คุ้มครอง | (v) protect, See also: guard, escort, defend, preserve, Syn. ปกป้อง, ป้องกัน, รักษา, Example: แม่ทุกคนจะยอมสู้จนตัวตายเพื่อคุ้มครองลูกของตน |
เขตคุ้มครอง | (n) protectorate, Example: กรมป่าไม้เสนอให้เปลี่ยนวิธีการในการบริหารจัดการเขตคุ้มครองของอุทยานแห่งชาติ, Count Unit: เขต, Thai Definition: บริเวณที่กำหนดไว้สำหรับป้องกันรักษา |
คุ้มครองรักษา | (v) protect, See also: safeguard, watch over, defend, save, guard, stick up for, shield, Syn. ปกปักรักษา, พิทักษ์รักษา, Example: ทารกจะมีแม่ซื้อคอยคุ้มครองรักษา ไม่ให้มีอันตรายถึงตัวได้, Thai Definition: ป้องกันดูแลเอาไว้, ระวังป้องกันไว้ |
คุ้มครองสิทธิ์ | (v) guard the rights, Syn. รักษาสิทธิ์, ป้องกันสิทธิ์, Ant. ละเมิดสิทธิ์, รุกรานสิทธิ์, Example: กรมทรัพย์สินทางปัญญาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปกป้องและ คุ้มครองสิทธิ์ เพื่อสร้างวินัยทางการค้าแก่ผู้ประกอบการ |
มูลนิธิคุ้มครองเด็ก | (n) Child Protection Foundation, Example: ครอบครัวเราร่วมบริจาคสิ่งของที่จำเป็นสำหรับชีวิตความเป็นอยู่ให้กับมูลนิธิคุ้มครองเด็ก, Thai Definition: มูลนิธิที่ทำหน้าที่ป้องกัน คุ้มครอง ช่วยเหลือ ฟื้นฟูและพัฒนาเด็กไทยที่ประสบภาวะทุกข์ยากลำบาก ถูกทอดทิ้งในสังคม |
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน | (n) Department of Labour Protection and Welfare, Syn. กสร. |
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ | (n) Wildlife fund Thailand, See also: WFT, Example: มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพืชพรรณแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้รับทุนสนับสนุนโดยการบริจาคของประชาชน องค์กร และหน่วยงานธุรกิจ มาโดยตลอด, Thai Definition: หน่วยงานเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร ที่จดทะเบียนเป็นองค์กรเอกชน ด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ |
คุ้มครอง | ก. ป้องกันรักษา, ระวังรักษา, ปกป้องรักษา. |
กฎหมายรัฐธรรมนูญ | น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย. |
กระบวนการยุติธรรม | น. ขั้นตอนและวิธีดำเนินการในการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่ออำนวยความยุติธรรม คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล. |
เกียรติมุข | (เกียดมุก) น. อมนุษย์บริวารพระศิวะ ทำเป็นรูปหน้ายักษ์ปนหน้าสิงห์ ตากลมถลน ไม่มีคาง ปากแสยะ ไม่มีขากรรไกรล่าง ไม่มีร่างกาย ไม่มีแขนขา เชื่อกันว่าเป็นเทพเจ้ารักษาธรณีประตู เป็นเครื่องป้องกันบ้านเรือน ขับไล่เสนียดจัญไร และคอยคุ้มครอง นับถือพระศิวะ มักทำเป็นลวดลายแกะสลักหรือปูนปั้น เช่นที่ทับหลังปราสาทหินบางแห่ง ตามซุ้มปรางค์หรือเจดีย์ และที่ฐานพระพุทธรูป, กาฬมุข หรือ หน้ากาฬ ก็เรียก. |
คนดีผีคุ้ม | น. คนทำดีเทวดาย่อมคุ้มครอง, มักใช้เข้าคู่กับ คนร้ายตายขุม ว่า คนดีผีคุ้ม คนร้ายตายขุม. |
คุต | (คุด) ก. รักษา, คุ้มครอง, ปกครอง, มักใช้ประกอบท้ายศัพท์อื่น เช่น ธรรมคุต. |
คุตติ | (คุดติ) น. การรักษา, การคุ้มครอง, การปกครอง. |
คุป, คุปต์ | ก. รักษา, คุ้มครอง, ปกครอง. |
คุปติ | (คุบติ) น. การรักษา, การคุ้มครอง, การปกครอง. |
คุ้มกัน | ก. คอยป้องกันให้ปลอดภัย, คุ้มครองให้พ้นจากบางสิ่งบางอย่าง เช่น คุ้มกันโรค คุ้มกันไม่ให้ถูกฟ้องร้อง. |
คุ้มโทษ | ก. ได้รับความคุ้มครองยกเว้นที่จะไม่ต้องถูกลงโทษ เช่น อหนึ่งผู้ตามโจรได้รบพุ่งฟันแทงมีบาดเจบท่านว่าคุ้มโทษ (สามดวง). |
จดทะเบียน | ก. ลงบันทึกข้อความไว้กับทางราชการเพื่อให้การใดเกิดผล บังคับกันได้ ได้รับการคุ้มครอง หรือเป็นหลักฐานตามที่กฎหมายกำหนด เช่น จดทะเบียนรถยนต์ จดทะเบียนสมรส จดทะเบียนหุ้นส่วนและบริษัท จดทะเบียนเครื่องจักร. |
เจ้าพนักงานบังคับคดี | น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล. |
ที่พึ่ง | น. ผู้คุ้มครองช่วยเหลือ เช่น พ่อแม่เป็นที่พึ่งของลูก, สิ่งที่อาศัยยึดเป็นหลัก เช่น ได้ตำราเป็นที่พึ่ง, เครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ เช่น ยึดพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง. |
นักเลงโต | น. นักเลงที่เหนือนักเลงทั้งหลาย มักให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนในหมู่บ้านไม่ให้นักเลงที่อื่นมารังแก |
เนื้อทราย | น. ชื่อกวางชนิด Cervus porcinus Zimmermann ในวงศ์ Cervidae เป็นกวางขนาดกลาง ขนลำตัวสีนํ้าตาลเข้มแต่ตอนล่างสีจางกว่า ตามลำตัวมีจุดขาวจาง ๆ กระจายอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะลูกที่เกิดใหม่จุดขาวนี้จะเห็นชัดเจนเช่นเดียวกับลูกกวางดาว ตัวผู้มีเขา ผลัดเขาปีละครั้ง อยู่เป็นฝูงตามทุ่งหญ้า กินหญ้าระบัด ใบไม้ และผลไม้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองของไทย, กวางแขม กวางทราย หรือ ตามะแน ก็เรียก. |
