จัง | (adv) greatly, See also: extremely, exceedingly, Syn. มาก, ยิ่งนัก, เต็มที่, เต็มแรง, Ant. นิดหน่อย, เล็กน้อย, Example: เด็กๆ เหล่านี้กินเก่งจัง เห็นทีผมจะต้องหารายได้พิเศษเพื่อเอาเงินมาเลี้ยงพวกเขา |
จังไร | (v) be accursed, See also: be cursed, be doomed, be ill-fated, Syn. จัญไร, เลวทราม, Thai Definition: ไม่เป็นมงคล |
จังกอบ | (n) tax, See also: duty, port tax, Example: นอกจากการเกณฑ์แรงงาน เศรษฐกิจในสมัยอยุธยายังอยู่ได้ด้วยส่วย ฤชา จังกอบ และอากร, Thai Definition: ภาษีที่เรียกเก็บจากสินค้าและขนาดของพาหนะที่บรรทุก |
จังก้า | (adv) with leg widespread, Example: อย่าเพิ่งเข้าไปตอนนี้เลย เห็นหรือเปล่าว่าเขายืนจังกาอยู่ที่ประตูแน่ะ, Thai Definition: ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้ |
จังงัง | (v) be dazed, See also: be stunned, Syn. นิ่งงัน, ตะลึง, ตกตะลึง, Example: คำพูดของเขาทำให้เธอจังงังไปชั่วขณะ, Thai Definition: อาการที่ตกตะลึงนิ่งงันอยู่ |
จังหวะ | (n) chance, See also: opportunity, Syn. โอกาสอันควร, โอกาส, Example: เมื่อได้จังหวะที่เหมาะสม เราก็ต้องรีบจัดการแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว |
จังหวะ | (n) rhythm, See also: pattern of sounds or movements, Syn. จังหวะจะโคน, Example: เด็กๆ เต้นไปตามจังหวะของเพลง, Count Unit: จังหวะ, Thai Definition: ระยะที่สม่ำเสมอ, ระยะที่กำหนดไว้เป็นตอนๆ |
จริงจัง | (adv) seriously, See also: extremely, earnestly, Syn. จริงๆ, แท้จริง, แน่แท้, Ant. ล้อเล่น, เล่นๆ, Example: ตลาดแรงงานทางด้านซอฟต์แวร์ในประเทศไทยยังไม่ได้ถูกใช้งานอย่างจริงจัง |
จริงจัง | (v) be serious, See also: be earnest, Syn. แน่แท้, Ant. เล่นๆ, Example: เขาจริงจังกับทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต |
จังหน้า | (adv) utterly on the face, Syn. เต็มหน้า, เต็มที่, Example: หากไม่เจอกันจังหน้า เขาก็คงไม่ทักทายผมหรอก |
จังหรีด | (n) cricket, See also: leaping chirping insect, Syn. จิ้งหรีด, Example: ทุกวันนี้ไม่ค่อยมีใครได้ยินเสียงจังหรีดร้อง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: แมลงมีปีกชนิดหนึ่ง มักมีสีน้ำตาลแดง และขุดรูอยู่ใต้ดิน ตัวผู้มีอวัยวะทำเสียงเป็นฟันเล็กๆ อยู่ตามเส้นปีก ใช้กรีดกับแผ่นทำเสียงที่อยู่ที่ปีกอีกข้างหนึ่ง, Notes: (กวี) |
จังหวัด | (n) province, Example: เจ้าหน้าที่ตำรวจชุดหนึ่งเดินทางไปยังภาคเหนือ และกระจายกันอยู่หลายจังหวัด เช่น เชียงใหม่ ลำปาง แพร่, Count Unit: จังหวัด, Thai Definition: หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลายๆ อำเภอเข้าด้วยกัน และมีฐานะเป็นนิติบุคคล |
อนิจจัง | (adv) impermanent, See also: transient, unstable, Syn. ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน, Example: ทุกอย่างในโลกนี้ต้องเปลี่ยนแปลงเป็นอนิจจัง, Notes: (บาลี) |
อนิจจัง | (int) Alas!, Thai Definition: คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสารสังเวช |
ขัดจังหวะ | (v) interrupt, See also: break, Syn. สอดแทรก, ขัดคอ, พูดแทรก, Example: เขาชอบขัดจังหวะเพื่อนเวลาคุยกันทำให้เสียบรรยากาศ, Thai Definition: ขวางเข้ามาเพื่อไม่ให้ทำหรือพูดได้สะดวก |
คอยจังหวะ | (v) wait for the right moment, See also: wait for a chance, bide one's time, await a favorable opportunity, Syn. คอยโอกาส, Example: มือปืนเป็นคนมีสี มาจากต่างจังหวัด คอยจังหวะสะกดรอยตามนายวิทูรย์อยู่หลายวัน, Thai Definition: รอโอกาสเหมาะ |
ผิดจังหวะ | (adv) out of step, Example: เธอก้าวเท้าผิดจังหวะ, Thai Definition: ไม่ถูกจังหวะ |
ให้จังหวะ | (v) keep strokes, Example: ครูให้จังหวะนักเรียนในการร้องเพลงประสานเสียง, Thai Definition: คอยบอกจังหวะเป็นระยะที่สม่ำเสมอต่อเนื่องไป |
ได้จังหวะ | (v) be at right timing, See also: get a chance, Syn. ได้โอกาส, สบโอกาส, Example: เขาได้จังหวะตอนที่ทุกคนยุ่งหลบออกมา |
ได้จังหวะ | (v) get a chance, See also: have an opportunity, Syn. ได้โอกาส, สบโอกาส, Example: วันนี้ได้จังหวะเข้าไปขอพบท่านเพื่อขออนุญาตจัดงานเลี้ยงรับรองที่บริเวณหน้าวัง |
จังหวะลีลา | (n) rhythmics, See also: rhythm, Syn. จังหวะ, Example: การแต่งฉันท์ต้องพิจารณาเรื่องจังหวะลีลาเป็นสำคัญ เพราะประกอบด้วยเสียงหนักเบาหรือเสียงเน้น |
ปลงอนิจจัง | (v) realize the transitoriness of all things, See also: be disillusioned with impermanence, meditate on the impermanency of life, be filled with r, Syn. สังเวชใจ, Example: ข่าวอุบัติเหตุใหญ่ทำให้เรารู้สึกปลงอนิจจัง, Thai Definition: รู้สึกสังเวชใจว่าไม่น่าจะเป็นถึงเช่นนั้น |
ศาลจังหวัด | (n) provincial court, Example: อาทิตย์ที่จะถึงนี้ศาลฎีกาได้นัดฟังคำพิพากษาคดีทุจริตการเลือกตั้งที่ศาลจังหวัดสมุทรปราการ, Thai Definition: ศาลยุติธรรมประจำจังหวัดที่เป็นศาลชั้นต้น สามารถพิจารณาคดีได้ทุกตัวบทกฎหมาย |
สภาจังหวัด | (n) City Council, See also: Provincial Council, Example: สภาจังหวัดไม่ต้องวางเงินประกันการใช้ไฟฟ้า |
เข้าจังหวะ | (adv) rhythmically, Syn. ตามจังหวะ, Example: คู่เต้นรำทุกคู่บนฟลอร์เต้นได้เข้าจังหวะพร้อมเพรียงกันดี, Thai Definition: อย่างสอดคล้องกับจังหวะของดนตรี |
เป็นจังหวะ | (adv) rhythmically, Syn. มีลีลา, มีสัมผัส, คล้องจอง, Example: ผู้เข้าประกวดอ่านสุนทรพจน์ทุกคนอ่านได้เป็นจังหวะชวนให้ประทับใจ |
เป็นจังหวะ | (adv) intermittently, See also: periodically, Syn. เป็นช่วง, เป็นพักๆ, Example: ด้านส่งต้องหยุดเป็นจังหวะ เพื่อให้ทางด้านรับได้มีโอกาสโต้ตอบ |
ความจริงจัง | (n) seriousness, See also: earnestness, solemnity, gravity, Syn. ความเอาจริงเอาจัง, Example: ลูกน้องยกย่องความจริงจังในการทำงานของหัวหน้า |
ต่างจังหวัด | (adj) provincial, See also: up-country, out of town, Example: ทุกคนต่างก็บอกเป็นเสียงเดียวกันว่าคนใช้สมัยนี้หายากมาก เพราะคนต่างจังหวัดนิยมเข้าทำงานในโรงงานกันหมด, Thai Definition: ที่อยู่ในเขตพื้นที่ปกครองของประเทศที่ไม่ใช่เมืองหลวง |
ต่างจังหวัด | (n) province, See also: country, Example: เธอเลือกทำงานที่ต่างจังหวัดเพราะมีรายได้มาจุนเจือครอบครัวได้มากกว่าทำงานที่บ้านเกิดตัวเอง, Thai Definition: เขตพื้นที่ปกครองของประเทศที่ไม่ใช่เมืองหลวง |
ต่างจังหวัด | (adj) provincial, See also: upcountry, out of town, regional, inland, Ant. เมืองหลวง, Example: ทุกคนต่างก็บอกเป็นเสียงเดียวกันว่าคนใช้สมัยนี้หายากมากเพราะคนต่างจังหวัดนิยมเข้าทำงานในโรงงานกันหมด, Thai Definition: ที่อยู่ในเขตพื้นที่ปกครองของประเทศที่ไม่ใช่เมืองหลวง |
