ง่วง | (v) be sleepy, See also: be drowsy, be somnolent, be dozy, Syn. ง่วงนอน, อยากนอน, Example: หลังจากการเดินทางอันยาวนานทำให้ฉันง่วงและหลับไปในเวลาอันรวดเร็ว, Thai Definition: อาการที่ร่างกายอยากนอน |
ง่วงงุน | (v) be sleepy, See also: be drowsy, be somnolent, be dozy, Syn. ง่วง, ง่วงซึม, ง่วงนอน, Example: เขาง่วงงุนเนื่องจากอดนอนมาสองคืนแล้ว |
ง่วงนอน | (v) be sleepy, See also: be drowsy, be somnolent, be dozy, Syn. ง่วง, อยากนอน, Example: เขาเข้านอนแต่หัวค่ำเนื่องจากเขาง่วงนอน |
ความง่วง | (n) sleepiness, See also: drowsiness, Example: เขาหลับไปด้วยความง่วงโดยไม่รู้ตัว |
ง่วงเหงา | (v) be sleepy, See also: be drowsy, be somnolent, be dozy, Syn. ง่วง, ง่วงซึม, ซึม, ซึมเซา, ง่วงงุน, เซื่องซึม, Ant. กระปรี้กระเปร่า, กระฉับกระเฉง, Example: การที่ต่อมทอมซิลอักเสบบ่อยทำให้เด็กขาดเรียน อ่อนเพลีย ง่วงเหงาและการรับรู้ไม่สมบูรณ์, Thai Definition: ลักษณะง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า |
ง่วงเหงาหาวนอน | (v) be drowsy, See also: be sleepy, be dozy, be somnolent, be listless, Syn. ง่วง, ง่วงนอน, เซื่องซึม, ซึม, ซึมเซา, ง่วงซึม, Ant. ตื่นตัว, ว่องไว, กระฉับกระเฉง, กระปรี้กระเปร่า, Example: วันนี้ผมรู้สึกง่วงเหงาหาวนอนอย่างไรชอบกล, Thai Definition: มีอาการซึมเซาอยากนอนมาก |
ง่วง | ก. อาการที่ร่างกายอยากนอน. |
ง่วงงุน | ก. ง่วงซึม. |
ง่วงเหงา | (-เหฺงา) ว. มีลักษณะง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า. |
ง่วงเหงาหาวนอน | ก. มีอาการซึมเซาอยากนอนมาก. |
คออ่อนคอพับ | ว. อาการที่คอเอียงไปมาเพราะเมา ง่วง หรือเหนื่อย เป็นต้น. |
งัวเงีย | ก. อาการที่คนแรกตื่นยังง่วงอยู่. |
งูบ | ก. ก้มหัวฟุบลงเมื่อเวลาง่วงนอนเป็นต้น. |
โงก | ว. อาการที่หัวงุบลงเพราะง่วง. |
ซึมกะทือ | ว. ซึมเซา ง่วงเหงา หรือเกียจคร้าน. |
ซึมเซา | ว. มีลักษณะเหงาหงอยง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า เช่น วันนี้รู้สึกซึมเซาไม่อยากทำงานเลย. |
เซา | ว. ง่วงงุน เช่น ขี้เซา ซึมเซา, เหงาหงอย เช่น ซบเซา. |
ตาแข็ง | ว. ไม่ง่วง, ไม่กะพริบง่าย. |
ตาปรือ | น. นัยน์ตาที่หรี่เพราะง่วงแต่ฝืนไว้หรือเมา, นัยน์ตาที่หรี่เหมือนง่วงหรือเมา. |
ตาสว่าง | ไม่ง่วงงัวเงีย, นอนต่อไม่หลับ, เช่น ตื่นขึ้นมากลางดึก เลยตาสว่าง นอนไม่หลับอีก |
ธรณีสาร ๑ | เรียกคนที่มีลักษณะซึมเซาง่วงเหงาหาวนอนอยู่เสมอ ว่า คนต้องธรณีสาร. |
ปรือ ๒ | (ปฺรือ) ว. ลักษณะอาการของนัยน์ตาที่หรี่เพราะง่วงแต่ฝืนไว้หรือเมา, ลักษณะของนัยน์ตาหรี่เหมือนง่วงหรือเมา. |