บ้านเมืองมีขื่อมีแป | น. บ้านเมืองหรือประเทศย่อมมีกฎหมายคุ้มครอง เช่น ถ้าบ้านเมืองมีขื่อมีแป คงไม่ทำกับอ้ายแก่เช่นนี้ได้ (เสภาพญาราชวังสัน), มักใช้ในเชิงปฏิเสธว่า บ้านเมืองไม่มีขื่อไม่มีแป. |
บาล | ก. เลี้ยง, รักษา, คุ้มครอง, ปกครอง, เช่น บาลเมือง, โดยมากใช้เป็นคำหลังสมาส เช่น โลกบาล รัฐบาล นครบาล โคบาล นิรยบาล. |
ใบบุญ | น. อำนาจหรือบุญบารมีของผู้อื่นที่ช่วยปกป้องคุ้มครอง เช่น พึ่งใบบุญผู้ใหญ่. |
ปกเกศ | ก. ปกเกล้า, คุ้มครอง. |
ปกครอง | ก. ดูแล, คุ้มครอง, ระวังรักษา |
ปกป้อง | ก. คุ้มครองป้องกัน. |
ประเทศราช | (ปฺระเทดสะราด) น. เมืองที่มีเจ้าผู้ครองเมืองของตนเอง แต่อยู่ภายใต้อำนาจควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์ของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเจ้าเมืองประเทศราชนั้นมีหน้าที่ส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในเวลาเกิดศึกสงครามต้องเกณฑ์กำลังทหารเข้าร่วมกองทัพหลวงด้วย. |
ปลอกคอ | โดยปริยายหมายถึง ผู้มีอำนาจที่คอยให้ความคุ้มครองหรือช่วยเหลือ. |
ป้องกัน | ก. กั้นไว้เพื่อต้านทานหรือคุ้มครอง. |
ผูก | คุ้มครอง (ใช้ในการเล่นหมากรุก) เช่น เอาม้าผูกโคน เอาเรือผูกม้า |
ฝาก | ก. มอบให้ไว้เป็นต้นว่าเพื่อให้ช่วยดูแลคุ้มครองหรือพิทักษ์รักษา เช่น ฝากตัว ฝากบ้าน, ให้ปรากฏเป็นเกียรติ เช่น ฝากชื่อเสียง ฝากฝีมือ, ให้นำไปหรือให้ทำแทนตัว เช่น ฝากจดหมาย ฝากหน้าที่. |
พระเครื่อง | น. พระพุทธรูปองค์เล็ก ๆ ที่นับถือว่าเป็นเครื่องคุ้มครองป้องกันอันตราย (ย่อมาจากคำ พระเครื่องราง) |
พิทักษ์ ๑ | ก. ดูแลคุ้มครอง เช่น พิทักษ์สันติราษฎร์. |
ร่ม | สิ่งที่ใช้สำหรับกางกันแดด กันฝน มีด้ามสำหรับถือ โดยปริยายหมายถึง ที่พึ่ง, ที่คุ้มครอง, เช่น ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร ใต้ร่มกาสาวพัสตร์. |
ร่มเกล้า, ร่มเกศ | น. ผู้คุ้มครองป้องกันให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุข หมายถึง พระมหากษัตริย์. |
ร่มธง | น. อำนาจคุ้มครอง เช่น ใต้ร่มธงไตรรงค์ ใต้ร่มธงไทย. |
ร่มโพธิ์ร่มไทร | น. ที่พึ่ง, ผู้ที่ให้ความคุ้มครองและความอบอุ่นใจ, เช่น พ่อแม่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก. |
รังรักษ์ | คุ้มครอง. |
แรงงานและสวัสดิการสังคม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารแรงงาน การจัดหางาน การประชาสงเคราะห์ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม. |
ลิขสิทธิ์ | (ลิกขะสิด) น. สิทธิทางวรรณกรรม ศิลปกรรม และประดิษฐกรรม ซึ่งผู้เป็นต้นคิดได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย |
ลูกศิษย์ | น. ผู้ศึกษาเล่าเรียนหรือผู้เยาว์วัยซึ่งอยู่ในความดูแลคุ้มครองของอาจารย์, ศิษย์ หรือ ลูกศิษย์ลูกหา ก็ว่า. |
ศิษย-, ศิษย์ | (สิดสะยะ-, สิด) น. ผู้ศึกษาวิชาความรู้จากครูหรืออาจารย์, คู่กับ ครู หรืออาจารย์, ผู้อยู่ในความคุ้มครองดูแลของอาจารย์ เช่น ศิษย์วัด, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ศึกษาหาความรู้จากตำราของผู้ใดผู้หนึ่งแล้วนับถือผู้นั้นเป็นเสมือนครูบาอาจารย์ของตน. |
สถานพินิจ | น.เป็นคำย่อ ใช้เรียกสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็กและเยาวชน เช่น สืบเสาะเรื่องราวบุคคล และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระทำความผิด ควบคุมและฝึกอบรมเด็กและเยาวชน . |
สหภาพแรงงาน | น. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน. |
สิทธิบัตร | น. หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์. |
สุรารักษ์ | น. เทวดาผู้คุ้มครอง. |
องครักษ์ | (องคะ-) น. ผู้ทำหน้าที่ให้ความคุ้มครองป้องกัน เช่น องครักษ์นักการเมือง. |
อ้อม | น. วงรอบ เช่น อ้อมแขน อ้อมกอด, โดยปริยายหมายถึงความคุ้มครองอุปการะ ในคำว่า อ้อมอก, ขนาดของของกลม เช่นเสา ต้นไม้ ที่วัดโดยรอบโดยวิธีใช้แขนทั้ง ๒ ข้างอ้อม เช่น เสา ๒ อ้อม ต้นไม้ ๔ อ้อม. |
อัยการ | องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยประกอบด้วยคณะกรรมการอัยการ อัยการสูงสุด และพนักงานอัยการอื่น โดยมีสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยธุรการ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ดำเนินคดีแพ่งหรือคดีปกครอง และให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย ตรวจร่างสัญญาและเอกสารทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย เรียกว่า องค์กรอัยการ, เดิมเรียกว่า กรมอัยการ, ถ้าหมายถึงเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน เรียกว่า พนักงานอัยการ หรือ ข้าราชการอัยการ, โบราณเรียกว่า พนักงานรักษาพระอัยการ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร. |
