลังสีแดงเข้ม อกสีน้ำตาลเหลือง กินปลาและสัตว์น้ำ. |
กระยา | น. เครื่อง, สิ่งของ, เครื่องกิน, เช่น เทียนธูปแลประทีปชวาลา เครื่องโภชนกระยา สังเวยประดับทุกพรรณ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ครั้งกรุงเก่า), เขียนเป็น กรยา ก็มี เช่น พระไพรดมานโฉม นุบพิตรแลงผอง มนตรอัญสดุดิยฮอง กรยานุถกลทาบ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ขุนเทพกะวีแต่ง). |
กริช | (กฺริด) น. อาวุธชนิดหนึ่ง เป็นของชาวชวาและมลายู มีลักษณะด้ามโค้ง มักทำเป็นรูปหัวสัตว์ คล้ายมีด ๒ คม ปลายแหลม ใบมีดตรงก็มี คดไปคดมาก็มี. |
กลองแขก | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปยาวทรงกระบอก มี ๒ หน้า หน้าหนึ่งใหญ่ เรียกว่า หน้ารุ่ย อีกหน้าหนึ่งเล็ก เรียกว่า หน้าต่าน เดิมใช้เส้นหวายผ่าซีกเป็นสายโยงเร่งเสียง แต่ปัจจุบันนิยมใช้สายหนังเหมือนกลองมลายู ชุดหนึ่งมี ๒ ลูก ลูกเสียงสูงเรียกว่า ตัวผู้ ลูกเสียงต่ำเรียกว่า ตัวเมีย, กลองชวา ก็เรียก. |
กะหลาป๋า ๑ | น. ชื่อเมืองในเกาะชวาสมัยโบราณ ต่อมาเรียก ปัตตาเวีย, ปัจจุบันคือ จาการ์ตา |
กะหลาป๋า ๒ | น. ชื่อชมพู่พันธุ์หนึ่งของชนิด Syzygium samarangense (Blume) Merr. et L. M. Perry ผลสีเขียว รสหวาน เรียกว่า ชมพู่กะหลาป๋า เป็นพรรณไม้ชวา. |
เขา ๓ | น. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Columbidae ปากสั้นตรงปลายโค้งเล็กน้อย ขนลำตัวสีเทาหรือเทาอมน้ำตาล ขนปีกมีลาย ขาสีชมพู มักอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง กินเมล็ดพืชบนพื้นดิน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น เขาใหญ่หรือเขาหลวง [ Streptopelia chinensis (Scopoli) ] เขาลายเล็ก [ Macropygia ruficeps (Temminck) ] เขาเขียว [ Chalcophaps indica (Linn.) ] เขาชวาหรือเขาเล็ก [ Geopelia striata (Linn.) ] . |
แขก ๒ | น. คำเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร. |
ฆ้องเหม่ง | น. ฆ้องขนาดเขื่องและหนากว่าฆ้องกระแต มีเชือกร้อยรูทั้ง ๒ ที่ใบฉัตร แขวนห้อยกับไม้สำหรับถือตีประกอบจังหวะร่วมกับวงปี่ชวา กลองมลายู หรือวงบัวลอยในงานศพ. |
ไฉน ๒ | (ฉะไหฺน) น. ชื่อปี่ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนปี่ชวาแต่เล็กและสั้นกว่า ใช้เป่านำหมู่กลองชนะ สำหรับประโคมในงานพระราชทานเพลิงศพที่ได้รับพระราชทานโกศเป็นต้น คนเป่าปี่นำ เรียกว่า จ่าปี่, สรไน ก็ว่า, ลักษณนามว่า เลา. |
ชาวี | น. ชาวชวามลายู เช่น กูนี้ปัติมโนโร นักเทศโทโอ- มสุชวาชาวี (สมุทรโฆษ). |
ตบ ๑ | น. ชื่อไม้นํ้าในวงศ์ Pontederiaceae มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Monochoria hastata (L.) Solms ขึ้นตามท้องนาที่แฉะและนํ้านิ่ง ดอกสีนํ้าเงิน ยอดอ่อนและดอกกินได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักสามหาว, ผักตบไทย ก็เรียก, และชนิด Eichhornia crassipes (Mart.) Solms ขึ้นตามลำนํ้าทั่วไป ดอกสีม่วงอ่อน เรียกว่า ผักตบชวา. |
ตรีพิธพรรณ | ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ข้าขอประณตน้อม กายวจี จิตนา ต่อพระตรีไตรรัตน์ โรจน์เรื้อง เป็นประทีปส่องศรี โลกชัชวาลนา กำจัดมืดมนธ์เปลื้อง สัตว์พ้นสงสาร (หลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร, ในจินดามณีเรียกตรีเพชรทัณฑี). |
