คำขอ | (n) request, See also: appeal, demand, Syn. คำร้อง, Example: การขอลิขสิทธิ์ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สามารถขอตรวจและยื่นคำขอได้ที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อขอให้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ยื่น, Notes: (กฎหมาย) |
คำขอ | (n) petition to the crown, See also: petition to the court, appeal to the court, Syn. คำร้องขอ, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: คำซึ่งคู่ความขอให้ศาลมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง, Notes: (กฎหมาย) |
คำขอโทษ | (n) excuse, See also: pardon, Example: การกล่าวคำขอโทษคงจะไม่เพียงพอต่อความผิดครั้งนี้, Thai Definition: ขอให้ยกเว้นโทษ, ใช้เป็นคำสุภาพเมื่อรู้สึกว่าจะเป็นการล่วงเกินหรือต่ำสูงต่อผู้อื่น |
คำขอบคุณ | (n) thank, See also: gratefulness, recognition, Example: พิธีกรกล่าวคำขอบคุณผู้ชมที่มาร่วมงานในวันนี้, Thai Definition: คำกล่าวแสดงความรู้สึกบุญคุณ |
กษมา ๑ | (กะสะ-) ก. กล่าวคำขอโทษ, โดยมากใช้ว่า ษมา. |
กุดา | ใช้เป็นสร้อยคำของ กุฎี เช่น สู่กุฎีกุดาสวรรค์ (ม. คำหลวง มัทรี). |
ขมา | (ขะมา) ก. กล่าวคำขอโทษ เช่น ไปขมาศพ, ษมา ก็ใช้. |
คดีมโนสาเร่ | น. คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ไม่เกินสามแสนบาท หรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา และคดีฟ้องขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นคำฟ้องไม่เกินเดือนละสามหมื่นบาทหรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา. |
คำร้อง ๑ | น. คำขอที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อให้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ร้อง. |
เจ้าข้า | ว. คำของผู้น้อยรับคำของผู้ใหญ่ |
ช้าก่อน | เป็นคำขอร้องให้รั้งรอไว้ก่อน. |
เดี๋ยวก่อน | คำขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ประเดี๋ยวก่อน ก็ว่า. |
ทับศัพท์ | ว. ที่เขียนคำของภาษาหนึ่งด้วยตัวอักษรของอีกภาษาหนึ่งโดยวิธีถ่ายเสียงและถอดอักษร เช่น คำว่า computer เขียนทับศัพท์เป็น คอมพิวเตอร์. |
ใบเหลือง | ใบรับคำขอมีบัตรประจำตัวประชาชน ขอมีบัตรใหม่ หรือขอเปลี่ยนบัตร ซึ่งใช้แทนบัตรประจำตัวประชาชนได้. |
ประเดี๋ยวก่อน | คำขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง, เดี๋ยวก่อน ก็ว่า. |
พุทธฎีกา | น. ถ้อยคำของพระพุทธเจ้า |
พุทธฎีกา | ถ้อยคำของสมเด็จพระสังฆราช. |
ยังก่อน | คำขอร้องให้รั้งรอไว้ก่อน เช่น ยังก่อน อย่าเพิ่งกิน. |
ลูกคำ | น. เรียกคำ ๒ คำเมื่อเอามาประสมกันแล้วมีความหมายต่างไปจากคำเดิม ว่า ลูกคำของคำตั้ง เช่น ลูกค้า ลูกเขย เป็นลูกคำของคำ ลูก. |
ษมา | (สะมา) ก. กล่าวคำขอโทษ, ขมา ก็ว่า. |
สนอง | (สะหฺนอง) ก. ทำตามที่ได้รับคำสั่งหรือคำขอร้องเป็นต้น เช่น สนองโครงการในพระราชดำริ สนองนโยบายของรัฐบาล |
precatory words | คำแสดงความปรารถนา, คำขอร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proposal | คำขอเอาประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proposal form | ใบแบบคำขอเอาประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
poverty affidavit | คำขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
R/I treaty standard slip | ใบคำขอมาตรฐานสัญญาประกันภัยต่อ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
request | คำขอ, คำร้องขอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
requisition | ๑. การเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก (สิ่งที่ต้องการ)๓. การขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
requisition | ๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