อารักขา | ก. ป้องกัน, คุ้มครอง, ดูแล. |
อารักขา | น. การป้องกัน, ความคุ้มครอง, ความดูแล. |
อารักษ์ | น. การป้องกัน, ความคุ้มครอง, ความดูแล |
protected goods | ของที่ได้รับความคุ้มครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protected person | บุคคลที่ได้รับความคุ้มครอง, บุคคลที่ได้รับการอารักขา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal protection order | คำสั่งให้ความคุ้มครองบุคคล (ต่อการทำร้ายร่างกาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protective inoculation | การปลูกเชื้อคุ้มครอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protective tariff | พิกัดอัตราภาษีเพื่อคุ้มครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protective tariff | พิกัดอัตราคุ้มครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protection | การคุ้มครอง, การอารักขา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protection | ๑. การคุ้มกัน๒. ความคุ้มครอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protection | การคุ้มครองป้องกัน, การอารักขา, การปกปักษ์รักษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Protection and Indemnity Club | ชมรมความคุ้มครองและการชดใช้ (ชมรมพีแอนด์ไอ) [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protection and indemnity risks | ภัยเกี่ยวกับความคุ้มครองและชดใช้ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protection, equal | การให้ความคุ้มครองเท่าเทียมกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protectionism | ลัทธิคุ้มครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
partial coverage | ความคุ้มครองบางส่วน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal costs extension | การขยายความคุ้มครองคดีความ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
loss sustained cover | ความคุ้มครองวินาศภัยตามสัญญา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reinsurance cover | สัญญาคุ้มครองการเอาประกันภัยต่อ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reformatory | สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน [ ดู community home และ house of detention ความหมายที่ ๒ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
specific exclusion | ข้อจำกัดความคุ้มครองจำเพาะ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
specific exclusion | ข้อจำกัดความคุ้มครองจำเพาะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
open cover | ๑. ความคุ้มครองเปิด๒. สัญญาประกันภัยเปิด [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
original cover | ความคุ้มครองต้นฉบับ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
operative clause | ข้อกำหนดความคุ้มครอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
articles of the peace | คำร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่งคุ้มครองความปลอดภัย (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automatic cover | ความคุ้มครองโดยอัตโนมัติ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automatic cover clause | ข้อกำหนดความคุ้มครองโดยอัตโนมัติ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
approved school | โรงเรียนสำหรับเด็กที่กระทำผิดอาญา, สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
anticipatory credit cover | ความคุ้มครองการจ่ายเงินล่วงหน้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abandonment policy | กรมธรรม์คุ้มครองการเลิกล้ม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abandonment policy | กรมธรรม์คุ้มครองการเลิกล้ม (ก. ประกันภัย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jeweller's block policy | กรมธรรม์เบ็ดเสร็จคุ้มครองผู้ค้าอัญมณี [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
breach of contract cover | ความคุ้มครองการผิดสัญญา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
binder | ๑. หนังสือคุ้มครองชั่วคราว๒. หนังสือมอบอำนาจผู้รับประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