ต่างจังหวัด | (n) province, See also: country, Example: เธอเลือกทำงานที่ต่างจังหวัดเพราะมีรายได้มาจุนเจือครอบครัวได้มากกว่าทำงานที่บ้านเกิดตัวเอง, Thai Definition: เขตพื้นที่ปกครองของประเทศที่ไม่ใช่เมืองหลวง |
ต่างจังหวัด | (adj) provincial, See also: up-country, out of town, Example: ทุกคนต่างก็บอกเป็นเสียงเดียวกันว่าคนใช้สมัยนี้หายากมาก เพราะคนต่างจังหวัดนิยมเข้าทำงานในโรงงานกันหมด, Thai Definition: ที่อยู่ในเขตพื้นที่ปกครองของประเทศที่ไม่ใช่เมืองหลวง |
ประจำจังหวัด | (adj) provincial, Example: โรงเรียนแห่งนี้เป็นโรงเรียนชายประจำจังหวัดเดิม |
อย่างจริงจัง | (adv) seriously, See also: solemnly, conscientiously, Syn. อย่างเคร่งครัด, Example: ตลาดแรงงานทางด้านซอฟต์แวร์ในประเทศไทยยังไม่ได้ถูกใช้งานอย่างจริงจัง |
คนต่างจังหวัด | (n) countryman, See also: country person, rustic, rural person, Syn. คนบ้านนอก, คนชนบท, Ant. คนเมือง, คนกรุง, Example: หมอชิตเป็นที่ชุมนุมของคนต่างจังหวัดและเป็นย่านการขนส่งที่คับคั่ง, Count Unit: คน |
เอาจริงเอาจัง | (v) be serious, See also: be in earnest, be stern, be austere, be rigid, Syn. เอาจริง, จริงจัง, Ant. เหลาะแหละ, Example: ที่ประชุมไม่ได้เอาจริงเอาจังแต่อย่างใด, Thai Definition: ตั้งใจทำอย่างจริงจัง, ถือเอาเป็นแน่นอน |
เอาจริงเอาจัง | (adv) seriously, See also: earnestly, Syn. เอาจริง, จริงจัง, Ant. เหลาะแหละ, Example: ครั้งนี้เขาทำข้อสอบอย่างเอาจริงเอาจังมากกว่าครั้งที่ผ่านมา, Thai Definition: เกี่ยวกับอาการที่ตั้งใจทำอย่างจริงจัง, ถือเอาเป็นแน่นอน |
ศาลากลางจังหวัด | (n) city hall, Syn. ศาลาการ, Example: สำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัดฉะเชิงเทราตั้งอยู่ที่ศาลากลางจังหวัด, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: อาคารสำหรับเป็นที่ว่าราชการของจังหวัด |
เป็นจริงเป็นจัง | (adv) seriously, See also: earnestly, Syn. จริงจัง, เอาจริงเอาจัง, Example: การประมูลภาพเขียนยังไม่เคยมีใครจัดเป็นจริงเป็นจังเพราะอยู่ในวงแคบและคนสนใจมีจำกัด |
กิจกรรมเข้าจังหวะ | (n) rhythmic activities |
ศึกษาธิการจังหวัด | (n) provincial education officer, Example: ครูที่ทุจริตการสอบกำลังถูกศึกษาธิการจังหวัดสอบสวน, Thai Definition: ผู้ที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษา การศาสนา และการวัฒนธรรมในระดับจังหวัด |
อย่างเอาจริงเอาจัง | (adv) seriously, Syn. อย่างตั้งใจ, อย่างจริงจัง, Example: น้องอ่านหนังสือเตรียมสอบอย่างเอาจริงเอาจัง |
ผู้ว่าราชการจังหวัด | (n) provincial governor, Syn. ผู้ว่า, เจ้าเมือง, ผู้ว่าราชการ, ข้าหลวงประจำจังหวัด, Example: ในที่สุดก็ได้มีการย้ายผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรีออกจากพื้นที่, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: หัวหน้าข้าราชการส่วนภูมิภาคที่เป็นจังหวัด |
อย่างเป็นจริงเป็นจัง | (adv) really, See also: actually, tangibly, substantially, Syn. จริงจัง, เป็นล่ำเป็นสัน, Example: รัฐบาลจะต้องมีมาตรการเสริมในเชิงประหยัดพลังงานต่างๆ อย่างเป็นจริงเป็นจังอีกครั้ง |
กรมการจังหวัด | น. คณะกรมการจังหวัด |
กรมการจังหวัด | กรมการจังหวัดแต่ละคนที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรมการจังหวัด. (ดู คณะกรมการจังหวัด). |
กระจัง ๑ | น. ชื่อลายอย่างหนึ่ง อยู่ในรูปทรงสามเหลี่ยม ใช้เป็นลวดลายสำหรับเครื่องประดับที่อยู่บนชั้นหรือตามขอบของสิ่งบางอย่าง เช่น ชั้นฐานธรรมาสน์ กระจังมีหลายแบบ เช่น กระจังตาอ้อย กระจังเจิม กระจังปฏิญาณ, เครื่องประดับที่มีลวดลายชนิดนี้ เรียกว่า ตัวกระจัง ใช้ประดับบนลับแลและอื่น ๆ. |
กระจังหลังเบี้ย | น. ชื่อกระจังแบบหนึ่ง ด้านหน้านูนเหมือนเบี้ย. |
กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. |
กะจัง | ดู กระจัง ๒. |
ขัดจังหวะ | ก. แทรกเข้ามาในระหว่างร้องรำ |
ขัดจังหวะ | ขวางเข้ามาเพื่อไม่ให้ทำหรือพูดได้สะดวก. |
คณะกรมการจังหวัด | น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. |
จริงจัง | ว. แน่แท้ เช่น เชื่อถืออย่างจริงจัง, ไม่เป็นการเล่น เช่น ทำงานอย่างจริงจัง. |
จัง | ว. ยิ่งนัก เช่น เก่งจัง ร้อนจัง ของสิ่งนี้ถูกจัง |
จัง | เต็มที่, เต็มแรง, เช่น ชนกันเข้าอย่างจัง. |
จังหนับ | ว. เต็มที่, เต็มแรง, จั๋ง จำหนับ หรือ จ๋ำหนับ ก็ว่า. |
จังหน้า | ว. เต็มหน้า, เต็มที่, เช่น เจอเข้าจังหน้า โดนเข้าจังหน้า. |
จังกวด ๑ | น. จะกวด. |
จังกวด ๒ | ว. บ้า เช่น เฒ่าจังกวดกามกวน (ม. คำหลวง ชูชก). |
จังกอบ | น. ภาษีสินค้าผ่านด่าน, ภาษีปากเรือ, จกอบ ก็เรียก. |
จังกอบ | ก. ผูก, มัด, เชิงกอบ ก็เรียก. |
จังกอบเรือ | ดู ค่าปากเรือ. |
จังกา | น. ไม้ขาหยั่ง. |
จังก้า | ว. ลักษณะยืนตั้งท่าเตรียมสู้, ลักษณะที่ตั้งปืนกลเป็นต้นเตรียมพร้อมที่จะยิง. |
จังกูด | น. เครื่องถือท้ายเรือ คล้ายหางเสือ ทำด้วยไม้เป็นแผ่นใหญ่ รูปร่างคล้ายพาย มีด้ามยาว, จะกูด หรือ ตะกูด ก็เรียก. |
จังเก | น. สะเอว เช่น มือนวดแนบจังเก แกะพลิ้ว (โคลงพระยาตรัง). |
จังโกฏก์ | น. ผอบ. |
จังงัง | ว. อาการที่ตกตะลึงนิ่งงันอยู่. |
จังมัง | น. ไม้สำหรับขัดก้นกระบุงและตะกร้าทั้ง ๔ มุมให้แน่นและแข็งแรง. |
จังมัง | ว. แข็งแรง, จั้งมั่ง ก็ว่า. |
จังไร | ว. เลวทราม, เป็นเสนียด, ไม่เป็นมงคล, จัญไร ก็ว่า. |
จังลอน | น. ปลาหรือเนื้อโขลกปั้นเป็นก้อนหรือเป็นแผ่นเคี่ยวกับนํ้ากะทิ สำหรับกินกับขนมจีนซาวนํ้า, บางทีใช้โขลกปลาปั้นเป็นก้อนเสียบไม้ปิ้งไฟ เรียกว่า จังลอนแห้ง, แจงลอน ก็ว่า. |
จังเว็จ | (จังเหฺว็ด) น. เจว็ด. |
จังหรีด | น. จิ้งหรีด. (ดู จิ้งหรีด). |
จังหล่อ | น. จำหล่อ. |
จังหวะ | น. ระยะที่สม่ำเสมอ เช่น หัวใจเต้นเป็นจังหวะ, ระยะที่กำหนดไว้เป็นตอน ๆ เช่น เพลงจังหวะช้า จังหวะเร็ว พูดเป็นจังหวะ, โดยปริยายหมายความว่าโอกาสอันควร เช่น เจ้านายกำลังโกรธ ไม่มีจังหวะจะเข้าพบ. |
จังหวะจะโคน | น. จังหวะ. |
จังหวัด | น. หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกัน มีฐานะเป็นนิติบุคคล, (โบ) เมือง, หัวเมือง |
จังหวัด | ถิ่น, เขต, บริเวณ, เช่น อารามขึ้นคณะป่าแก้วในจังหวัดเมืองนครศรีธรรมราช (ประชุมพระตำราบรมราชูทิศเพื่อกัลปนา). |
จังหัน ๑ | น. ข้าว, อาหาร, (ใช้แก่พระสงฆ์). |
จังหัน ๒ | น. กังหัน. |
จังออน | น. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๘ กำมือ = ๑ จังออน และ ๒ จังออน = ๑ แล่ง. |
จิงจัง, จิ้งจัง | น. อาหารอย่างหนึ่ง ทำด้วยปลาเล็ก ๆ หมักเกลือกับข้าวคั่ว อย่างเดียวกับปลาจ่อม ใช้เป็นเครื่องจิ้ม, จุ้งจัง ก็ว่า. |