ปากจิ้งจก ๒ | น. ชื่องูขนาดกลางชนิด Ahaetulla prasina (Boie) ในวงศ์ Colubridae ยาวประมาณ ๑.๓ เมตร หัวและลำตัวเรียวยาว มีหลายสี ส่วนมากสีเขียวปลายหางสีนํ้าตาลแดง มักพบอาศัยบนต้นไม้ หากินเวลากลางวัน ส่วนใหญ่กินกิ้งก่า พบทั่วประเทศไทย มีพิษอ่อนมาก, บางครั้งเรียกชื่อตามสี เช่น ตัวสีส้มเรียก งูง่วงกลางดง ตัวสีเทาเรียก งูกล่อมนางนอน, เขียวหัวจิ้งจก เชือกกล้วย รากกล้วย หรือ แห้ว ก็เรียก. |
ลูก | น. ผู้มีกำเนิดจากพ่อแม่ หรือโดยปริยายถือว่ามีฐานะเสมือนลูก, คำที่พ่อแม่เรียกลูกของตนโดยตรง หรือเรียกเด็กอื่นหรือผู้เยาว์กว่าผู้พูดหลายปีด้วยความรู้สึกรักและเอ็นดู เช่น ลูกกินยาเสียซิ, คำที่ลูกใช้แทนชื่อตนเวลาพูดกับพ่อแม่ด้วยความรักและเคารพ เช่น ลูกยังไม่ง่วงนอน |
สว่าง | หายง่วง ในคำว่า ตาสว่าง. |
สะลึมสะลือ | ว. ครึ่งหลับครึ่งตื่นหรืองัวเงียเพราะเมาหรือง่วง เช่น พอเมาได้ที่ก็นั่งสะลึมสะลือ เมื่อคืนนอนดึก ตื่นขึ้นมาเลยสะลึมสะลือ. |
สับเงา | ว. สัปหงก, อาการที่หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน. |
สัปหงก | (สับปะหฺงก) ว. อาการที่หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน. |
หงอยก๋อย | ว. ซบเซา, จับเจ่า, เซื่องซึม, ง่วงเหงา. |
หงุบ, หงุบ ๆ | ว. อาการที่ฟุบหัวลงเมื่อเวลาง่วงนอน เช่น เขานั่งโงกหงุบ. |
หาว | ก. กิริยาที่สูดลมเข้าแล้วระบายลมออกทางปากเมื่อเวลาง่วงนอนเป็นต้น. |
หาวนอน | ก. หาวเพราะง่วงนอน, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ง่วงเหงา เป็น ง่วงเหงาหาวนอน ก็มี. |
lethargy | ภาวะง่วงงุน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stupefacient | ๑. -นำง่วงซึม๒. ยาง่วงซึม [ มีความหมายเหมือนกับ narcotic ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stupefactive | -ทำให้ง่วงซึม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
subnarcotic | -ง่วงซึมเกือบหลับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somnolence | ๑. ความง่วง [ มีความหมายเหมือนกับ somnolentia ๑ ]๒. อาการง่วงซึม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somnolent | ๑. -ง่วง๒. -ง่วงซึม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somnolentia | ๑. ความง่วง [ มีความหมายเหมือนกับ somnolence ๑ ]๒. อาการครึ่งหลับครึ่งตื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
drowsy | -ซึม, -ง่วง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
narcoanalysis | การสอบสวนโดยทำให้ง่วงซึม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
narcolepsy | ภาวะง่วงเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
narcose; narcous | ง่วงซึม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
narcosis | การง่วงซึมเหตุยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
narcotic | ๑. สารเสพติด, ยาเสพติด๒. ยาง่วงซึม [ มีความหมายเหมือนกับ stupefacient ๒ ]๓. -ทำให้ง่วงซึม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