binder | หนังสือคุ้มครองชั่วคราว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blanket policy | กรมธรรม์คุ้มครองรวม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blanket policy | กรมธรรม์คุ้มครองรวม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
metal workers' extension | การขยายความคุ้มครองเครื่องจักรระหว่างขนย้าย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mortgage insurance | การประกันชีวิตคุ้มครองการจำนอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
consumer protection law | กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
comprehensive coverage; coverage, comprehensive | ความคุ้มครองรวม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coverage | ความคุ้มครอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coverage, comprehensive; comprehensive coverage | ความคุ้มครองรวม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coverage, full | ความคุ้มครองเต็มที่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coverage, partial | ความคุ้มครองบางส่วน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
community home | สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน [ ดู house of detention ความหมายที่ ๒ และ reformatory ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conservator | ผู้ปกครอง, ผู้ดูแล, ผู้คุ้มครอง (ที่ศาลตั้ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
capital additions clause | ข้อกำหนดคุ้มครองทุนเพิ่ม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
customers' extension | การขยายความคุ้มครองทรัพย์สินลูกค้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cost escalation cover | ความคุ้มครองต้นทุนเพิ่ม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dividend additions | เงินปันผลเพิ่มความคุ้มครอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Software protection | การคุ้มครองซอฟต์แวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Consumer protection | การคุ้มครองผู้บริโภค [เศรษฐศาสตร์] |
Plants, Protection of | การคุ้มครองพันธุ์พืช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Tariff protection | การคุ้มครองด้วยพิกัดอัตราศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Patent | สิทธิบัตร, หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention)การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model)ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Claim(s) | ข้อถือสิทธิ ที่ขอรับความคุ้มครอง [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Petty Patent | อนุสิทธิบัตร, หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Examiner | พนักงานผู้ทำการตรวจสอบ ตัดสิน ให้สิทธิคุ้มครองสิทธิบัตรที่ยื่นขอของสำนักงานสิทธิบัตรประเทศหนึ่ง ๆ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Grant | การที่สำนักงานสิทธิบัตรอนุมัติให้สิทธิคุ้มครองในทางกฏหมายแก่ผู้ขอรับในช่วงระยะเวลาหนึ่ง, Example: เพื่อป้องกันผู้อื่นนำเทคโนโลยีที่คิดค้นไปใช้ประโยชน์โดยไม่ได้รับอนุญาต [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Infringe | การล่วงละเมิด ด้วยการผลิต ใช้ เลียนแบบกระบวนการ หรือ ขายการประดิษฐ์ที่ได้รับการคุ้มครองจากสิทธิบัตรในประเทศที่มีการยื่นขอ , การล่วงละเมิด ด้วยการผลิต ใช้ เลียนแบบกระบวนการ หรือ ขายการประดิษฐ์ที่ได้รับการคุ้มครองจากสิทธิบัตรในประเทศที่มีการยื่นขอ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธินั้น [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
European Patent Applications | ระบบการยื่นคำขอรับสิทธิบัตรของสำนักงานสิทธิบัตรของทวีปยุโรปแห่งเดียว ที่สามารถให้ความคุ้มครองในแต่ละประเทศที่ระบุต่อไป [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
TRIPs | ความตกลงเพื่อกำหนดมาตรฐานการคุ้มครองขั้นต่ำ สำหรับทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศสมาชิก WTO [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Capital protected fund | กองทุนรวมคุ้มครองเงินต้น, Example: กองทุนรวมที่บริษัทจัดการกองทุนรวมวางแผนการลงทุนเพื่อให้ความคุ้มครองเงินลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ตามที่ระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม [ตลาดทุน] |
Bank protection | การคุ้มครองธนาคาร [TU Subject Heading] |