จุ้งจัง | น. อาหารอย่างหนึ่ง ทำด้วยปลาเล็ก ๆ หมักเกลือกับข้าวคั่ว อย่างเดียวกับปลาจ่อม ใช้เป็นเครื่องจิ้ม, จิงจัง หรือ จิ้งจัง ก็ว่า. |
ทองจังโก | น. ทองเหลืองที่ตีแผ่เป็นแผ่นบาง ลงรักแล้วปิดทองคำเปลว นิยมใช้หุ้มองค์พระเจดีย์ ป้องกันการผุกร่อน, ทองสักโก ก็ว่า. |
นครบาลจังหวัด | น. ผู้ว่าราชการจังหวัดในเขตนครหลวง. |
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด | น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบองค์การบริหารส่วนจังหวัด. |
ปลงอนิจจัง | ก. รู้สึกสังเวชใจว่าไม่น่าจะเป็นถึงเช่นนั้น. |
เป็นจริงเป็นจัง | ว. เป็นหลักฐานมั่นคง, เป็นชิ้นเป็นอัน, เป็นลํ่าเป็นสัน. |
ผู้ว่าราชการจังหวัด | น. ผู้รับนโยบายและคำสั่งจากราชการส่วนกลางมาปฏิบัติให้เหมาะสมกับท้องที่และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค. |
ศาลจังหวัด | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่ตั้งประจำในแต่ละจังหวัดหรือในบางอำเภอ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ. |
สมจริงสมจัง | ว. คล้ายกับที่เป็นจริงมาก เช่น เขาเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้ได้สมจริงสมจัง. |
องค์การบริหารส่วนจังหวัด | น. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด โดยทับซ้อนกับพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น มีอำนาจหน้าที่ในการประสานและร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น รวมตลอดทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขตพื้นที่ของตน. (ดู ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบ) |
processor interrupt | การขัดจังหวะตัวประมวล(ผล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
province | ๑. จังหวัด (ไทย)๒. มณฑล (ในบางประเทศ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
province | จังหวัด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
province | ๑. จังหวัด (ไทย)๒. มณฑล (ในบางประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Provincial Organization | องค์การบริหารส่วนจังหวัด (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prefecture | ศาลากลางจังหวัด (ฝรั่งเศส) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
programmable interrupt controller (PIC) | ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้ (พีไอซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
pulse, dropped-beat; pulse, intermittent | ชีพจรตกจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
PIC (programmable interrupt controller) | พีไอซี (ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
pulsate | รู้สึกเต้นเป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulsatile | -เต้นเป็นจังหวะได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulsation; throb; throbbing | ๑. การเต้นเป็นจังหวะ๒. ความรู้สึกเต้นเป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulsation welding | การเชื่อมแบบพัลส์, การเชื่อมพักจังหวะ [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
power stroke | จังหวะกำลัง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
power stroke | จังหวะกำลัง [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pacemaker | ตัวคุมจังหวะ, ส่วนคุมจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pacemaker, cardiac | ตัวคุมจังหวะหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulse, intermittent; pulse, dropped-beat | ชีพจรตกจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulse, allorhythmic | ชีพจรเสียจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
levy | ๑. จังกอบ, ภาษี๒. การเกณฑ์ทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rhythm | จังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rhythm | จังหวะ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rhythm method | วิธีรอจังหวะ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
rhythmical | -เป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rhythmicity | ความเป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rising rhythm | จังหวะขึ้น [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
surge drum | หม้อลดจังหวะความดัน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
systole, extra; extrasystole | การบีบตัวของหัวใจนอกจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suction stroke; inlet stroke; intake stroke | จังหวะดูด [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
suction stroke; inlet stroke; intake stroke | จังหวะดูด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
stroke | ๑. ระยะชัก๒. จังหวะ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automatic interrupt | การขัดจังหวะอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
allorhythmic pulse | ชีพจรเสียจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arrhythmia | ภาวะหัวใจเสียจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arrhythmic | เสียจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
biorhythm | จังหวะชีวภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
machine interruption | การขัดจังหวะเครื่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
cardiac pacemaker | ตัวคุมจังหวะหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
compression stroke | จังหวะอัด [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
compression stroke | จังหวะอัด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cess | ภาษีส่วนท้องถิ่น, จังกอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
circadian rhythm | จังหวะรอบวัน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
caesura | จังหวะหยุด [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cowl | โครงกระจังหน้ารถ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
department | ๑. กรม๒. จังหวัด๓. กระทรวง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dropped-beat pulse; pulse, intermittent | ชีพจรตกจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
département (Fr.) | จังหวัด (ฝรั่งเศส) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
