คะแนน | (n) mark, See also: score, point, tally, Syn. แต้ม, Example: ครูบอกว่าคะแนนที่จะได้ขึ้นอยู่กับจำนวนและคุณภาพของงานที่แต่ละคนทำ, Count Unit: คะแนน, Thai Definition: เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้ในการกำหนดค่าในการสอบหรือแข่งขัน |
ลงคะแนน | (v) vote, See also: elect, ballot, Example: ในการเลือกตั้ง ส.ข. ครั้งนี้ คนในชุมชนมาลงคะแนนแค่ร้อยละ 10 เท่านั้น |
ตัดคะแนน | (v) cut down one's marks, See also: reduce one's marks, Syn. หักคะแนน, Example: ผู้ตัดสินหรือกรรมการมีสิทธิ์ตัดคะแนนของผู้เล่นหรือของทีมได้ |
นับคะแนน | (v) count votes, Example: คณะกรรมกรรมเริ่มนับคะแนนหลังจากปิดหีบเลือกตั้ง |
หักคะแนน | (v) deduct marks, See also: deduct marks for errors, Syn. ตัดคะแนน, ตัดแต้ม, Ant. เพิ่มคะแนน, Example: กรรมการจะหักคะแนนทีมที่ไม่ลงแข่งขันภายในระยะเวลาที่กำหนดทีมละ 3 คะแนน, Thai Definition: ลบจำนวนแต้มที่ทำได้ออก |
หัวคะแนน | (n) election canvasser, See also: election campaigner, Example: การจ่ายเงินซื้อเสียงจะจ่ายผ่านทางหัวคะแนน มักจะกระทำกันในระยะ 2-3 วันก่อนวันเลือกตั้ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้รับหาคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครระดับเลือกตั้ง, Notes: (ปาก) |
หัวคะแนน | (n) election canvasser, See also: election campaigner, Example: การจ่ายเงินซื้อเสียงจะจ่ายผ่านทางหัวคะแนน มักจะกระทำกันในระยะ 2-3 วันก่อนวันเลือกตั้ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้รับหาคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครระดับเลือกตั้ง, Notes: (ปาก) |
แพ้คะแนน | (v) be voted down, Syn. แพ้แต้ม, Example: นักมวยจากเกาหลีใต้แพ้คะแนนนักมวยไทยอย่างห่างชั้น, Thai Definition: มีคะแนนสู้ไม่ได้ |
ให้คะแนน | (v) mark, See also: give credit mark, grade, Syn. ให้แต้ม, Example: ผู้ชมให้คะแนนนักร้องมือใหม่อย่างท่วมท้นจนชนะเลิศในการแข่งขัน, Thai Definition: ให้ค่าในการสอบหรือการแข่งขัน |
คะแนนนิยม | (n) popularity, Syn. คะแนนเสียง, คะแนนสนับสนุน, Example: ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแทบทุกคนได้หยิบยกเอาการแก้ไขปัญหานี้เป็นนโยบายสำคัญหรือเรียกร้องคะแนนนิยมจากประชาชนชาวกรุงเทพฯ, Thai Definition: ความนิยมที่แสดงออกว่ามีมากน้อยเพียงไร |
คะแนนเต็ม | (n) full marks, Example: การแข่งขันรอบนี้มีคะแนนเต็มทั้งหมด 500 คะแนน, Count Unit: คะแนน, Thai Definition: จำนวนแต้มการนับสำหรับคะแนนที่ทำได้ทั้งหมด |
คะแนนเสียง | (n) vote, See also: ballot, Example: ส่วนหนึ่งของความสำเร็จของหัวคะแนนในการชักจูงให้ชาวบ้านลงคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครที่ตนสนับสนุนคือ การที่หัวคะแนนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวบ้าน, Thai Definition: ความเห็นที่ลงเป็นคะแนน, คะแนนจากผู้ที่มีสิทธิ์ออกเสียง |
คะแนนเฉลี่ย | (n) point average, See also: mean, Example: ผู้สำเร็จการศึกษามีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.50 - 2.99 มากที่สุด รองลงมามีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.00 - 2.49 |
บัตรลงคะแนน | (n) ballot box |
ลงคะแนนเสียง | (v) vote for, See also: elect, cast one's vote, ballot, opt, Syn. ลงคะแนน, โหวต, Example: ผู้ที่รับเงินเพื่อลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัคร เป็นพวกเห็นแก่เงิน, Thai Definition: แสดงความเห็นโดยนับความเห็นของผู้ออกเสียงคนหนึ่งเป็นหนึ่งคะแนน |