Consomer protection (Islamic law) | การคุ้มครองผู้บริโภค (กฎหมายอิสลาม) [TU Subject Heading] |
Consumer protection | การคุ้มครองผู้บริโภค [TU Subject Heading] |
Convention Concerning Freedom of Association and Protection of the Right to Organise (1948) | อนุสัญญาว่าด้วยเรื่องเสรีภาพในการรวมตัวเป็นสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการจัดตั้ง (ค.ศ. 1948) [TU Subject Heading] |
Data protection | การคุ้มครองข้อมูล [TU Subject Heading] |
Diplomatic protection | ความคุ้มครองทางการทูต [TU Subject Heading] |
Guardian angels | เทวดาผู้คุ้มครอง [TU Subject Heading] |
Guidelines on the treatment of foreign direct investment | แนวทางการคุ้มครองการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance (2006) | อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย (ค.ศ. 2006) [TU Subject Heading] |
Investment guaranty insurance | ประกันคุ้มครองการลงทุน [TU Subject Heading] |
Juvenile detention homes | สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก [TU Subject Heading] |
Mortgage life insurance | ประกันชีวิตคุ้มครองการจำนอง [TU Subject Heading] |
National protected areas systems | ระบบเขตคุ้มครองแห่งชาติ [TU Subject Heading] |
Paris Convention for the Protection of Industrial Property (1883) | อนุสัญญากรุงปารีสว่าด้วยความคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1883) [TU Subject Heading] |
Plants, Protection of | การคุ้มครองพืช [TU Subject Heading] |
Protected areas | เขตคุ้มครอง [TU Subject Heading] |
Protection | การคุ้มครอง [TU Subject Heading] |
Software protection | การคุ้มครองส่วนชุดคำสั่ง [TU Subject Heading] |
Protective Duty | ภาษีอัตราคุ้มครอง, Example: อัตราค่าธรรมเนียมหรือภาษีนำเข้าที่เรียกเก็บ สินค้าชนิดหนึ่ง ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองอุตสาหกรรม ในประเทศจากการแข่งขันกับสินค้า ชนิดเดียวกันจากต่างประเทศ (ดู Protectionism) [สิ่งแวดล้อม] |
Protectionism | ลัทธิคุ้มครองการค้า, Example: นโยบายของรัฐบาลที่นำภาษี โควต้า และมาตรการจำกัดสินค้านำเข้า มาใช้เพื่อช่วยให้อุตสาหกรรมภายใน ประเทศสามารถอยู่รอดได้ ไม่ต้องแข่งขันกับสอนค้าชนิดเดียวกัน จากต่างประเทศ นักเศรษฐศาสตร์ฝ่ายเสรีนิยมมักมองลัทธิคุ้มครองการค้าว่าก่อให้เกิดผลเสีย หายต่อประเทศโดยส่วนรวม เช่นรัฐบาลให้ความคุ้มครองอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศ โดยการตั้งภาษีสินค้านำเข้าในอัตราสูงมากหรือห้ามนำเข้ารถยนต์จากต่างประเทศ ผลประโยชน์จะตกกับผู้ประกอบรถยนต์เพียงกลุ่มเดียว แต่ผู้บริโภคทั้งประเทศจะเสียผลประโยชน์โดยต้องซื้อสินค้าในราคาที่สูงขึ้น โดยไม่มีเหตุผล [สิ่งแวดล้อม] |
Wildlife Protection | สัตว์ป่าคุ้มครอง, Example: สัตว์ป่าตามที่กฎกระทรวงกำหนดให้เป็นสัตว์ป่า คุ้มครอง แบ่งออกเป็น 7 จำพวก คือ สัตว์ป่าจำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม จำนวน 189 ชนิด สัตว์ป่าจำพวกนก มี 181 ลำดับ จำนวน 771 ชนิด สัตว์ป่าจำพวกเลื้อยคลาน มี 64 ลำดับ จำนวน 91 ชนิด สัตว์ป่าจำพวกปลา จำนวน 4 ชนิด สัตว์ป่าจำพวกแมลง มี 19 ลำดับ สัตว์ป่าจำพวกไม่มีกระดูกสันหลัง มี 19 ลำดับและสัตว์ป่าจำพวกสะเทินน้ำสะเทินบก จำนวน 12 ชนิด [สิ่งแวดล้อม] |
Agreement on Promotion and Protection of Investments | ความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Consulate-General | สถานกงสุลใหญ่ " ที่ทำการซึ่งมีหัวหน้าสำนักงานเป็นกงสุลใหญ่ และมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านหนังสือเดินทาง คุ้มครองคนไทย ตลอดจนด้านเอกสาร นิติกรรมต่าง ๆ ในต่างประเทศ ตำแหน่งต่าง ๆ ประจำสถานกงสุลใหญ่ มีดังนี้ Consul-General กงสุลใหญ่ Deputy Consul-General รองกงสุลใหญ่ Consul กงสุล Vice-Consul รองกงสุล Chancellor ผู้ช่วยกงสุล " [การทูต] |
Convention on the Rights of the Child | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 โดยอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของเด็ก (บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี) เพื่อให้ได้รับการศึกษา การดูแล ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือกระทำทารุณกรรม ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 191 ประเทศ คงเหลือโซมาเลียและสหรัฐอเมริกาที่ยังมิได้ให้สัตยาบัน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กด้วยการภาคยานุวัติ อนุสัญญาฯ มีผลปังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ขณะนี้ไทยยังคงมีข้อสงวน 2 ข้อ คือ ข้อ 7 เรื่องสัญชาติ และ ข้อ 22 เรื่องการให้สถานะเป็นผู้ลี้ภัย [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] |