four-cycle; four-stroke; four-stroke cycle | วัฏจักรสี่จังหวะ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
four-cycle; four-stroke; four-stroke cycle | วัฏจักรสี่จังหวะ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
four-cycle; four-stroke; four-stroke cycle | วัฏจักรสี่จังหวะ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Junction Box | จังชั่นบ็อก, Example: กล่องรวมสายไฟ ที่ติดอยู่ด้านหลังแผงเซลล์แสงอาทิตย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
P-N junction | พี-เอ็น จังก์ชั่น, Example: บริเวณสัมผัสสารกึ่งตัวนำต่างชนิดกันสองชั้น คือชั้นพีและเอ็น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Interrupt | ขัดจังหวะ [คอมพิวเตอร์] |
interactive media | สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ [Assistive Technology] |
Arrhythmias, Cardiac | ภาวะหัวใจเสียจังหวะ [TU Subject Heading] |
Circadian rhythms | จังหวะรอบวัน [TU Subject Heading] |
County budgets | งบประมาณจังหวัด [TU Subject Heading] |
County council members | สมาชิกสภาจังหวัด [TU Subject Heading] |
County councils | สภาจังหวัด [TU Subject Heading] |
County government | การบริหารส่วนจังหวัด [TU Subject Heading] |
Emblems, State | เครื่องหมายประจำจังหวัด [TU Subject Heading] |
Games with music | กิจกรรมเข้าจังหวะ [TU Subject Heading] |
Governors | ผู้ว่าราชการจังหวัด [TU Subject Heading] |
Gross state product | ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด [TU Subject Heading] |
Impermance (Buddhism) | อนิจจัง [TU Subject Heading] |
Metrics and rhythmics | การสัมผัสและจังหวะเสียง [TU Subject Heading] |
Musical meter and rhythm | อัตราจังหวะและจังหวะดนตรี [TU Subject Heading] |
Provincial emblems | สัญลักษณ์ประจำจังหวัด [TU Subject Heading] |
Provincial flowers | ดอกไม้ประจำจังหวัด [TU Subject Heading] |
Provincial trees | ต้นไม้ประจำจังหวัด [TU Subject Heading] |
Rhythm | จังหวะเสียง [TU Subject Heading] |
Two-stroke cycle engines ; Motors (Two-stroke cycle) | เครื่องยนต์สองจังหวะ [TU Subject Heading] |
Junk | ของเลิกใช้, จังค์, Example: สิ่งของที่ไม่ใช้แล้วและเก็บรวบรวมไว้ในที่ เดียวกัน พวกเครื่องใช้ในบ้าน รถเก่าพัง เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle | โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย " จัดตั้งในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน เมื่อกลางปี พ.ศ. 2535 โดยมีพื้นที่โครงการครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ คือ ไทย ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานี สตูล และนราธิวาส มาเลเซีย ได้แก่ 4 รัฐทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซีย (เคดาห์ เปอร์ลิส เปรัก และปีนัง) อินโดนีเซีย ได้แก่ 4 จังหวัดบนเกาะสุมาตรา (เขตปกครองพิเศษอาเจ่ห์) สุมาตราเหนือ สุมาตราตะวันตก และจังหวัดเรียว (Riau) " [การทูต] |
Joint Declaration for a Socially Cohesive and Caring ASEAN | ปฏิญญาร่วมว่าด้วยสังคมที่เป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรในอาเซียน เป็นคำประกาศของอาเซียนซึ่งมีการลงนามที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2543 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้มีการดำเนินโครงการด้านโครงข่ายรองรับทาง สังคมในภูมิภาคนี้ร่วมกันอย่างจริงจัง ในอันที่จะเป็นการนำอาเซียนไปสู่การเป็นสังคมที่มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้อ อาทรตามวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
point of order | ประท้วง หรือขัดจังหวะในระหว่างการประชุม หรือระหว่างการกล่าวถ้อยแถลงในเรื่องผิดข้อบังคับการประชุม [การทูต] |
Regional Operate Center | ศูนย์ปฏิบัติการร่วม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ROC เป็นโครงการนำร่อง ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศกระทรวงมหาดไทย สำนักงาน ก.พ.ร. และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2549 เพื่อพัฒนาการทำงานร่วมกันระหว่างเอกอัครราชทูตในประเทศเพื่อนบ้านกับผู้ว่า ราชการจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทำหน้าที่ประสานเชื่อมโยงการทำงานระหว่างเอกอัครราชทูตกับผู้ว่าราชการ จังหวัด เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ รวมทั้งให้บริการข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและงานวิจัยในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
sterile insect technique | การควบคุมจำนวนแมลงด้วยแมลงที่เป็นหมัน, คือ วิธีการควบคุมประชากรแมลง โดยใช้แมลงชนิดเดียวกันที่เป็นหมันด้วยรังสี โดยมีหลักการคือ นำแมลงม ทำให้เป็นหมันด้วยรังสีชนิดก่อไอออน แล้วปล่อยไปในธรรมชาติ แมลงตัวเมียที่ได้รับการผสมพันธุ์กับแมลงตัวผู้ที่เป็นหมัน จะไม่สามารถขยายพันธุ์ต่อไปได้ การควบคุมแมลงวิธีนี้ จะต้องปล่อยแมลงที่เป็นหมันจำนวนมากหลายรุ่นต่อเนื่องกัน จนกว่าประชากรแมลงลดลงหรือหมดไป ข้อดีของวิธีการนี้เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการใช้ยาฆ่าแมลง คือ ไม่มีสารพิษตกค้างในผลิตผลการเกษตร และไม่ทำลายแมลงที่เป็นประโยชน์ ประเทศไทยมีการใช้วิธีการนี้ควบคุมแมลงวันผลไม้ (Oriental fruit fly) ที่ดอยอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง และ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา [พลังงาน] |
Aerophobia | การสะดุ้งเป็นจังหวะ [การแพทย์] |
Anti-Arrhythmia Agents | ยาแก้หัวใจเต้นผิดจังหวะ, ยากดกล้ามเนื้อหัวใจ [การแพทย์] |
Antiarrhythmic Drugs | ยาต้านหัวใจเสียจังหวะ, ยารักษาการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ [การแพทย์] |
Appendicitis, Acute | หัวใจเต้นเสียจังหวะอย่างเฉียบพลัน [การแพทย์] |
Arrhythmia | ภาวะหัวใจเสียจังหวะ, หัวใจเต้นผิดจังหวะ, หัวใจเสียจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะ, หัวใจเต้นผิดปกติ, ชีพจรไม่สม่ำเสมอ, การเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจ, หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ, หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ, หัวใจเต้นจังหวะไม่สม่ำเสมอ [การแพทย์] |
Arrhythmia Surveillance | การเฝ้าระวังการเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจ [การแพทย์] |