คะแนนเสียงข้างมาก | (n) majority vote, Syn. เสียงส่วนใหญ่, Ant. คะแนนเสียงข้างน้อย, เสียงส่วนน้อย, Count Unit: คะแนน, Thai Definition: คะแนนเสียงที่มีมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนผู้ลงคะแนนเสียง |
คะแนนเสียงข้างน้อย | (n) minority vote, Syn. เสียงส่วนน้อย, Ant. คะแนนเสียงข้างมาก, เสียงส่วนใหญ่, Count Unit: คะแนน, Thai Definition: คะแนนเสียงที่มีน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนผู้ลงคะแนนเสียง |
ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | (n) elector, See also: qualified voter |
คะแนน | น. เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้กำหนดค่าในการสอบหรือแข่งขันเป็นต้น. |
คะแนนนิยม | น. ความนิยมที่แสดงออกว่ามีมากน้อยเพียงใด. |
คะแนนเสียง | น. คะแนนที่ลงในการออกเสียง. |
พระคะแนน | น. พระเครื่องขนาดเล็ก ใช้เป็นสิ่งกำหนดนับจำนวนพระเครื่องที่สร้างขึ้น เช่น เมื่อสร้างพระเครื่องครบ ๑๐๐ องค์ ก็มีพระคะแนน ๑ องค์. |
ลงคะแนน | ก. แสดงความเห็นโดยลงเป็นคะแนน. |
ใส่คะแนนไม่ทัน | ว. เร็วมาก, คล่องมาก, (ใช้แก่กริยาพูด), เช่น เธอพูดเร็วมากจนใส่คะแนนไม่ทัน. |
หัวคะแนน | น. ผู้รับหาคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง. |
กด ๔ | ทำให้มีค่าน้อยลงกว่าควรจะเป็น เช่น กดราคา กดคะแนน |
กระดูกขัดมัน | ให้คะแนนยาก เช่นอาจารย์คนนี้กระดูกขัดมันชะมัดออกข้อสอบก็ยากแล้วยังขี้เหนียวคะแนนอีก. |
เก็บ ๑ | ก. เอาไปหรือเอามาจากที่ เช่น เก็บผ้า เก็บผลไม้, เอาเข้าที่ เช่น เอาหนังสือไปเก็บ เอารถไปเก็บ, เอาสิ่งของที่ตกหล่นอยู่ขึ้นมา เช่น เก็บของตก, รวบรวมไว้ เช่น เก็บคะแนน, เรียกเอา เช่น เก็บค่าเช่า เก็บค่านํ้า, รักษาไว้ เช่น ห้องเก็บของ. |
แกนนำ | ผู้ที่เป็นหลักในการเจรจาเพื่อดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล. |
ขึ้นร้าน | น. วิธีนับคะแนนในการเล่นหมากเก็บ โดยเอาตัวหมากทั้งหมดวางบนหลังมือ กระดกมือให้หมากลอยขึ้นแล้วหงายมือรับอย่างรวดเร็ว. |
ความถี่ | จำนวนคะแนนในกลุ่มของข้อมูลที่มีสมบัติเหมือนกัน. |
คาบเส้น | ก. อยู่ตรงเกณฑ์ที่กำหนดพอดี เช่น สอบไล่ได้คะแนนคาบเส้น. |
คู่คี่ | ว. ไล่เลี่ยกัน เช่น เขามีคะแนนคู่คี่กัน. |
คูหา | โดยอนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตรออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง. |
ฉุด | ก. ออกแรงดึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างแรงให้เข้ามาหาตัว เช่น ฉุดคนที่หกล้มให้ลุกขึ้นมา ฉุดไว้ไม่ให้ไป, โดยปริยายหมายความว่า ถ่วงให้ต่ำลง เช่น คะแนนภาษาอังกฤษฉุดให้คะแนนรวมต่ำลง, หรือดึงให้สูงขึ้น เช่น ได้เกาะชายผ้าเหลืองฉุดขึ้นสวรรค์. |
ดึง | ก. กิริยาที่ใช้มือหรืออุปกรณ์จับหรือผูกสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วออกแรงทำให้เคลื่อนเข้ามาหรือเคลื่อนไปตามทิศทางที่ต้องการ เช่น ดึงแขนไว้ ดึงตัวเข้ามากอด ดึงหนังสติ๊กให้ยืดออก ใช้รอกดึงของหนักขึ้นบนที่สูง, โดยปริยายหมายความว่า ทำให้ดีขึ้น เช่น คะแนนวิชาศิลปะดึงให้คะแนนรวมสูงขึ้น, หรือทำให้ต่ำลง เช่น คบเพื่อนไม่ดีจึงพากันดึงลงเหว |
ตัด | ทอน เช่น ตัดฟืนเป็นท่อน ๆ, ทำให้ลดลง, หักออก, เช่น ตัดเงินเดือน ตัดคะแนน, ลัด เช่น เดินตัดทาง |
ต่ำสุด | ว. น้อยที่สุด เช่น ตัวเลขต่ำสุด คะแนนนิยมต่ำสุด. |
ติ้ว ๒ | น. ไม้ซี่แบน ๆ ชิ้นเล็ก ๆ มักทำด้วยไม้ไผ่ ยาวประมาณ ๑-๒ คืบ ใช้สำหรับเป็นคะแนน เช่น ปักติ้ว นับติ้ว ถ้าส่วนปลายมีเครื่องหมายหรือตัวเลขกำกับไว้ ใช้สำหรับเสี่ยงทาย เช่น สั่นติ้วเซียมซี หรือสำหรับใช้แทนสลาก เช่น เอาติ้วไปขึ้นของ. |
ตีเสมอ | ทำคะแนนได้เท่ากัน (ใช้แก่การแข่งขันกีฬา) เช่น ฟุตบอลคู่นี้ตีเสมอกันในนาทีสุดท้าย. |
แต้ม | คะแนน เช่น สอบได้กี่แต้ม |