International Maritime Organization | องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต] |
Inviolability | หมายถึง ความละเมิดมิได้ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ตัวแทนทางการทูตต้องได้รับการคุ้มครองมากยิ่งกว่าบุคคล ธรรมดา มีการกล่าวกันว่า ตัวเอกอัครราชทูตนั้นจะได้รับการเคารพยกย่องพอ ๆ กับตัวประมุขของรัฐทีเดียว การให้ความคุ้มครองเช่นนี้จะขยายไปถึงสิ่งของทุกชิ้นที่เป็นของเอกอัคร ราชทูตบุคคลในครอบครัว บริวาร คนใช้ เครื่องเรือน เอกสาร และจดหมายโต้ตอบของเอกอัครราชทูต เป็นต้น [การทูต] |
Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] |
การคุ้มครอง | [kān khumkhrøng] (n) EN: protection FR: protection [ f ] |
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | [kān khumkhrøng khømūn suanbukkhon] (n, exp) EN: personal data protection FR: protection des données personnelles [ f ] |
การคุ้มครองลิขสิทธิ์ | [kān khumkhrøng likkhasit] (n, exp) EN: copyright protection |
การคุ้มครองผู้บริโภค | [kān khumkhrøng phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer protection |
การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม | [kān khumkhrøng singwaētløm] (n, exp) EN: environment protection FR: protection de l'environnement [ f ] |
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค | [kān khumkhrøng sitthi phūbøriphōk] (n, exp) EN: Protection of Consumers` Rights (PCR) FR: protection du consommateur [ f ] |
การคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย | [kān khumkhrøng sitthi tām kotmāi] (n, exp) EN: legal protection |
ค่าคุ้มครอง | [khā khumkhrøng] (n, exp) EN: protection money |
เขตคุ้มครอง | [khēt khumkhrøng] (n, exp) EN: protectorate |
คุ้มครอง | [khumkhrøng] (v) EN: protect ; guard ; escort ; defend ; preserve ; keep FR: protéger ; garder |
คุ้มครองภัย | [khumkhrøng phai] (v, exp) EN: cover a risk |
คุ้มครองรักษา | [khumkhrøng raksā] (v, exp) EN: protect ; safeguard ; watch over ; defend ; save ; guard ; stick up for ; shield |
คุ้มครองสิทธิ์ | [khumkhrøng sit] (v, exp) EN: guard the rights |
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค | [kotmāi khumkhrøng phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer protection act ; consumer protection law FR: loi sur la protection du consommateur [ f ] |
กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค | [kotmāi khumkhrøng sitthi phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer protection act FR: loi sur la protection du consommateur [ f ] |
กรมธรรม์คุ้มครองรวม | [krommathan khumkhrøng rūam] (n, exp) EN: blanket policy ; blanket insurance |
aegis | (n) การป้องกัน, See also: การปกป้อง, การคุ้มครอง |
at someone's mercy | (idm) ภายใต้การควบคุมของ, See also: ภายใต้การคุ้มครองของ |
at the mercy of | (idm) ภายใต้การควบคุมของ, See also: ภายใต้การคุ้มครองของ |
charm | (vt) ใช้เวทมนตร์คาถาหรือยันต์คุ้มครอง |
consumerism | (n) การคุ้มครองผู้บริโภค |
copyright | (adj) ซึ่งมีการคุ้มครองลิขสิทธิ์, Syn. copyrighted |
coverage | (n) ขอบเขตคุ้มครองในการประกันภัย |
custody | (n) การคุ้มครอง, See also: การปกป้อง, Syn. protection, guardianship, care |
defend against | (phrv) ปกป้องจาก, See also: ป้องกัน, คุ้มครองให้พ้นจาก, Syn. defend from |
defend from | (phrv) ปกป้องจาก, See also: ป้องกัน, คุ้มครองให้พ้นจาก, Syn. defend against |
defend with | (phrv) ปกป้องด้วย, See also: ป้องกันด้วย, คุ้มครองด้วย |
defend | (vt) ปกป้อง, See also: คุ้มครอง, คุ้มกัน, อารักขา, Syn. protect, shield, guard |
defense | (n) การคุ้มครอง, See also: การปกป้อง, การคุ้มกัน, การอารักขา, Syn. protection, safequard, offense, security |
escort | (n) การคุ้มครอง, Syn. protection |
escort | (n) คนที่ไปเป็นเพื่อน, See also: คนคุ้มครอง, Syn. attendant, bodyguard, guard, chaperon |
escort | (vt) คุ้มกัน, See also: ปกป้อง, คุ้มครอง, Syn. guard, protect |