on-demand | ตามคำขอ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
application, ex parte | คำขอฝ่ายเดียว (ต่อศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
application | คำขอเอาประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
application | ๑. คำขอ๒. การใช้, การประยุกต์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
application by motion | คำขอโดยทำเป็นคำร้อง (ต่อศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
application for a new trial | คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ [ ดู motion for new trial ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
motion | ๑. ญัตติ๒. คำร้อง, คำขอ (ต่อศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
motion | ๑. ญัตติ (ก. ทั่วไป)๒. คำร้อง, คำขอ (ต่อศาล) (ป. วิ. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
motion for new trial | คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ [ ดู application for a new trial ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
motion to dismiss | คำขอให้ยกฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
movent; movant | ผู้ยื่นคำขอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
movant; movent | ผู้ยื่นคำขอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
move | ๑. ยื่นคำขอ (ป. วิ. แพ่ง)๒. ย้าย (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Common Object Request Broker Architecture (CORBA) | สถาปัตยกรรมตัวจัดหาอ็อบเจกต์ร่วมตามคำขอ (คอร์บา) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CORBA (Common Object Request Broker Architecture) | คอร์บา (สถาปัตยกรรมตัวจัดหาอ็อบเจกต์ร่วมตามคำขอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
demand | คำขอ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demand paging | การสลับหน้าตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
demand processing | การประมวลผลตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
demand reading | การอ่านตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
demand writing | การบันทึกตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
fax on demand | โทรสารตามคำขอ [ มีความหมายเหมือนกับ fax back ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ex parte application | คำขอฝ่ายเดียว (ต่อศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
VOD (video on demand) | วีโอดี (วีดิทัศน์ตามคำขอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
video on demand (VOD) | วีดิทัศน์ตามคำขอ (วีโอดี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
words, precatory | คำแสดงความปรารถนา, คำขอร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Application No. | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publication Number | หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Priority Number | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publication Date | วันที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Continuing Applications | การยื่นคำขอแบบต่อเนื่อง, การยื่นคำขอแบบต่อเนื่อง, Example: มี 3 ประเภท คือ Division, Continuation และ Continuation-in-part [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Disposal | คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว, คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ, Example: ใช้ในบางประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกา เป็นการกล่าวถึงว่า คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Priority Date | วันยื่นคำขอ ซึ่งถูกอ้างการมีสิทธิก่อนในกรณีที่ยืนคำขอมากกว่าหนึ่งประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Rejection | สำนักงานสิทธิบัตรปฏิเสธ ไม่ยอมรับคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