Arrhythmia, Cardiac | หัวใจเต้นผิดจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ, การเต้นผิดปกติของหัวใจ, หัวใจเต้นผิดปกติ, หัวใจเสียจังหวะ, โรคหัวใจเต้นผิดปกติ, การเต้นของหัวใจเสียจังหวะ, การเต้นผิดปกติของหัวใจ, หัวใจเสียจังหวะ, คาร์ดิแอคอะริธเมีย, หัวใจเต้นผิดปกติ [การแพทย์] |
Arrhythmia, Common Cardiac | การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ [การแพทย์] |
Arrhythmia, Fetal Cardiac | หัวใจเด็กเต้นแบบเสียจังหวะ [การแพทย์] |
Arrhythmia, Supraventricular | หัวใจเต้นผิดจังหวะจากตำแหน่งเหนือต่อเวนตริเกิ้ล [การแพทย์] |
Arrhythmia, Ventricular | การเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจห้องล่าง, หัวใจเต้นผิดจังหวะจากเวนตริเกิ้ล [การแพทย์] |
Atrial Rhythm, Chronic Abnormal | จังหวะการเต้นผิดปกติของเอเตรียมเรื้อรัง [การแพทย์] |
Biological Rhythms | จังหวะทางชีวภาพ [การแพทย์] |
Breathing Exercises, Rhythmic Deep | การบริหารการหายใจเป็นจังหวะ [การแพทย์] |
Breathing, Biot's | หายใจไม่เป็นจังหวะ [การแพทย์] |
Cardiac Dysrhythmia | หัวใจเต้นผิดจังหวะ [การแพทย์] |
Circadian Rhythm | จังหวะเซอร์คาเดียน, การหลั่งตามรอบวัน [การแพทย์] |
Conjunctiva | คอนจังไตว่า, เปลือกตาด้านใน, เยื่อบุตา, เยื่อตาขาว, เยื่อตาขาว, บริเวณตาขาว, บริเวณเยื่อตาขาว, เยื่อตาขาว, เยื่อนัยน์ตา, เยื่อบุนัยน์ตา, เยื่อตา, เยื่อบุลูกตา, คอนจังติวา, เยื่อบุนัยน์ตา, เยื่อบุตาขาว [การแพทย์] |
อนิจจัง | [anitjang] (adj) EN: impermanent |
อนิจจัง | [anitjang] (interj) EN: alas! |
เอาจริงเอาจัง | [aojing-aojang] (v) EN: be serious ; be in earnest ; be stern ; be austere ; be rigid FR: prendre au sérieux |
อร่อยจัง | [arøi jang] (x) EN: very good ; delicious ; yummy FR: très bon ; délicieux ; succulent ; savoureux ; appétissant ; alléchant |
บ้านพักผู้ว่าราชการจังหวัด | [bānphak phūwārātchakān jangwat] (n, exp) EN: governor's official resident |
เบื่อจัง | [beūa jang] (v, exp) FR: j'en ai marre ! ; ras-le-bol ! |
ได้จังหวะ | [dāi jangwa] (v, exp) EN: be at right timing ; get a chance ; have an opportunity |
เด็กต่างจังหวัด | [dek tāngjangwat] (n, exp) EN: rustic boy ; country boy |
ดีจัง | [dī jang] (adj) EN: how good! ; how nice! FR: merveilleux |
หิวจังเลย | [hiū jang loēi] (v, exp) FR: avoir terriblement faim |
ใจร้ายจัง | [jairāi jang] (xp) EN: you are wicked ! ; how could you ! |
จัง | [jang] (adv) EN: greatly ; squarely ; quite ; extremely ; really ; truly ; indeed FR: vraiment ; totalement ; tout à fait ; tellement ; terriblement ; très |
จังเลย | [jang loēi] (adv) EN: really FR: vraiment |
จังงัง | [jang-ngang] (adj) EN: dazed ; stunned ; stock-still FR: hébété ; abasourdi ; assomé (fig.) |
จังหวะ | [jangwa] (n) EN: rhythm ; tempo ; phase ; timing ; swing ; cadence ; spacing ; step ; pace ; pulse FR: rythme [ m ] ; tempo [ m ] ; cadence [ f ] |
จังหวะลีลา | [jangwa lilā] (n) EN: rhythmics ; rhythm |
จังหวัด | [jangwat] (n) EN: province FR: province [ f ] |
จังหวัดอำนาจเจริญ | [Jangwat Amnāt Jaroēn] (n, prop) EN: Amnat Charoen province FR: province de Amnat Charoen [ f ] |
จังหวัดอ่างทอง | [Jangwat Āng Thøng] (n, prop) EN: Ang Thong province FR: province de Ang Thong [ f ] |
จังหวัดบุรีรัมย์ | [Jangwat Burīram] (n, prop) EN: Buri Ram province ; Buriram province FR: province de Buri Ram [ f ] ; province de Buriram [ f ] |
จังหวัดฉะเชิงเทรา | [Jangwat Chachoēngsao] (n, prop) EN: Chachoengsao province FR: province de Chachoengsao [ f ] |
จังหวัดชายแดน | [jangwat chāidaēn] (n, exp) EN: border province FR: province frontalière [ f ] |
จังหวัดชัยนาท | [Jangwat Chai Nāt] (n, prop) EN: Chai Nat province FR: province de Chai Nat [ f ] |
จังหวัดชัยภูมิ | [Jangwat Chaiyaphūm] (n, prop) EN: Chaiyaphum province FR: province de Chaiyaphum [ f ] |
จังหวัดเชียงใหม่ | [Jangwat Chīeng Mai] (n, prop) EN: Chiang Mai province ; Chieng Mai province FR: province de Chiang Mai [ f ] ; province de Chieng Mai [ f ] |
จังหวัดเชียงราย | [Jangwat Chīeng Rāi] (n, prop) EN: Chiang Rai province ; Chieng Rai province FR: province de Chiang Rai [ f ] ; province de Chieng Rai [ f ] |
จังหวัดชลบุรี | [Jangwat Chonburī] (n, prop) EN: Chonburi province ; Chon Buri province FR: province de Chonburi [ f ] ; province de Chon Buri [ f ] |
จังหวัดชุมพร | [Jangwat Chumphøn] (n, prop) EN: Chumphon province FR: province de Chumphon [ f ] |
จังหวัดจันทบุรี | [Jangwat Janthaburī] (n, prop) EN: Chanthaburi province FR: province de Chanthaburi [ f ] |
จังหวัดกาฬสินธุ์ | [Jangwat Kālasin] (n, prop) EN: Kalasin province FR: province de kalasin [ f ] |
จังหวัดกำแพงเพชร | [Jangwat Kamphaēng Phēt] (n, prop) EN: Kamphaeng Phet province FR: province de Kamphaeng Phet [ f ] |
จังหวัดกาญจนบุรี | [Jangwat Kānjānaburī] (n, prop) EN: Kanchanaburi province FR: province de Kanchanaburi [ f ] |
จังหวัดของประเทศไทย | [jangwat khøng Prathēt Thai] (n, exp) EN: province of Thailand FR: province de Thaïlande [ f ] ; province Thaïlandaise [ f ] |
จังหวัดขอนแก่น | [Jangwat Khøn Kaen] (n, prop) EN: Khon Kaen province FR: province de Khon Kaen [ f ] |
จังหวัดกระบี่ | [Jangwat Krabī] (n, prop) EN: Krabi province FR: province de Krabi [ f ] |
จังหวัดลำปาง | [Jangwat Lampāng] (n, prop) EN: Lampang province FR: province de Lampang [ f ] |
จังหวัดลำพูน | [Jangwat Lamphūn] (n, prop) EN: Lamphun province FR: province de Lamphun [ f ] |
จังหวัดเลย | [Jangwat Loēi] (n, prop) EN: Loei province FR: province de Loei [ f ] |
จังหวัดลพบุรี | [Jangwat Lopburī] (n, prop) EN: Lopburi province ; Lop Buri province FR: province de Lopburi [ f ] ; province de Lop Buri [ f ] |
จังหวัดแม่ฮ่องสอน | [Jangwat Mae Hǿng Søn] (n, prop) EN: Mae Hong Son province FR: province de Mae Hong Son [ f ] |
จังหวัดมหาสารคาม | [Jangwat Mahā Sārakhām] (n, prop) EN: Maha Sarakham province FR: province de Maha Sarakham [ f ] |
จังหวัดมุกดาหาร | [Jangwat Mukdāhān] (n, prop) EN: Mukdahan province FR: province de Mukdahan [ f ] |
จังหวัดนครนายก | [Jangwat Nakhøn Nāyok] (n, prop) EN: Nakhon Nayok province FR: province de Nakhon Nayok [ f ] |