narcotic | ยาง่วงซึม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
narcous; narcose | ง่วงซึม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bleary | (adj) มองเห็นไม่ชัดเจนเพราะง่วง |
drowse | (vi) ครึ่งหลับครึ่งตื่น, See also: สัปหงก, หลับๆ ตื่นๆ, ง่วงซึม, Syn. sleep, catnap, doze, Ant. awaken |
drowse | (n) สภาวะง่วงซึม, See also: สภาวะครึ่งหลับครึ่งตื่น, Syn. half-sleep |
drowsy | (adj) เซื่องซึม, See also: เกือบจะหลับ, ง่วงซึม, ซึมเซา, Syn. sleepy, somnolent, sluggish, Ant. wakeful, alert |
heavy-eyed | (adj) ซึ่งมีอาการตาปรือ, See also: ซึ่งง่วงนอน, Syn. drowsy, sleepy, slumberous |
wide awake | (idm) ตื่นตัว, See also: กระตือรือร้น, รู้ตัวดี, ตื่นไม่ง่วงนอนเลย |
lethargy | (n) ความเซื่องซึม, See also: ความง่วง, ซึม, Syn. drowsiness |
dopey | (sl) ง่วงนอน, See also: ซึมเซา |
woozy | (sl) ง่วงนอน, See also: ง่วงเหงาหาวนอน |
sleep | (n) การหลับ, See also: การนอนหลับ, การง่วงซึม |
sleep | (vi) ไม่กระฉับกระเฉง, See also: ซึมเซา, ง่วงซึม |
sleepy | (adj) ง่วงนอน, See also: ซึมเซา, ง่วงซึม, ไร้ชีวิตชีวา, Syn. somnolent, sluggish, Ant. alert, wakeful |
somniferous | (adj) ซึ่งทำให้ง่วงนอน |
somnolent | (adj) ง่วงนอน, See also: อยากจะนอน, Syn. sleepy, drowsy, slumberous, Ant. wakeful |
soporific | (adj) ซึ่งชวนให้ง่วง, See also: ซึ่งทำให้ง่วง, ซึ่งทำให้หลับ, Syn. balmy, sedative, drowsy, somnolent |
dope | (โดพ) { doped, doping, dopes } n. สารทำให้เกิดอาการง่วงหลับ, กาว, ยากระตุ้น, ยาม้า, ข่าวสาร, ข้อมูล, คนโง่เง่า, เครื่องดื่มคาร์บอเนต (โดยเฉพาะโคคาโคล่า) . vt. กระตุ้นด้วยยากระตุ้น. -Phr. (dope out คำนวณ, คาดการณ์, ร่างโครงการ), See also: dope fiend n. คนติดยาเสพ |
dozy | (โด'ซี) adj. ง่วง, เคลิ้ม, ม่อยหลับ, ครึ่งหลับครึ่งตื่น, See also: dozily adv. ดูdozy doziness n. ดูdozy |
drowse | (เดราซฺ) { drowsed, drowsing, drowses } vt., vi. (ทำให้) ง่วง, โงเง, สัปหงก, เซื่องซึม, ครึ่งหลับครึ่งตื่น. n. การสัปหงก, การเซื่องซึม., Syn. doze |
drowsy | (เดรา'ซี) adj. ครึ่งหลับครึ่งตื่น, ง่วง, สัปหงก, ซบเซา, เซื่องซึม, ซึ่งทำให้เซื่องซึมหรือง่วงนอน., See also: drowsily adv. ดูdrowsy drowsiness n. ดูdrowsy, Syn. half-asleep, sleep, Ant. awake |
giddiness | ง่วงงุน |
lethargic | (ละธาร์'จิค) adj. เฉื่อยชา, เซื่องซึม, ซึม, ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, เมินเฉย, เฉยเมย, See also: lethargy n. ดูlethargic, Syn. drowsy, sluggish |
narcosis | (นาร์โค'ซิส) n. ภาวะง่วงหลับ |