European Patent Applications | ระบบการยื่นคำขอรับสิทธิบัตรของสำนักงานสิทธิบัตรของทวีปยุโรปแห่งเดียว ที่สามารถให้ความคุ้มครองในแต่ละประเทศที่ระบุต่อไป [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
International Patent Application | คำขอรับสิทธิบัตรเดียว ที่สามารถยื่นในระดับนานาชาติ 142 ประเทศ, คำขอรับสิทธิบัตรเดียว ที่สามารถยื่นในระดับนานาชาติ 142 ประเทศ, Example: ตามข้อตกลง PCT โดยผ่านจากหมายเลขเดียว ก่อนที่จะเข้าสู่ระบบตรวจสอบสิทธิบัตรของแต่ละประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Plant Application (Patent) | คำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ พืชประเภทที่มีการขยายพันธ์แบบไร้เพศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Application Date | วันที่ยื่นคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Motions (Law) | คำขอ (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Termination of Mission of Diplomatic Agent | ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
wikipedia | วิกิพีเดีย, สารานุกรมออนไลน์หลายภาษาที่แจกจ่ายในลักษณะเนื้อหาเสรี บริหารงานโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย คำว่า "วิกิพีเดีย" มีที่มาของชื่อการผสมคำของคำว่า wiki ซึ่งเป็นลักษณะของการสร้างเว็บไซต์ที่ร่วมกันปรับปรุง และคำว่า encyclopedia ที่แปลว่าสารานุกรม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Video on demand (VOD) | วีดิทัศน์ตามคำขอ (วีโอดี), วีดิทัศน์ตามคำขอ, Example: <b>วีดิทัศน์ตามคำขอ (Video on demand)</b> คือ ระบบการเรียกดูภาพยนตร์ตามสั่งที่จะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูภาพยนตร์ หรือข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ โดยสามารถใช้งานนี้ได้จากเครือข่ายสื่อสาร (Telecommunications Networks) ผู้ใช้งานซึ่งอยู่หน้าเครื่องลูกข่าย (Video Client) สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ทุกเมื่อตามต้องการ และสามารถควบคุมข้อมูลวิดีโอนั้นๆ ได้โดยสามารถย้อนกลับ (Rewind) หรือกรอไปข้างหน้า (Forward) หรือหยุดชั่วคราวได้เปรียบเหมือนการดูวิดีทัศน์อยู่ที่บ้านนั่นเอง ทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายไม่จำเป็นต้องดูข้อมูลเดียวกันกล่าวคือสามารถดูภาพยนตร์เรื่องเดียวกันหรือต่างกันก็ได้<br><br> การใช้งานวีดิทัศน์ตามคำขอ จะให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้ โดยผู้ใช้แต่ละคนจะสามารถเลือกดูรายการที่ตนเองสนใจเวลาใดก็ได้ โดยไม่ขึ้นอยู่กับผู้อื่นและไม่ต้องรอตารางเวลา แต่จะต้องใช้ความเร็วของเครือข่ายสื่อสารให้มากตามไปด้วย เนื่องจากจะต้องมีการส่งสัญญาณวิดีโอ 1 stream สำหรับผู้ใช้ 1 คน ระบบวีดิทัศน์ตามคำขอนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งในแง่ให้ความบันเทิงและให้ความรู้ ตามแต่เนื้อหาของวิดีทัศน์ที่บรรจุลงไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
คำขอ | [khamkhø] (n) EN: request ; appeal ; demand ; motion ; application ; petition FR: demande [ f ] ; requête [ f ] |
คำขออภัย | [khamkhø aphai] (n, exp) EN: apology |
คำขอร้อง | [khamkhørøng] (n) EN: request ; application |
คำขอโทษ | [khamkhøthōt] (n, exp) EN: excuse ; pardon ; apology FR: excuse [ f ] ; regret [ m ] ; pardon [ m ] |