จังหวัดนครปฐม | [Jangwat Nakhøn Pathom] (n, prop) EN: Nakhon Pathom province FR: province de Nakhon Pathom [ f ] |
จังหวัดนครพนม | [Jangwat Nakhøn Phanom] (n, prop) EN: Nakhon Phanom province FR: province de Nakhon Phanom [ f ] |
จังหวัดนครราชสีมา | [Jangwat Nakhøn Rātchasīmā] (n, prop) EN: Nakhon Ratchasima province FR: province de Nakhon Ratchasima [ f ] |
จังหวัดนครสวรรค์ | [Jangwat Nakhøn Sawan] (n, prop) EN: Nakhon Sawan province FR: province de Nakhon Sawan [ f ] |
จังหวัดนครศรีธรรมราช | [Jangwat Nakhøn Sī Thammarāt] (n, prop) EN: Nakhon Si Thammarat province FR: province de Nakhon Si Thammarat [ f ] |
จังหวัดน่าน | [Jangwat Nān] (n, prop) EN: Nan province FR: province de Nan [ f ] |
จังหวัดนราธิวาส | [Jangwat Narāthiwāt] (n, prop) EN: Narathiwat province FR: province de Narathiwat [ f ] |
accelerando | (adj) ที่ค่อยๆเพิ่มจังหวะดนตรีให้เร็วขึ้น |
accelerando | (adv) อย่างค่อยๆเพิ่มจังหวัดดนตรีให้เร็วให้ |
adjure | (vt) สั่งการ, See also: สั่งอย่างเอาจริงเอาจัง |
allegretto | (adv) ซึ่งมีจังหวะค่อนข้างเร็ว (ดนตรี) |
allegretto | (adj) ซึ่งมีจังหวะค่อนข้างเร็ว (ดนตรี) |
allegretto | (n) ดนตรีซึ่งมีจังหวะค่อนข้างเร็ว |
allegro | (adv) (ดนตรี) ซึ่งมีจังหวะที่สั่นและเร็ว |
allegro | (adj) (ดนตรี) ซึ่งมีจังหวะที่สั่นและเร็ว |
Ang Thong | (n) จังหวัดอ่างทอง |
Ayutthaya | (n) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, See also: อยุธยา |
backbeat | (n) จังหวะดนตรีที่หนักแน่น โดยเฉพาะจังหวะร็อก |
ballroom dancing | (n) การเต้นรำจังหวะบอลรูม |
Bangkok | (n) กรุงเทพมหานคร (เมืองหลวงของประเทศไทย), See also: บางกอก, จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
beat | (vt) (ชีพจร) เต้นเป็นจังหวะ, See also: หอบ, ใจ เต้น, เต้นเป็นจังหวะ |
beat | (n) จังหวะ |
bent | (adj) แน่วแน่, See also: จริงจัง |
blues | (n) เพลงช้าที่มีจังหวะหนัก (เพลงบลูส์) |
bluesy | (adj) ซึ่งมีจังหวะหนัก ช้าและเศร้า |
bandy about | (phrv) พูดถึงอย่างไม่จริงจัง |
bandy around | (phrv) พูดถึงเกี่ยวกับบางสิ่งอย่างไม่จริงจัง |
bandy round | (phrv) พูดถึงเกี่ยวกับบางสิ่งอย่างไม่จริงจัง |
barge in | (phrv) ขัดจังหวะอย่างไม่สุภาพ (คำไม่เป็นทางการ) |
barge into | (phrv) ขัดคอ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ขัดจังหวะ การพูด |
be beyond a joke | (idm) เลิกเล่นสนุก, See also: เอาจริงเอาจังเกินไป, เลิกตลก, Syn. be past a joke |
be past a joke | (idm) จริงจังเกินไป, See also: เลิกเล่นตลก, เลิกสนุกสนาน, Syn. be beyond a joke, go beyond |
be well away | (idm) โชคดี, See also: มีจังหวะดี, มีตำแหน่งเหมาะสม |
botch up | (phrv) ทำลวกๆ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ทำเล่นๆ, ทำไม่จริงจัง, ทำไม่ระวัง, Syn. mess up |
break in | (phrv) ขัดจังหวะ, Syn. burst in, cut in |
break in on | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: แทรก, Syn. burst in on |
break in upon | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: แทรก, Syn. burst in on |
break into | (phrv) ขัดจังหวะ |
bung in | (phrv) ขัดจังหวะ (คำไม่เป็นทางการ), See also: พูดแทรก |
burst in on | (phrv) รีบขัดจังหวะ, Syn. break in on |
butt in | (phrv) พูดขัดจังหวะ |
cadence | (n) จังหวะ, Syn. rhythm |
castanets | (n) เครื่องให้จังหวะชนิดหนึ่งเป็นไม้ 2 อันประกบกันมีรูปร่างคล้ายเปลือกหอย (ทำให้เกิดเสียงโดยถือไม้ทั้งสองอันไว้ในมือแล้วตีให้เกิดเสียง), Syn. bones, clappers |
Chachoengsao | (n) จังหวัดฉะเชิงเทรา |
Chainat | (n) จังหวัดชัยนาท |
Chaiyaphum | (n) จังหวัดชัยภูมิ |
Chanthaburi | (n) จังหวัดจันทบุรี |
Chiang Mai | (n) จังหวัดเชียงใหม่ |
Chiangrai | (n) จังหวัดเชียงราย |
Chonburi | (n) จังหวัดชลบุรี |
continuation | (n) การเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง (หลังจากถูกขัดจังหวะ) |
cool | (adj) ซึ่งมีจังหวะที่ผ่อนคลาย (บทเพลง) |
countryman | (n) คนต่างจังหวัด, Syn. rustic, farmer |
countryseat | (n) คฤหาสน์ในต่างจังหวัด |
countryside | (n) ชนบท, See also: บ้านนอก, ต่างจังหวัด, Syn. rural area, rural district |
cut in | (phrv) ขัดจังหวะ |
cut off | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: พูดแทรก, ทำให้หยุดพูด, Syn. interrupt, intrude |
a gogo | (อาโก' โก) มากเท่าที่คุณต้องการ, ไม่มีขอบเขต, เดินเพ่นพ่าน, จังหวะเต้นรำอะโกโก้, เวที่เต้นรำจังหวะอะโกโก้, Syn. a Go go, a go-go, au gogo |
accentual | (แอคเซน' ชวล) adj. เกี่ยวกับการเน้นเสียงหนัก, ซึ่งเป็นจังหวะ. -accentuality n. |
adjunct | (แอด' จังคฺ) n., adj. สิ่งเสริม, สิ่งเพิ่มเติม, ผู้ช่วย, ส่วนประกอบ, บทเพิ่ม, Syn. appendage |
adjunctive | (อะจังคฺ' ทิฟว) adj. เป็นสิ่งประกอบหรือส่งเสริม, คำเสริม, ส่วนสังกัด |
adjuncton | (อะจังคฺ' เชิน) n. การอยู่ติดกัน, การอยู่ข้างเคียง (addition to an adjunct) |
alack | (อะแลค') interj. อนิจจา, อนิจจัง. |
allegretto | (แอลลิเกรท' โท) adj., n. (pl. -tos) ซึ่งมีจังหวะเบาและค่อนข้างเร็ว (ดนตรี) , - n. จังหวะที่เบาและค่อนข้างเร็ว |
allegro | (อะเล' โกร) adj., n. (pl. -gros) สั้นและเร็ว (จังหวะดนตรี) -n. การเคลื่อนที่ที่สั้นและเร็ว (จังหวะ) |
allemande | (แอล' ลิมานดฺ) n., (pl. -mandes) การเต้นรำในศตวรรษที่ 17-18 ที่มีจังหวะคู่ที่ช้า, ดนตรีที่อาศัยหลักการเต้นรำดังกล่าว |
amhara | (อามฮา' รา) n. ราชอาณาจักรโบราณในอาฟริกาตะวันออกเดี๋ยวนี้เป็นจังหวัดหนึ่งในเอธิโอเปีย |
andante | (แอนแดน' ที) adj. ค่อนข้างช้าและแรียบ (เสมอ) . จังหวะช้า ๆ (walking) |
andantino | (แอนแดนที' โน) n., adj. adv. จังหวะที่ค่อนข้างเร็วกว่า andante, ค่อนข้างเร็วกว่า andante |
apropos | (แอพระโพ') adv., adj. เหมาะสม, ถูกจุดประสงค์, ถูกจังหวะ, Syn. opportunely |
arrhythmia | (อะริธ'เมีย) n. ภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ, ภาวะไม่ได้จังหวะ., Syn. arrhythmia, arythmia, arythmia -arrhythmia al |
arsis | (อาร์'ซิส) n., (pl. -ses) จังหวะขึ้น, จังหวะเมา, พยางค์เสียงหนัก (ในโคลงกลอนภาษาอังกฤษ |
azerbijan | (อาเซอะไบแจน') n. ชื้อดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย, ชื่อจังหวัดในอิหร่าน., Syn. Azerbaidzhan |
bandmaster | (แบนมาส'เทอะ) n. ผู้นำจังหวะวงดนตรี |