fend | (vt) ป้องกัน (คำโบราณ), See also: พิทักษ์, คุ้มครอง, Syn. parry, repel |
guard against | (phrv) ป้องกันจาก, See also: คุ้มครองจาก, Syn. protect against |
guard from | (phrv) ป้องกันจาก, See also: คุ้มครองจาก, Syn. protect against |
indemnify against | (phrv) ชดใช้ค่าเสียหาย, See also: คุ้มครองค่าเสียหาย, Syn. insure against |
guardedness | (n) การคุ้มครอง, See also: ความระแวดระวัง, ความระมัดระวัง, Syn. protection, Ant. candour |
guardian | (n) ผู้คุ้มครอง, See also: ผู้พิทักษ์, ผู้คุ้มกัน, Syn. guard, protector |
guardian | (adj) ซึ่งคุ้มครอง, See also: ซึ่งพิทักษ์, ซึ่งป้องกัน |
guardian angel | (n) เทพที่คุ้มครองเมื่อยามตกอยู่ในอันตราย |
guardianship | (n) ความคุ้มครอง, Syn. care, conservation, protection |
insurable | (adj) ซึ่งรับประกันได้, See also: ซึ่งสามารถคุ้มครองโดยการประกันภัยได้ |
non-custodial | (adj) ซึ่งไม่คุ้มครองเด็ก, Syn. custodial |
palladium | (n) สิ่งที่ปกป้องคุ้มครอง |
patent | (adj) ซึ่งได้รับการคุ้มครองจากสิทธิบัตร, See also: เกี่ยวกับสิทธิบัตร, Syn. controlled, monopolized, patented, licensed |
patent right | (n) สิทธิบัตร, See also: สิทธิคุ้มครอง |
patron saint | (n) นักบุญผู้ปกป้องคุ้มครอง |
protect | (vt) ป้องกัน, See also: ปกป้อง, คุ้มครอง, อารักขา, Syn. guard, shield |
protect | (vt) ตั้งภาษีสินค้านำเข้าเพื่อคุ้มครองสินค้าในประเทศ |
protection | (n) คนหรือสิ่งที่คุ้มครอง |
protection | (n) ค่าคุ้มครอง |
protector | (n) ผู้ปกป้อง, See also: ผู้คุ้มครอง, ผู้อารักขา, ผู้พิทักษ์, Syn. defender, guardian, sponsor, safeguard |
protege | (n) ผู้อยู่ในความคุ้มครอง |
preserve from | (phrv) คุ้มครอง, See also: ดูแล |
safe | (adj) ปลอดภัย, See also: ซึ่งได้รับการปกป้อง, ซึ่งได้รับการคุ้มครอง, Syn. harmless, inoffensive, mild, secure, unobjectionable, Ant. harmful, dangerous |
safeguard | (vt) ปกป้อง, See also: คุ้มครอง, อารักขา, Syn. protect, look after, defend, guard, preserve, secure |
safekeeping | (n) การเก็บไว้ในที่ปลอดภัย, See also: การคุ้มครอง, Syn. supervision, guardianship |
screen | (vt) คุ้มกัน (คนที่กระทำไม่ถูกต้อง), See also: คุ้มครอง, ปกป้อง |
shepherd | (n) ผู้ปกป้องผู้อื่น, See also: ผู้คุ้มครอง, ผู้ชี้นำ, ผู้นำทาง, Syn. protector, guide, conductor, Ant. follower |
safeguard against | (phrv) ปกป้อง, See also: พิทักษ์, คุ้มครอง, คุ้มกัน |
screen from | (phrv) คุ้มครอง, See also: คุ้มกัน, ป้องกันจาก, Syn. protect against, shelter from |
tribunary | (adj) ซึ่งคุ้มครองสิทธิของประชาชน |
tribune | (n) คนหรือองค์กรคุ้มครองสิทธิของประชาชน |
tribuneship | (n) การคุ้มครองสิทธิของประชาชน |
tribute | (n) ส่วย, See also: ค่าภาษีซึ่งจ่ายให้ผู้ชนะ, ค่าคุ้มครอง, Syn. fee |
tutelar | (adj) เกี่ยวกับผู้คุ้มครอง |
aegis | (อี' จิส) n. โล่, การป้องกัน, การช่วยเหลือ, การคุ้มครอง., Syn. egis |
asylum | (อะไซ'ลัม) n. สถานที่ดูแลคนตาบอด คนบ้า เด็กกำพร้า, ที่ลี้ภัย, การให้ความคุ้มครองผู้ลี้ภัยจากต่างประเทศ, ที่พ้นภัย, โรงพยาบาลคนบ้า |
bless | (เบลส) { blessed/blest, blessed/blest, blessing, blesses } vt. อวยพร, ให้ศีลให้พร, ให้เจริญ, ให้มีความสุข, สรรเสริญ, ให้ศักดิ์สิทธิ์, ขีดกากบาทบนหน้าอกตัวเอง, อธิษฐานให้พระเจ้าให้พรแก่, ประสาทพร, คุ้มครอง, ปกป้อง, สาปแช่ง, See also: blesser n. คำที่มีความหมาย |
castle | (คาส'เซิล) { castled, castling, castles } n. ประสาท, คฤหาสน์, ป้อมปราการ, ตัวหมากรุกฝรั่งที่เทียบเท่ากับเรือของหมากรุกไทย, สถานหลบภัยที่ปลอดภัย vt. ใส่ในป้อมปราการ, ใช้เรือคุ้มครองขน, Syn. palace |
copyright | (คอพ'พีไรทฺ) n. ลิขสิทธิ์. adj. ซึ่งได้รับการคุ้มครองโดยลิขสิทธิ์, See also: copyrightable adj. ดูcopyright copyrighter n. ดูcopyright |
covert | (คัฟ'เวิร์ท) adj. ซึ่งหลบซ่อน, ซึ่งซ่อนเร้นอย่างลับ ๆ , แอบแฝง, ภายใต้การคุ้มครองของสามี n. สิ่งปกคลุม, ที่กำบัง, ที่หลบซ่อน, การปิดบัง, การปลอมตัว, พุ่มไม้สำหรับสัตว์ที่จะล่า, See also: covertness n. ดูcovert, Syn. clandestine, hid |
defenceless | adj. ไร้การป้องกัน, ไม่มีการคุ้มครอง |
game law | n. กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าสงวน |
grith | (กริธ) n. การป้องกัน, การคุ้มครอง, ที่พำนัก |
guard | (การ์ด) n., vt. (ผู้) พิทักษ์, เฝ้า, ป้องกันรักษา, ดูแล, คุ้มครอง, ทหารยาม, องค์รักษ์., See also: guarder n., Syn. watch, oversee |