ปฏิเสธคำขอ | [patisēt khamkhø] (v, exp) EN: refuse a request |
ผู้ยื่นคำขอ | [phū yeūn khamkhø] (n, exp) EN: applicant |
ยอมรับคำขออภัย | [yømrap kham khø aphai] (v, exp) EN: accept an apology FR: accepter les excuses |
apology | (n) คำขอโทษ, See also: การขอโทษ, การขอขมา, การขออภัย, Syn. excuse, regrets |
appeal | (n) คำขอร้อง |
at someone's request | (idm) ตามคำขอร้องของ |
invocation | (n) คำขอร้อง, See also: การอ้อนวอน, Syn. appeal, petition, supplication |
petition | (n) คำอ้อนวอน, See also: คำขอร้อง, Syn. prayer, request, supplication |
plea | (n) คำร้อง, See also: คำขอ, คำขอร้อง, คำวิงวอน, Syn. request, overture |
proposal | (n) คำขอแต่งงาน, Syn. offer, overture, proposition |
request | (n) การขอร้อง, See also: การขอ, คำขอร้อง, การเรียกร้อง, Syn. asking, appeal |
rosary | (n) พิธีสวดมนต์นับลูกประคำของคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก |
wish | (n) คำขอร้องอย่างสุภาพ (คำเป็นทางการ), Syn. desire |
anadiplosis | (แอนนะไดโพล' ซิส) n. การซ้ำคำของอนุประโยคหรือประโยค |
apology | (อะพอล'โลจี) n. การขออภัย, การขอโทษ, คำขอโทษหรือขออภัย, Syn. plea, excuse |
behest | (บิเฮสทฺ') n. คำสั่ง, คำขอร้อง, พระบรมราชโองการ, Syn. command |
entreaty | (เอนทรี'ที่) n. การขอร้อง, การวิงวอน, คำขอร้อง, คำวิงวอน, คำอ้อนวอน |
excuse | (v. เอคคิวซ', n. เอคคิวซ') vt. ขอโทษ, ขออภัย, ยกโทษ, แก้ตัว, ยอมรับคำแก้ตัว, ยกเว้น, ปลดเปลื้อง. n. คำขอโทษ, คำแก้ตัว, การให้อภัย, ข้อแก้ตัว, ข้ออ้าง, การปลดเปลื้อง., See also: excusableness n. ดูexcuse excusably adv. ดูexcuse excuser n. ดูexcuse |
plea | (พลี) n. คำแก้ตัว, คำแก้ต่าง, คำแก้ฟ้อง, ข้อต่อสู้ในอรรถคดี, คำขอร้อง, การขอร้อง, การวิงวอน |
request | (รีเควสทฺ') n. การขอร้อง, ความต้องการ, คำขอร้อง, คำเรียกร้อง, คำอ้อนวอน, สิ่งที่ขอร้อง, ความต้องการ -Phr. (at (by) request ตามคำขอร้อง) vt. ขอร้อง, เรียกร้อง, อ้อนวอน, ขอ, ถามหา, See also: requester n., Syn. desire, wish, appeal |
suit | (ซูท) n. คำร้อง, คำขอร้อง, การขอร้อง, การขอแต่งงาน, การเกี้ยวพาราสี, การฟ้องร้อง, การฟ้องร้องคดี, คดี, ฎีกา, ชุดเสื้อผ้า, ชุด, ชุดไพ่ดอกสีเดียวกัน, ผู้ติดตาม. vt., vi. ทำให้เหมาะกับ, เหมาะสม, จัดให้มีชุดเสื้อผ้าหรืออื่น ๆ |
apology | (n) คำขอโทษ, คำขออภัย, คำแก้ตัว, การขอโทษ, การขออภัย |
demand | (n) ความต้องการ, คำขอร้อง, อุปสงค์, การเรียกร้อง |
entreaty | (n) การอ้อนวอน, การวิงวอน, การขอร้อง, การร้องขอ, คำขอร้อง |
excuse | (n) คำขอโทษ, การให้อภัย, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง |
instance | (n) ตัวอย่าง, คำขอร้อง, กรณี, โอกาส, ความรีบด่วน, การฟ้องร้อง |
invitation | (n) คำเชิญ, คำขอร้อง, บัตรเชิญ, การเชิญ |
offer | (n) คำขอ, ข้อเสนอ, การยกให้, การเสนอ, การถวาย |
plea | (n) คำขอร้อง, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง, การวิงวอน, การอ้อนวอน |
proposal | (n) ข้อเสนอ, การขอแต่งงาน, การเสนอความเห็น, คำขอ |
request | (n) คำร้อง, การขอร้อง, คำขอ, การเรียกร้อง, ความต้องการ |
suit | (n) คดีความ, คำขอร้อง, หน้าไพ่, เสื้อผ้าทั้งชุด, การเกี้ยว |
勘弁 | [かんべん, kanben] (n) ยกโทษ ขออภัย ในบางครั้งใช้ในการปฏิเสธคำขอร้อง |
願い | [ねがい, negai] การขอร้อง คำขอร้อง |
申し訳ない | [もうしわけない, moushiwakenai] การกล่าวคำขอโทษ |
douitashimashite / どういたしまして / どう致しまして/ 如何致しまして | [โดอิตะชิมะชิเตะ] (phrase) ไม่เป็นไร, ด้วยความยินดี (ตอบรับคำขอบคุณจากบุคคลที่เราให้ความช่วยเหลือ), See also: S. you are welcome, R. you are welcome, douitashimashite, どういたしまして, どう致しまして, 如何致しまして |