baton | n. ตะบอง, กระบอง, ไม้ของผู้นำจังหวะดนตรี, คทา, ไม้ต่อแรงของการวิ่งผลัด |
beat | (บีท) { beat, beaten, beating, beats } vt. ตี, เคาะ, หวด, ตบ, เฆี่ยน, กระทบ, รบชนะ, พิชิต, ฟัน, ดีกว่า, เก่งกว่า, โกง, ค้นหา n. จังหวะ, การเต้น, เสียงเดินติ๊ก ๆ ของนาฬิกา, ทางเดินปกติ, การเน้น adj. เหนื่อยอ่อน |
beguine | (บิกีน') n. ชื่อการเต้นรำชนิดหนึ่งในอาฟริกาใต้, จังหวะบิกิน |
business | (บิซ'ซิเนส) n. ธุรกิจ, การค้า, เรื่องที่ยากลำบาก, เรื่องที่ถือว่าสำคัญและเอาจริงเอาจัง, ธุระ, สถานการณ์, ภาระหน้าที่, การงาน -Id. (mean business) เอาจริง adj. เกี่ยวกับธุรกิจการค้า |
businesslike | adj. เกี่ยวกับธุรกิจ, มีประสิทธิภาพ, เอาจริงเอาจัง |
cadence | (แคด'เดินซฺ) { cadenced, cadencing, cadences } n. ท่วงทำนองดนตรี, จังหวะในการพูด, จังหวะ, ท่วงทำนอง vt. ให้จังหวะ, ทำเป็นจังหวะ, See also: cadent, cadential adj., Syn. beat |
cadency | (แคด'เดินซี่) n. จังหวะ, ท่วงทำนอง, ความสัมพันธ์ของสมาชิกวงศ์ตระกูล |
cadent | (แคด'เดินทฺ) adj. เป็นจังหวะ, เป็นท่วงทำนอง, ซึ่งกำลังตก |
calypso | (คะลิพ'โซ) n. จังหวะคาลิพโซ, นางฟ้าในนวนิยาย |
cha-cha | (ชา'ชา) n. จังหวะเต้นรำ ชะ-ชะ-ชะ |
city hall | n. ศาลากลางจังหวัด |
clapper n. | คนตบมือ, สิ่งที่กระทบและเกิดเสียงดัง, ไม้ตีจังหวะ, |
click | (คลิค) 1. { clicked, clicking, clicks } n. เสียงดังกริ๊ก, กลอนสปริง, ตัวดึง, เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก, เปล่งเสียงดังกริ๊ก, กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก, กระทำสำเร็จ, ประสานกันได้ดี, สอดคล้อง, ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก, กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ |
clock ticks | สัญญาณนาฬิกาหมายถึง จังหวะช่วงเวลาที่นาฬิกาเดิน (ติ๊ก) ซึ่งจะเป็นช่วงที่แน่นอนสม่ำเสมอ ในแต่ละช่วงเดินของนาฬิกาที่เรียกว่า "ติ๊ก" นั้น คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่ง และจะหยุดทำงานในช่วงว่างระหว่างติ๊ก ยิ่งช่วงติ๊กนี้ถี่เท่าใด ก็ยิ่งแปลว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเร็วเท่านั้น สัญญาณนาฬิกานี้ จึงถือเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความ เร็วของการเดินของนาฬิกา หรือความถี่นี้วัดกันเป็นเมกะเฮิรตช์ (megahertz) 1 เมกะเฮิรตซ์ จะเท่ากับ 1 ล้านติ๊กของนาฬิกาต่อ 1 วินาที คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซีในยุคปัจจุบันนั้นมีหน่วยความจำที่ทำงานด้วยความเร็ว ถึงประมาณ 33-66 เมกะเฮิร์ตซ์ |
conjunct | (คันจังคฺ', คอน'จังคฺ) adj. ซึ่งรวมกัน, ซึ่งเกิดจากการรวมกัน, See also: conjunctly adv., Syn. conjoined |
conjunction | (คันจังคฺ'เชิน) n. สันธาน, การร่วมกัน, การชุมนุมกัน, การบังเกิดขึ้นพร้อมกัน, Syn. association |
conjunctiva | (คอนจังคฺไท'วะ) n. เยื่อตาขาว -pl. conjunctivas, conjunctivae |
conjunctive | (คอนจังคฺ'ทิฟว) adj. ซึ่งเชื่อมกัน, ซึ่งรวมกัน n. สันธาน connective |
conjunctivitis | (คอนจังคฺทิไว'ทิส) n. เยื่อตาขาวอักเสบ |
conjuncture | (คอนจังคฺ'เชอะ) n. การรวมกัน, การเชื่อมผนึก, เหตุการณ์ทั้งหลายรวมกัน, ภาวะฉุกเฉิน, See also: conjunctural adj. ดูconjuncture, Syn. concatenation, juncture, connection |
department | (ดิพาร์ท'เมินทฺ) n. แผนก, ภาค, กอง, กรม, ทบวง, กระทรวง, เขต, จังหวัด., See also: departmental adj. ดูdepartment, Syn. section |
dimeter | (ดิม'มิเทอะ) n. โคลง, กลอน, ฉันท์-กาพย์-ที่มี2จังหวะ |
disjunct | (ดิสจังคฺ') adj. ซึ่งแยกออกจากกัน, หลุดจากกัน, ไม่ต่อเนื่อง, Syn. disjoined, separated |
disjunctive | (ดิสจังคฺ'ทิฟว) n. ซึ่งมีลักษณะที่แยกออก. |
doer | (ดู'เออะ) n. ผู้กระทำ, ผู้ปฏิบัติ, ผู้ทำงานอย่างจริง ๆ จัง ๆ |
double-click | คลิกคลิกกดเมาส์สองครั้ง (เร็ว ๆ) หมายถึง การใช้นิ้วชี้กดบนปุ่มของเมาส์สองครั้งในจังหวะติด ๆ กัน อาจเป็นคำสั่งเรียกโปรแกรม หรือคำสั่งเปิดแฟ้มข้อมูล ก็ได้ ดู click ประกอบ |
down-to-earth | adj. ซึ่งเป็นความจริง, จริงจัง, ตามความเป็นจริง, Syn. practical |
drum | (ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum |
duple | (ดิว'เพิล) adj. ซึ่งมี2 (ส่วน, เท่า, จังหวะ) , คู่ |
earnest | (เอิร์น'นิสทฺ) adj. จริงจัง, เอาใจ, ตั้งใจจริง, ซึ่งมีความกระตือรือร้นจริง, สำคัญมาก, ซึ่งควรได้ความสนใจมาก. n. ความจริงจัง, ความตั้งใจจริง, See also: earnestly adv. earnestness n. ดูearnest, Syn. serious |
eurhythmic | (ยูริธ'มิค) adj. เป็นจังหวะดี, ซึ่งได้สัดส่วน., Syn. eurythmic, eurhythmical |
fanfold paper | หมายถึง กระดาษที่พับไว้อย่างปราณีต เพื่อประโยชน์ใน การใช้ อย่างต่อเนื่อง ในบางครั้ง จะเรียกว่า กระดาษต่อเนื่อง (continuous paper) กระดาษชนิดนี้จะมีรูเจาะไว้ทั้งสองข้าง เพื่อให้ได้เกาะเกี่ยวกับฟันเฟือง ของเครื่องพิมพ์เป็นระยะ ๆ ทำให้การเคลื่อนตัวได้ฉาก และเป็นจังหวะอย่างดี (ไม่บิดเบี้ยว) |
flippant | adj. ทะลึ่ง, ทะเล้น, ไม่จริงจัง, ซึ่งเป็นการหยอกเล่น, ไร้มารยาท, สะเพร่า., See also: flippancy n. |
bandmaster | (n) ผู้นำจังหวะ, วาทยากร |
beat | (n) การตี, ความชนะ, จังหวะ, การเต้น |
burgh | (n) เมือง, หัวเมือง, จังหวัด, เทศบาลเมือง |
cadence | (n) จังหวะ, ท่วงทำนอง, เสียงต่ำ |
candid | (adj) จริงจัง, ตรงไปตรงมา, เปิดเผย, ไม่มีอคติ |
canton | (n) ตำบล, อำเภอ, จังหวัด, เมือง, มณฑล |
cess | (n) ภาษี, จังกอบ, ดวง, โชค |
CITY city hall | (n) ศาลากลางจังหวัด |
civic | (adj) เกี่ยวกับพลเมือง, เกี่ยวกับเมือง, ของจังหวัด, ของเทศบาล |
cockswain | (n) สรั่ง, คนบอกจังหวะเรือ |
county | (n) มณฑล, จังหวัด, อำเภอ, เขตการปกครอง |
department | (n) ภาค, แผนก, กระทรวง, กรม, กอง, ทบวง, จังหวัด, เขต |
downright | (adj) จริงจัง, ชัดแจ้ง, โดยสิ้นเชิง |
downright | (adv) อย่างจริงจัง, อย่างแท้ๆ, ทีเดียว, อย่างสิ้นเชิง, เต็มที่ |
drum | (vi) ตีกลอง, เคาะกลอง, เคาะจังหวะ |
earnest | (adj) เอาจริงเอาจัง, จริงจัง, ตั้งใจจริง, ซึ่งมีความกระตือรือร้น |
earnestness | (n) ความเอาจริงเอาจัง, ความจริงจัง, ความตั้งใจจริง, ความมุ่งมั่น |
eurhythmics | (n) การดัดตนตามจังหวะดนตรี |
felicitous | (adj) เหมาะสม, ถูกจังหวะ, ถูกกาลเทศะ, เป็นมงคล |
foot | (n) เท้า, ตีน, บาทา, ทหารราบ, จังหวะในโคลง |
footwork | (n) การใช้เท้า, การก้าวเท้า, จังหวะเท้า |
frivolity | (n) ความเหลาะแหละ, ความตลกคะนอง, ความไม่เอาจริงเอาจัง |
frivolous | (adj) เหลาะแหละ, ไม่สำคัญ, ไม่เอาจริงเอาจัง, เล่นๆ |
governor | (n) ผู้ปกครอง, เจ้าเมือง, ข้าหลวง, ผู้ว่าราชการจังหวัด |
