ง้อ | (v) reconcile, See also: make friendly again, Syn. ขอคืนดี, ขอดีด้วย, งอนง้อ, ง้องอน, Ant. โกรธ, ไม่ใส่ใจ, ไม่สนใจ, Example: เขาตั้งใจว่าหลังจากทะเลาะกันคราวนี้เขาจะไม่ง้อหล่อนอีกต่อไป |
ของ้อ | (v) ask for forgiveness, See also: make up to, try to conciliate, try to reconcile, Syn. งอนง้อ, ง้อ, Example: เธอไม่อยากของ้อเขาเลย, Thai Definition: อ่อนเข้าหาเพื่อขอคืนดีด้วยหรือเพื่อให้ยอมช่วยเหลือ |
งอนง้อ | (v) reconcile, See also: make friendly again, conciliate, Syn. ง้องอน, ขอคืนดี, ขอดีด้วย, Ant. โกรธ, Example: ถ้าหล่อนโกรธก็ไปงอนง้อเสียสิ เดี๋ยวก็ใจอ่อนยอมคืนดีเองแหล่ะ, Thai Definition: ขอคืนดีด้วยโดยไม่มีทิฐิมานะถือโกรธ, อ่อนเข้าเพื่อให้ยอมหรือช่วยเหลือ |
ง้องอน | (v) reconcile, See also: make friendly again, conciliate, Syn. ง้อ, งอนง้อ, ขอคืนดี, Ant. โกรธ, ไม่สนใจ, Example: นพพรสัญญากับตัวเองว่าจะไม่ยอมกลับไปง้องอนหล่อนเด็ดขาด, Thai Definition: ขอคืนดีด้วยโดยไม่มีทิฐิมานะถือโกรธ, อ่อนเข้าหาเพื่อให้ยอมหรือช่วยเหลือ |
ชะเง้อ | (v) crane (one's head), See also: stretch, raise up (one's head), look up, Syn. ชะแง้, ชะเง้อชะแง้, Ant. หด, Example: ผู้ที่นั่งรถไฟไม่ควรชะเง้อออกไปนอกรถเพราะอาจเกิดอันตรายขึ้นได้, Thai Definition: ชูคอเพื่อดู |
ชะเง้อชะแง้ | (v) crane (one's neck), See also: raise up (one's head), look up, Syn. ชะเง้อ, ชะแง้ |
กระง่องกระแง่ง | ว. ง่องแง่ง. |
กระง่อนกระแง่น | ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, ง่อนแง่น ก็ว่า. |
กระจอกงอกง่อย | ว. ยากจนเข็ญใจ. |
กระจองหง่อง, กระจ๋องหง่อง | ว. ซึมเซา, หงอยเหงา. |
กระหง่อง, กระหน่อง ๑ | ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตากตากระหง่องเตรียม คอยแม่ มาฤๅ (นิ. ตรัง), ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็ใช้. |
ของ้อ | ก. อ่อนเข้าหาเพื่อขอคืนดีด้วย, อ่อนเข้าหาเพื่อให้ยอมหรือช่วยเหลือ. |
ง้อ | ก. ขอคืนดีด้วย, ขอพึ่งพาอาศัย. |
ง้องอน | ก. อ้อนวอนขอคืนดีด้วย, อ่อนเข้าหาเพื่อให้ยอมหรือช่วยเหลือ, งอนง้อ ก็ว่า. |
ง่อกแง่ก | ว. โยกคลอนไปมา, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง. |
ง่อง | น. เรียกสายโยงคางม้าไม่ให้เงย ว่า สายง่อง. |
ง่องแง่ง | ว. อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรงทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด, กระง่องกระแง่ง ก็ว่า. |
ง่องแง่ง | ก. ทะเลาะเบาะแว้งกัน, ไม่ปรองดองกัน, เช่น พี่น้องคู่นี้ง่องแง่งกันเสมอ. |
งอนง้อ | ก. อ้อนวอนขอคืนดีด้วย, อ่อนเข้าหาเพื่อให้ยอมหรือช่วยเหลือ, ง้องอน ก็ว่า. |
ง่อน | น. ก้อนดินหรือหินที่ตั้งสูงขึ้นไป เช่น เงื้อมง่อน ว่า เงื้อมแห่งก้อนดินหรือหินที่ตั้งสูงขึ้นไป. |
ง่อนแง่น | ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, กระง่อนกระแง่น ก็ว่า. |