ถั่ว ๒ | น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือ เมล็ดละหุ่ง เป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ มี เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และอา, โปกำ ก็เรียก. |
ท่วมท้น | ว. มากมายเหลือล้น เช่น ได้คะแนนเสียงท่วมท้น. |
บาสเกตบอล | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ผู้เล่นแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๕ คน ผู้เล่นแต่ละฝ่ายต้องพยายามโยนลูกบอลลงในห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม นับคะแนนตามจำนวนครั้งที่โยนลูกลงห่วงได้. |
ประชามติ | มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum) |
เปตอง | น. ชื่อกีฬากลางแจ้งชนิดหนึ่ง มักเล่นในสนามที่เป็นดินแข็ง มีผู้เล่นฝ่ายละไม่เกิน ๓ คน โยนลูกโลหะกลมซึ่งข้างในกลวงจำนวน ๑๒ ลูก ให้เข้าใกล้ลูกเป้าซึ่งเป็นลูกทรงกลมทำด้วยไม้เนื้อแข็งให้มากที่สุด ฝ่ายที่ทำคะแนนถึงเกม คือ ๑๓ คะแนนได้ก่อนเป็นฝ่ายชนะ. |
เปอร์เซ็นต์ | น. จำนวนที่เทียบเป็นส่วนร้อยหรือร้อยละ, การคิดเทียบเป็นส่วนร้อย เรียกว่า ร้อยละ หรือ ต่อร้อย ใช้เครื่องหมาย % แทน เช่น นักเรียนโรงเรียนนี้สอบได้ ๗๐ % คือ สอบได้ ๗๐ คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๑๐๐ คน เด็กคนนี้สอบได้ ๘๐ % คือ ได้คะแนน ๘๐ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน |
โปกำ | น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือเมล็ดละหุ่งเป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ คือ เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, ถั่ว ก็เรียก. |
ฝักถั่ว | น. การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดยวิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความเห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตำหนินักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง. |
พอใช้ | ว. ใช้ได้ เช่น คะแนนพอใช้ |
ไพ่ไฟ | น. บัตรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่ลงด้วยวิธีการทุจริต |
เฟ้อ | ว. มากเกินควร, มากเกินไป, เช่น คะแนนเฟ้อ |
มติพิเศษ | น. มติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด ที่ได้ลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน. |
ไม้ติ้ว | น. ไม้ซี่เล็ก ๆ ใช้สำหรับเป็นคะแนน เช่น ปักติ้ว นับติ้ว สำหรับเสี่ยงทาย แล้วนำไปขึ้นใบเซียมซี เช่น สั่นติ้ว. |
รวม | ก. บวกเข้าด้วยกัน, ผสมเข้าด้วยกัน, เช่น รวมคะแนน รวมเงิน, เข้าร่วมกัน, คละปนกัน, เช่น รวมกันเราอยู่ แยกกันเราตาย อยู่รวมกัน, ผนึกเข้าด้วยกัน เช่น รวมนํ้าใจ รวมพลัง. |
รักบี้ | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง เล่นครั้งแรกที่โรงเรียนรักบี้ ประเทศอังกฤษ แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย โดยปรกติเล่นฝ่ายละ ๑๕ คน แต่ที่เล่นฝ่ายละ ๗ คนก็มี ผู้เล่นแต่ละฝ่ายพยายามแย่งลูกรักบี้ไปวางพ้นแนวประตูฝ่ายตรงข้าม แล้วนำมาเตะ ณ แนวจุดเตะเพื่อให้เข้าประตูฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ได้คะแนนมากกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ, เรียกเต็มว่า รักบี้ฟุตบอล, เรียกลูกหนังที่มีลักษณะกลมรีใช้ในการเล่นรักบี้ ว่า ลูกรักบี้. |
เลือกตั้ง | ก. เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนน เช่น เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เลือกตั้งกรรมการ. |
ไล่ที่ | เรียงลำดับที่ตามคะแนนสูงต่ำ. |
ไล่เลี่ย | ว. พอ ๆ กัน, สูสี, เช่น สูงไล่เลี่ยกัน สอบได้คะแนนไล่เลี่ยกัน. |
ไล่หลัง | ก. ตามมาติด ๆ, ตามมาใกล้ ๆ, เช่น ฝนไล่หลังมา มีคะแนนไล่หลังมา ด่าไล่หลัง. |
สังเกตการณ์ | ก. เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง. น. เรียกผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง ว่า ผู้สังเกตการณ์. |