grave | (adj) เอาการเอางาน, เอาจริงเอาจัง, หนัก, มหันต์, สำคัญ, ร้ายแรง, รุนแรง |
gravity | (n) ความถ่วง, แรงดึงดูด, ความเอาการเอางาน, ความสำคัญ, ความจริงจัง |
hexameter | (adj) มีหกท่อนหรือหกจังหวะ |
hexameter | (n) โคลงภาษาอังกฤษที่มีหกจังหวะ |
iambic | (n) จังหวะในโคลงภาษาอังกฤษ |
inopportune | (adj) ไม่ถูกกาลเทศะ, ไม่ได้จังหวะ, ไม่เหมาะสม |
interrupt | (vt) ทำให้ชะงัก, ขัดขวาง, สอดเข้าไป, ขัดจังหวะ |
interruption | (n) การหยุดชะงัก, การขัดจังหวะ, การสอดเข้ามา, การขัดคอ |
levity | (n) ความไม่สำรวม, ความตลกคะนอง, ความไม่เอาจริงเอาจัง |
LIGHT-light-minded | (adj) ไม่จริงจัง, เหลาะแหละ, สะเพร่า |
lilt | (n) การร้องเพลง, ความร่าเริง, จังหวะเพลง |
MATTER-OF-matter-of-fact | (adj) ตามความจริง, จริงจัง, ไม่เพ้อฝัน |
measure | (n) ขนาด, เครื่องวัด, มาตราวัด, เครื่องมือ, จังหวะดนตรี, การกระทำ |
metre | (n) ความยาวเป็นเมตร, เครื่องวัดจังหวะดนตรี |
metric | (adj) เกี่ยวกับระบบเมตริก, เกี่ยวกับจังหวะในบทกวี |
metrical | (adj) เกี่ยวกับระบบเมตริก, เกี่ยวกับจังหวะในบทกวี |
mimic | (adj) ไม่จริงจัง, ชอบล้อเลียน, เล่นๆ |
opportunity | (n) ช่อง, โอกาส, กาลเทศะ, จังหวะ |
practically | (adv) อย่างจริงจัง, แท้จริง, ปฏิบัติจริง, ได้ผล |
pragmatic | (adj) ในทางปฏิบัติ, อย่างจริงจัง, เกี่ยวกับความเป็นจริง |
province | (n) จังหวัด, ภูมิภาค, มณฑล, เขต |
provincial | (adj) เกี่ยวกับจังหวัด, บ้านนอก, เกี่ยวกับส่วนภูมิภาค |
pulsation | (n) การเต้น, การสั่น, ชีพจร, จังหวะ, ความสะเทือน |
pulse | (n) ชีพจร, จังหวะ, การเต้น, ความสั่นสะเทือน, ถั่ว |
resonant | (adj) ดังกังวาน, ได้ระดับกัน, ได้จังหวะ, ก้อง, สะท้อน |
rhythm | (n) จังหวะชีวิต, จังหวะ, ลีลา, เสียงสัมผัส |
-kuy- | [[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด |
Assumption College Sriracha | [-] (name) โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6 |
cadencial | [เเคเดินเชิล] (adj) ทางจังหวะ, ตามจังหวะ |
cadenciate | [เเคเดินเชิท] สร้างจังหวะ, ทําจังหวะ |
cadenciative | [เเคเดินเชอะทิฟว] (adj) ซึ่งทําจังหวะ, ซึ่งสร้างจังหวะ |
cadent | [เเคเดินทฺ] (adj) เป็นจังหวะ, มีจังหวะ |
cadentify | [เเคเดินทิไฟ] (vt) กําหนดจังหวะ |
cadentity | [เเคเดินทิดิ] (n) อัตราจังหวะ, ปริมาณจังหวะ |
Canki | (n) จังกีพราหมณ์ ในพุทธประวัติ ครอบครองหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อโอปาสาทะ ซึ่งพระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชทานให้ครอบครอง |
casion | [เเคเชิน] (n) จังหวะ |
casional | [เเคเชอะเนิล] (adj) ทางจังหวะ, ตามจังหวะ |
casionate | [เเคเชอะเนิท] (vt) สร้งจังหวะ, ทําจังหวะ |
casionative | [เเคเชอะเนทิฟว] (adj) ซึ่งทําจังหวะ, ซึ่งสร้างจังหวะ |
casive | [เเคซิฟว] (adj) เป็นจังหวะ, มีจังหวะ |
casivify | [เเคซิฝิไฟ] (vt) กําหนดจังหวะ |
casivity | [เเคซิฝิดิ] (n) อัตราจังหวะ, ปริมาณจังหวะ |
casural | [เเคเชอะเริล] (adj) โดยเคาะจังหวะ |
casurate | [เเคเชอะเริท] (vt) เคาะจังหวะ |
casurative | [เเคเชอะเรทิฟว] (adj) ซึ่งเคาะจังหวะ |
casure | [เเคเชอะ] (n) เครื่องเคาะจังหวะ |
doesn't time fly | ทำไมเวลาผ่าไปเร็วจัง |
Dysrhythmia | จังหวะที่ผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง : จังหวะที่ผิดปกติซึ่งจัดแสดงในบันทึกกิจกรรมทางไฟฟ้าของสมองหรือหัวใจ |
governor | ผู้ว่าราชการจังหวัด |
Governor of Province | (n) ผู้ว่าราชการจังหวัด |
hitum | (n, adj, malasia) สีดำ เช่นแถบชายแดนไทยมาเลเซีย (ด่านนอก/จังโหลน) มีภูเขาชื่อ ถูเขาไม้สีดา bukit kayu hitam |
intensity | (n) ความเข้มข้น, ความหนาแน่น, ความแรงกล้า, ความรุนแรง, ความเร่าร้อน, การเอาจริงเอาจัง |
inw | [เทพ] (n, adv) ใช้กันในวงการ DotA มีความหมายว่า ฝีมือการเล่นระดับเทพ(ไม่ได้หมายความว่าจะ grean ไม่ได้นะ) เช่น พี่ชายคนนั้นเล่น inwจังเลยอ้ะ หรือ แม่ง inw อย่าไปท้ามันนะฮ้ะ |
kuy | (n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด |
LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน |
progamer | (n) โปรเกมเมอร์, ผู้ที่สามารถหาเงินได้จากการเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพ โดยส่วนมากอาชีพนี้จะอยู่ในโซนยุโรปและประเทศเกาหลี ซึ่งมีทัวร์นาเมนท์การแข่งขันเกมคอมพิวเตอร์อย่างจริงจัง อาทิเช่น Starcraft ll , Warcraft lll เป็นต้น |
salsa | ['ซัลซ่า] (n) การเต้นซัลซ่า เป็นการเต้นแบบอเมริกันลาติน เป็นจังหวะสนุกๆ และเซ๊กซี่นิดๆ(เป็นการเต้นรำชนิดหนึ่ง) |
sino | (n) จีน คนจีน ชาวจีน กลุ่มภาษาจีนเช่น ตึกแบบ sino portugese แถวจังหวัดภูเก็ต หาดใหญ่ (สายหนี่ง), Syn. sinitic |
Subprefecture | [ซับพรี'เฟคเชอะ] (n) กิ่งจังหวัด |
take seriously | (vt) เอาจริงเอาจัง |
ฮิรากะนะ | [ฮิรากะนะ] (adj) รักจัง |
田舎 | [いなか, inaka] บ้านนอก บ้านเกิด(ของคนที่เกิดต่างจังหวัด) ต่างจังหวัด |
本気 | [ほんき, honki] (adj, adv) จริงจัง, เอาจริง, ไม่ล้อเล่น |
時期 | [じき, jiki] (n, vi, vt, adj) (ไทมฺ) n. เวลา, ช่วงเวลา, กะเวลา, โอกาส, สมัย, ยุค, กาล, ฤดูกาล, ครั้ง, ช่วง, อายุ, วันตาย, เท่า, จังหวะ, อัตราความเร็ว, เวลาพักผ่อน, อัตราค่าจ้างตามช่วงเวลา, สิทธิ, ระยะเวลาการตั้งครรภ์, adj. เกี่ยวกับเวลา, เกี่ยวกับระเบิดเวลา, ตั้งเวลา vt., vi. จับเวลา, ตั้งเวลา, ควบคุมเวลา |
チェンマイ | [じき, chenmai] จังหวัดเชียงใหม่ |
一筋 | [ひとすじ, hitosuji] (adv) [ ADV ] อย่างจริงจัง, See also: อย่างเอาจริงเอาจัง, Syn. seriously, sincerely |
鼓動 | [こどう, kodou] (n) จังหวะ, เต้นเป็นจังหวะ |
シンクロナイズド | [しんくろないずど, shinkuronaizudo] (vi, vt) ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน, ที่ทำให้เป็นจังหวะเดียวกัน, ทำให้สอดคล้องกัน, ทำให้พร้อมกัน, ทำให้คล้องจองกัน, See also: S. happen together, be synchronous, coexist, adjust, harmonize |
北海道 | [ほっかいどう, hokkaidou] (n, name) ฮอกไกโด(ชื่อจังหวัด เป็นจังหวัดที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศญีุ่ปุ่น และเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น มีเนื้อที่22เปอร์ของเป็นเทศญี่ปุ่น) |
地方自治法 | [ほっかいどう, chihoujichi hou] พระราชญัติว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น(พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่น ประเภทต่างๆ เช่น จังหวัด เทศบาล และบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่นเหล่านั้นเป็นต้น) |
県営 | [けんえい, ken'ei] การบริหารโดยจังหวัด |