ทะแยกลองโยน | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้ทำนองเพลงทะแย อัตรา ๒ ชั้น มาบรรเลง และตีกลองสองหน้า หน้าทับกลองโยน เลียนวิธีการตีกลองชนะในกระบวนแห่ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค ปี่ชวามักเป่าเพลงทะแยกลองโยนเข้ากับกลองชนะในกระบวนเสด็จ, ในการเทศน์มหาชาติใช้บรรเลงเป็นเพลงประจำกัณฑ์นครกัณฑ์, เรียกสั้น ๆ ว่า กลองโยน. |
นางหงส์ | น. ชื่อวงปี่พาทย์ไทยที่ผสมวงอีกแบบหนึ่ง ประกอบด้วยปี่ชวาและกลองมลายู สำหรับบรรเลงในงานศพ |
บาพก | (บา-พก) น. ไฟ, (โบ) ใช้ว่า บ่าพก ก็มี เช่น ผ้าช้อยช่นยยืน บ่าพกปืนชัชวาลย์ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). |
บาหลี ๒ | (-หฺลี) น. ชื่อเกาะหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย อยู่ทางตะวันออกของเกาะชวา, เรียกประชาชนชาวเกาะนั้น ว่า ชาวบาหลี. |
ประไหมสุหรี | (ปฺระไหฺมสุหฺรี) น. ตำแหน่งพระมเหสีที่ ๑ หรืออัครมเหสีของกษัตริย์ชวาในวงศ์อสัญแดหวา. |
ปัตตาเวีย ๑ | น. ชื่อเมืองในเกาะชวาสมัยโบราณ เดิมเรียกว่าเมืองกะหลาป๋า, ปัจจุบันคือ จาการ์ตา. |
ปี่ | น. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า มีลิ้น ตัวปี่และเลาปี่ ทรงยาวกลวง มีรูสำหรับใช้นิ้วเปิดปิดบังคับเสียงสูงต่ำ มีหลายชนิด เช่น ปี่นอก ปี่ใน ปี่ไฉน ปี่ชวา, ลักษณนามว่า เลา เช่น ปี่ ๒ เลา. |
ปี่พาทย์นางหงส์ | น. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงเฉพาะในงานอวมงคล เรียกชื่อตามเพลงซึ่งใช้เป็นหลักในการบรรเลง คือ เพลงเรื่องนางหงส์ อัตรา ๒ ชั้น การประสมเครื่องดนตรีเหมือนวงปี่พาทย์ธรรมดาประสมกับวงบัวลอย แต่ใช้ปี่ชวาแทนปี่ใน ใช้กลองมลายูแทนตะโพนหรือกลองทัด. |
ผักสามหาว | น. คำสุภาพของผักตบชวา. |
มะเดหวี | (-หฺวี) น. ตำแหน่งพระมเหสีที่ ๒ ของกษัตริย์ชวาในวงศ์อสัญแดหวา, มะดีหวี ก็ว่า. |
มะโต | น. ตำแหน่งพระมเหสีที่ ๓ ของกษัตริย์ชวาในวงศ์อสัญแดหวา. |
มุหงิด | (-หฺงิด) น. ชื่อชนชาติชวามลายูในเกาะเซลีเบส, เรียกเพี้ยนเสียงเป็น ยุหงิด ก็มี. |
ยะวา | น. ชวา. |
ระแด | น. คนชาติข่าพวกหนึ่ง ในตระกูลชวา–มลายู อยู่ทางฝั่งซ้ายแม่นํ้าโขง. |
แรด ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Rhinocerotidae เป็นสัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่แต่ละขา มี ๓ นิ้ว ขาสั้น ตาเล็กสายตาไม่ดี หูตั้ง ประสาทรับฟังเสียงและดมกลิ่นดีมาก หนังหนา มีทั้งชนิดนอเดียวและ ๒ นอ กินพืช มักนอนในปลัก ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด ชนิดที่มีนอเดียว เรียกว่า แรดนอเดียวหรือแรดชวา (Rhinoceros sondaicus Desmarest) และชนิดที่มี ๒ นอ เรียกว่า กระซู่ [ Dicerorhinus sumatrensis (Fischer) ]. |
ลอยเป็นแพ | ก. ลอยพรืดไปเป็นจำนวนมาก ๆ เช่น ผักตบชวาลอยเป็นแพ. |
ลิกู | น. ตำแหน่งพระมเหสีที่ ๔ ของกษัตริย์ชวาในวงศ์อสัญแดหวา. |
แว่นแคว้น | น. แผ่นดินซึ่งมีขอบเขตเป็นปริมณฑล เช่น แว่นแคว้นตะนาวศรี ฝ่ายเขาเล่าก็สามพารา เป็นใหญ่ในชวาแว่นแคว้น (อิเหนา). |