งอนหง่อ | ว. คู้ตัวงอตัว เป็นอาการของคนที่กลัวมากหรือหนาวมากเป็นต้น. |
ง้อนหมู | น. หญ้าแห้วหมู. |
ง้อม | ว. งํ้า, ค้อม, เช่น กิ่งไม้ง้อมลงเพราะลูกดก. |
ง่อย | ว. อาการที่แขนหรือขาพิการเคลื่อนไหวไม่ได้อย่างปรกติ. |
ง่อยเปลี้ยเสียขา | ว. มีร่างกายพิการจนเดินไม่ได้อย่างปรกติ. |
จองหง่อง | ว. ซึมเซา, หงอยเหงา. |
ชระง่อน | (ชะระ-) น. ชะง่อน, หินที่เป็นปุ่มเป็นแง่ยื่นออกมาจากภูเขา. |
ชะง่อน | น. หินที่เป็นปุ่มเป็นแง่ยื่นออกมาจากเขา เช่น ที่งอกง้ำเป็นแง่เงื้อมก็ชะงุ้มชะโงกชะง่อนผาที่ผุดเผินเป็นแผ่นพูตะเพิงพัก (ม. ร่ายยาว มหาพน). |
ชะเง้อ | ก. ชูคอขึ้นดู. |
ตระง่อง | (ตฺระหฺง่อง) ก. จ้อง, คอยดู, เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี. |
ตระหง่อง, ตระหน่อง | (ตฺระ-) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา (ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้. |
ปะงับปะง่อน | ว. ปะหงับปะง่อน. |
ปะหงับปะง่อน | ว. อาการที่โงนเงนทรงตัวไม่อยู่เพราะเจ็บป่วยเป็นต้น, ปะงับปะง่อน ก็ว่า. |
สายง่อง | น. สายโยงใต้คางม้าไม่ให้เงย. |
หง่อง ๆ | ว. อาการที่เดินขย่มตัวหัวสั่นหัวคลอนไปตามลำพัง, โดยปริยายหมายถึงเดินอยู่ตามลำพัง |
หง่อง ๆ | เสียงดังเช่นเสียงฆ้องกระแต. |
หง่อม | (หฺง่อม) ว. แก่มาก ในคำว่า แก่หง่อม. |
หง่อย | ว. เชื่องช้า, ไม่ฉับไว, เงื่อง. |
กระงกกระงัน | ว. งก ๆ งัน ๆ เช่น ถึงว่าจะกระงกกระงันงมเงื่อนเหงาหง่อยพี่ก็ไม่คิด (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
กระหน่อง ๑ | ดู กระหง่อง. |
กะโรกะเร | ก. ง่อนแง่น, จวนจะล้ม. |
กุณิ, กุณี | น. คนง่อย. (ป., ส.) |
ขจอก | (ขะ-) ว. กระจอก, ง่อย, ขาเขยก. |
คลอนแคลน | (-แคฺลน) ว. ง่อนแง่น, ไม่มั่นคง, เช่น ฐานะคลอนแคลน. |
งอน ๑ | ก. แสดงอาการโกรธเคืองหรือไม่พอใจเพื่อให้เขาง้อ, ทำจริตสะบัดสะบิ้ง. |
แง่ง ๑ | น. ส่วนที่งอกเป็นแง่ออกมาจากเหง้าขิงข่ากะทือเป็นต้น. |
ชระ ๒ | (ชะระ) เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน. |
ชะงุ้ม | ว. เป็นเพิงงุ้มลงมา เช่น ที่งอกง้ำเป็นแง่เงื้อมก็ชะงุ้มชะโงกชะง่อนผาที่ผุดเผินเป็นแผ่นพูตะเพิงพัก (ม. ร่ายยาว มหาพน). |
ชูคอ | ก. ชะเง้อคอ, อาการที่นั่งยืดคอวางท่าภาคภูมิ. |
ดำพอง, ดำโพง | น. กะพอง, ส่วนที่นูนเป็น ๒ แง่อยู่เหนือหน้าผากช้าง เช่น พลอยผูกกระพัดรัดดำโพง (ม. คำหลวง มหาราช). |
โถงเถง | ว. สูงง่อนแง่น. |
ประชากรศาสตร์ | น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ. |
ปล่อยไก่ | ก. แสดงความโง่ออกมา. |
แปลง ๒ | (แปฺลง) ก. เปลี่ยนสิ่งเดิมให้ผิดแปลกออกไป, เปลี่ยนรูปทั้งหมดให้กลายเป็นอีกรูปหนึ่ง เช่น ยักษ์แปลงเป็นมนุษย์, จำแลง ก็ว่า, เปลี่ยนจากรูปเดิมแต่บางส่วน เช่น คนดีแปลงเป็นคนง่อย, เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไข เปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย เช่น เรือนชั้นเดียวแปลงให้เป็น ๒ ชั้น, ดัดแปลง ก็ว่า |
ผงร | ชะเง้อขึ้น เช่น เสือผกผงร (เสือโค). |