สูงสุด | ว. มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น. |
สูสี | ไล่เลี่ย, พอ ๆ กัน, เช่น ฝีมือของ ๒ คนนี้สูสีกัน สอบได้คะแนนสูสีกัน. |
เสียแต้ม | ก. เสียคะแนน เช่น นักกีฬาทำผิดกติกาเลยเสียแต้ม |
เสียง | ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. |
เสียงแข็ง | น. คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่. |
เสียงดี | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ. |
เสียงตก | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าในการเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก. |
poll | ๑. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง๒. การหยั่งเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poll | ๑. การหยั่งเสียง (ก. ปกครอง)๒. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง (ก. ปกครอง)๓. การลงคะแนนลับ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
popular vote | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pork barrel | เงินช่วยท้องถิ่นเพื่อหาคะแนนนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plurality | คะแนนเสียงที่เหนือกว่า (คู่แข่งขัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pooling place | ที่ลงคะแนนเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protest vote | การออกเสียงลงคะแนนคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plural voting | การออกเสียงลงคะแนนได้หลายเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paradox of voting | ผลการออกเสียงลงคะแนนที่แย้งกันในตัว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
long ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งหลายตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
limited vote | การลงคะแนนเสียงแบบจำกัด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
record vote | ๑. การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีเรียกชื่อ๒. การได้คะแนนเสียงมากเป็นประวัติการณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recount | การนับคะแนนเสียงใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
repeater | ผู้เวียนลงคะแนนเลือกตั้ง (หลายครั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stalking-horse | ผู้สมัครเพื่อดึงคะแนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standard score | คะแนนมาตรฐาน [ มีความหมายเหมือนกับ z score ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
show of hands | การลงคะแนนโดยวิธีชูมือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
single transferable vote | คะแนนเสียงที่ปัดให้ลำดับถัดไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
secret ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งลับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple majority | คะแนนเสียงข้างมากปรกติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
short ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งน้อยตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
still hunt | การใช้เล่ห์ล่าคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
score | ๑. คะแนน๒. ยี่สิบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
absentee voting | การลงคะแนนเสียงโดยไม่ต้องไปที่หน่วยเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