Art, Javanese | ศิลปะชวา [TU Subject Heading] |
Irian Java (Indonesia) | อิเรียน ชวา (อินโนนีเซีย) [TU Subject Heading] |
Java (Indonesia) | ชวา [TU Subject Heading] |
Javanese (Indonesian people) | ชาวชวา [TU Subject Heading] |
Water hyacinth | ผักตบชวา [TU Subject Heading] |
Water hyacinth craft | หัตถกรรมผักตบชวา [TU Subject Heading] |
Estuary | ชวากทะเล หรือบริเวณปากแม่น้ำ, Example: บริเวณส่วนล่างของปากแม่น้ำที่มีความกว้าง มากกว่าปกติจนมีลักษณะ คล้ายอ่าว เป็นบริเวณที่น้ำจืดกับน้ำทะเลมาผสมกันเป็นน้ำกร่อยซึ่งมี ความเค็มอยู่ระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม กระแสน้ำขึ้นลงมีอิทธิพลสำคัญ ต่อลักษณะทางกายภาพและชีววิทยา บริเวณปากแม่น้ำซึ่งน้ำทะเลเข้าไปผสมกับน้ำจืด เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก มีอัตราการผลิต และผลผลิตสูง บริเวณปากแม่น้ำในส่วนต่าง ๆ ของโลก อาจมีผลผลิตแตกต่างกันไปตามสภาพภูมิอากาศ ลักษณะทางอุทกวิทยา และลักษณะธรณีสัณฐานของชายฝั่งทะเล [สิ่งแวดล้อม] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Echornia | ผักตบชวา [การแพทย์] |
Eichhornia Crassipes Solms | ผักตบชวา [การแพทย์] |
Endoneurium | ปลอกของชวานน์, เอนโดนิวเรียม [การแพทย์] |
node of Ranvier | โนดออฟแรนเวียร์, ช่องว่างระหว่างเซลล์ชวานที่หุ้มแอกซอนอยู่เป็นระยะ ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
myelin sheath | เยื่อไมอีลิน, เยื่อบาง ๆ ที่ล้อมรอบแอกซอนอยู่ เกิดจากเยื่อหุ้มเซลล์ชวาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Java-Weed | ผักตบชวา [การแพทย์] |
ชวา | [Chawā] (n, prop) EN: Java FR: Java |
ชวา | [Chawā] (adj) EN: Javanese FR: javanais |
เครื่องจักสานผักตบชวา | [khreūang jaksān phak top Chawā] (n, exp) EN: ? FR: ? |
ลิ่นชวา | [lin Chawā] (n, exp) EN: Sunda Pangolin |
นกเค้าชวา | [nok khao Chawā] (n, exp) EN: Peaceful Dove ; Zebra Dove FR: Géopélie zébrée [ f ] ; Colombe zébrée [ f ] ; Colombe striée [ f ] ; Tourterelle striée [ f ] ; Colombine zébrée [ f ] ; Tourterelle zébrée [ f ] |
นกขี้เถ้าพันธุ์ชวา | [nok khīthao phan Chawā] (n, exp) EN: Javan Cuckooshrike FR: Échenilleur de Java [ m ] |
นกกระจอกชวา | [nok krajøk Chawā] (n, exp) EN: Java Sparrow FR: Padda de Java ; Calfat de Java [ m ] ; Padda oryzivore ; Moineau de Java [ m ] ; Gros-bec padda [ m ] ; Calfat de Timor [ m ] |
นกปากกบพันธุ์ชวา | [nok pākkop phan Chawā] (n, exp) EN: Javan Frogmouth FR: Podarge de Java [ m ] |
นกยางกรอกพันธุ์ชวา | [nok yāng krøk phan Chawā] (n, exp) EN: Java Pond Heron FR: Crabier malais [ m ] |
ปาล์มชวา | [pām Chawā] (n, exp) EN: Anahaw palm ; Java palm |
ผักตบชวา | [phak top Chawā] (n) EN: water hyacinth FR: jacinthe d'eau [ f ] |
ภาษาชวา | [phāsā Chawā] (n, exp) EN: Javanese FR: javanais [ m ] |
แรดชวา | [raēt Chawā] (n, exp) EN: Javan Rhinoceros |