narcotic | (นาร์คอท'ทิค) n. สารที่ทำให้เกิดอาการง่วงหลับหรือใกล้หมดความรู้สึก, สารเสพติด adj. เกี่ยวกับสารหรือยาดังกล่าว. |
sleeping | (สลีพ'พิง) n. การนอน, การนอนหลับ adj. หลับ, นอนหลับ, เกี่ยวกับการนอนหลับใช้สำหรับนอนหลับ, ทำให้หลับ, ทำให้ง่วงหลับ, นอนอยู่ที่บ้านนายจ้าง |
sleepy | (สลีพ'พี) adj. ง่วงนอน, ง่วง, อยากหลับ, ง่วงหลับ, เฉื่อยชา, ขี้เกียจ, ไม่กระฉับกระเฉง, ทำให้หลับ, ชวนให้หลับ., See also: sleepily adv. sleepiness n., Syn. nodding, drowsy |
slumberous | (สลัม'เบอรัส, สลัม'บรัส) adj. ง่วงนอน, ง่วงหลับ, ชวนให้หลับ, เกี่ยวกับการงีบหลับ, เงียบสงัด, ขี้เกียจ, เงื่องหงอย., Syn. slumbery, sleepy |
slumbrous | (สลัม'เบอรัส, สลัม'บรัส) adj. ง่วงนอน, ง่วงหลับ, ชวนให้หลับ, เกี่ยวกับการงีบหลับ, เงียบสงัด, ขี้เกียจ, เงื่องหงอย., Syn. slumbery, sleepy |
somniferous | (ซอมนิฟ'เฟอรัส) adj. ทำให้หลับ, ทำให้ง่วงหลับ. |
somnific | (ซอมนิฟ'ฟิค) adj. ทำให้หลับ, ทำให้ง่วงหลับ, Syn. soporific |
somnolent | (ซอม'นะเลินทฺ) adj. ง่วง, ง่วงหลับ, ง่วงนอน, อยากจะนอน, ทำให้หลับ., See also: somenolence, somnolency n., Syn. sleepy |
soporific | (ซอพพะริฟ'ฟิค) adj. ทำให้หลับ, ทำให้ง่วงหลับ, ทำให้หลับใหล, ทำให้เซื่องซึม. n. ยานอนหลับ, ยาที่ทำให้ง่วงนอน, สิ่งที่ทำให้ง่วงหลับหรือเซื่องซึม -soporifically adv. |
trance | (ทรานซฺ) n., vt. (ทำให้เกิด) ความมึนงง, ความมึนตึง, สภาพจิตของคนเข้าฌาณหรือทรงเจ้า, จิตในภวังค์, อาการง่วงหลับ, อาการไม่รู้สึกตัว., See also: trancedly adv., Syn. dream, daze |
tsetse fly | (เซท'ซี-) n. แมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรคง่วงหลับ (sleeping sickness), Syn. tzetze fly, tsetse, tzetze |
dozy | (adj) ง่วงนอน, เคลิ้ม, ครึ่งหลับครึ่งตื่น, ม่อยหลับ |
drowse | (n) การสัปหงก, ความง่วง, ความเซื่องซึม |
drowse | (vi) ง่วง, สัปหงก, ครึ่งหลับครึ่งตื่น |
drowsiness | (n) ความง่วงนอน, ความซบเซา, ความเซื่องซึม, การสัปหงก |
drowsy | (adj) ซบเซา, เซื่องซึม, ง่วงนอน, สัปหงก, ครึ่งหลับครึ่งตื่น |
lethargic | (adj) ซบเซา, เซื่องซึม, ง่วง, สลบไสล, เกียจคร้าน, เฉื่อยชา |
lethargy | (n) ความซบเซา, ความเซื่องซึม, ความง่วง, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา |
narcosis | (n) การทำให้มึนเมา, การหมดความรู้สึก, การง่วงนอน |
narcotic | (adj) ทำให้มึนเมา, ทำให้หมดความรู้สึก, ง่วงนอน |
sleep | (n) ความง่วง, การนอน, การหลับ, การจำศีล |
sleepiness | (n) ความขี้เซา, ความง่วง |
sleepy | (adj) ขี้เซา, ง่วงนอน, เฉื่อยชา |
slumberous | (adj) ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, ขี้เซา |
slumbrous | (adj) ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, ขี้เซา |
somnolent | (adj) ง่วง |