guardian | (การ์'เดียน) n., adj. (ซึ่งเป็น) ผู้ปกครอง, ผู้คุ้มครอง, ผู้คุ้มกัน, ผู้พิทักษ์., Syn. protector, custodian |
guardianship | (การ์'เดียนชิพ) n. การคุ้มครอง, การพิทักษ์, การเป็นผู้ปกครอง, Syn. care |
indemnify | (-เดม' นะไฟ) vt. ชดใช้ค่าเสียหาย, ชดใช้, ทำขวัญ, คุ้มครอง., See also: indemnifier n. |
indemnity | (อินเดม' นิที) n. การชดเชยค่าเสียหาย, สิ่งชดเชย, เงินชดเชยค่าเสียหาย, ค่าสินไหมทดแทน, การป้องกัน, การคุ้มครอง, Syn. repay |
lee | (ลี) n. ที่หลบลม, ที่กำบัง, ที่บังลม, การคุ้มครอง, บริเวณที่ลมพัดเข้าหา, บริเวณใต้ลม, ตะกอน -Phr. (under the lee ด้านอับลม. adj. ใต้ลม, ตามลม) |
patent | (แพท'ทันทฺ) n. สิทธิบัตร adj. ซึ่งได้รับการคุ้มครองจากสิทธิบัตร, ได้รับประโยชน์เฉพาะตัว, See also: patentability n. |
patent right | n. สิทธิคุ้มครองที่ได้รับจากสิทธิบัตร |
preservation | (เพรซเซอเว'เชิน) n. การเก็บรักษาไว้, การสงวน, การปกปักรักษา, การคุ้มครอง, การดำรง, การคงไว้, การพิทักษ์รักษา, See also: preservationist n. |
preserve | (พรีเซิว์ฟว') vt. สงวน, ดำรง, ปกปักรักษา, คุ้มครอง, ดอง, หมัก, อนุรักษ์. n. สิ่งที่ใช้สงวน, ยากันบูด, ของดอง, ของหมัก, บริเวณป่าสงวน., See also: preservability n. preservable adj. preservation n. preserver n., Syn. guard, m |
protecting | (โพรเทค'ทิง) adj. ซึ่งป้องกัน, ซึ่งคุ้มครอง., See also: protectingness n. |
protection | (พระเทค'เชิน) n. การป้องกัน, การคุ้มครอง, การพิทักษ์, การอารักขา, ระบบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูง, เอกสารคุ้มครอง, หนังสือเดินทาง, ค่าคุ้มครอง, ค่าอารักขา, Syn. security, defense |
protectionism | (พระเทค'เชินนิสซึม) n. ระ-บบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูงสำหรับสินค้าที่เป็นคู่แข่ง., See also: protectionist n. |
protective | (พระเทค'ทิฟว) adj. ซึ่งป้องกัน, ซึ่งคุ้มครอง, ซึ่งอารักขา, เกี่ยวกับprotectionism, See also: protectiveness n., Syn. guiding, assisting |
protege | (โพร'ทะเ?) n. ผู้ที่ได้รับการคุ้มครอง, ผู้ที่อยู่ในอุปถัมภ์, บุตรบุญธรรม, Syn. woman |
safeguard | (เซฟ'การ์ด) n. เครื่องป้องกัน, สิ่งป้องกัน, ผู้คุ้มกัน, ผู้คุ้มครอง vt. คุ้มกัน, คุ้มครอง, อารักขา, Syn. defense, precaution |
safekeeping | (เซฟ'คีพิง) n. การเก็บไว้ในที่ปลอดภัย, การคุ้มกัน, การคุ้มครอง, การอารักขา |
shelter | (เชล'เทอะ) n. ที่กำบัง, ที่หลบภัย, ที่หลบซ่อน, ที่พักอาศัย, ที่ลี้ภัย, ที่เป็นร่มไม้ชายคา, การป้องกันหรือหลบภัยจากสถานที่ดังกล่าว, การคุ้มครอง vt. เป็นที่กำบังหรือที่หลบภัย, ให้ที่กำบังหรือที่หลบภัย, คุ้มครอง, ปกป้อง vi. หลบภัย, หลบซ่อน, ลี้ภัย. |
shield | (ชีลด) n. โล่, ตราประจำตระกูล, สมาคมหรือโรงเรียน, เกราะหรือกระดองที่หน้าอก, ตราตำรวจหรือนายอำเภอ, ผู้ปกครอง, สิ่งคุ้มครอง, ฝาครอบกะบัง vt. ปกป้อง, ป้องกัน, คุ้มครอง, ซ่อน, ซ่อนเร้น. vi. เป็นโล่ป้องกัน., See also: shielder n. -S... |
tribune | (ทริบ'บิวน์) n. ผู้พิทักษ์สิทธิของประชาชน, เจ้าหน้าที่คุ้มครองประชาชน, เวทีแสดงสุนทรพจน์, เวทีอภิปราย, ยกพื้นสำหรับการแสดงสุนทรพจน์, See also: tribuneship n. |
wing | (วิง) n. ปีก, ปีกนก, ปีกเครื่องบิน vt. ติดปีก, ทำให้บินได้, ขนส่งทางอากาศ vi. บิน -Phr. (under one's wing ภายใต้การคุ้มครองหรืออุปถัมภ์ของ), Syn. annex, fly |
guardian | (n) ผู้ปกครอง, ผู้คุ้มครอง, ผู้ป้องกัน, ผู้คุ้มกัน, ผู้พิทักษ์ |
guardianship | (n) การปกครอง, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การคุ้มกัน |
keeping | (n) การเฝ้า, การดูแล, การอารักขา, การคุ้มครอง, การเก็บรักษา |
palladium | (n) เครื่องคุ้มครอง, เครื่องป้องกัน |
preserve | (vt) สงวน, รักษาไว้, ดำรง, คุ้มครอง, ดอง, หมัก, อนุรักษ์ |
protection | (n) การป้องกัน, การอารักขา, การคุ้มกัน, การคุ้มครอง |
safeguard | (n) เครื่องป้องกัน, การพิทักษ์, ผู้อารักขา, ผู้คุ้มกัน, ผู้คุ้มครอง |
safeguard | (vt) ป้องกัน, พิทักษ์, อารักขา, คุ้มกัน, คุ้มครอง |
save | (vt) ประหยัด, ช่วยชีวิต, รักษา, ป้องกัน, กอบกู้, ช่วยเหลือ, คุ้มครอง |
shelter | (vt) ให้ที่กำบัง, ให้ที่พัก, ปกป้อง, คุ้มครอง |
shield | (vt) คุ้มครอง, ป้องกัน, กำบัง, ซ่อน, ปกป้อง |
tutelage | (n) ความคุ้มครอง, การสั่งสอน, การปกครอง, การอนุบาล, การพิทักษ์ |
ward | (n) ผู้ที่อยู่ในความคุ้มครอง, ตึกคนไข้, ห้องพยาบาล, ท้องที่ |
ward | (vt) คุ้มครอง, ปกป้อง, ดูแลรักษา |