absentee voting | การลงคะแนนเลือกตั้งของผู้ไม่สามารถไป ณ ที่เลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absolute majority | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absolute majority | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
advisory ballot | การลงคะแนนหยั่งความนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
alternative vote | การออกเสียงลงคะแนนหลายรอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quotient, electoral; quota, electoral | เกณฑ์คะแนนเสียงอย่างน้อย (ที่จะได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quota, electoral; quotient, electoral | เกณฑ์คะแนนเสียงอย่างน้อย (ที่จะได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
board, counting | คณะกรรมการตรวจคะแนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballot, advisory | การลงคะแนนหยั่งความนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballot, long | การลงคะแนนเลือกตั้งหลายตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballot, secret | การลงคะแนนเลือกตั้งลับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
behaviour, voting | พฤติกรรมการลงคะแนนเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballot | ๑. บัตรเลือกตั้ง๒. การลงคะแนนโดยใช้บัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballot | การออกเสียงลงคะแนนด้วยบัตรเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
barrel, pork | เงินช่วยท้องถิ่นเพื่อหาคะแนนนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
buying an election | การซื้อคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballot, short | การลงคะแนนเลือกตั้งน้อยตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ballotage (Fr.) | การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งหลายรอบ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
majority, simple | คะแนนเสียงข้างมากปรกติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
majority, two-third | คะแนนเสียงสองในสาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
machine, voting | เครื่องนับและบันทึกคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
minority | ๑. คะแนนเสียงข้างน้อย, ฝ่ายข้างน้อย๒. ภาวะผู้เยาว์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
majority | ๑. คะแนนเสียงข้างมาก, ฝ่ายข้างมาก๒. การบรรลุนิติภาวะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
majority of votes | คะแนนเสียงข้างมาก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
majority, absolute | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
manageable voter | ผู้ออกเสียงลงคะแนนที่จัดมา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Credit scoring systems | ระบบการให้คะแนนสินเชื่อ [TU Subject Heading] |
Grading and marking (Students) | การให้คะแนน (นักศึกษา) [TU Subject Heading] |
Grading and marking (Students) | การให้คะแนน (นักเรียน) [TU Subject Heading] |
Scoring | การคิดคะแนน [TU Subject Heading] |
Voting | การลงคะแนนเสียง [TU Subject Heading] |
Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
negative vote | ลงคะแนนเสียงคัดค้าน [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
unanimous vote | คะแนนเสียงเอกฉันท์ [การทูต] |
Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
Distribution Curve | ลักษณะโค้งการแจกแจงของคะแนน [การแพทย์] |
Evaluation, Graphic Rating | ประเมินแบบการให้คะแนนโดยตาราง [การแพทย์] |
standard score | คะแนนมาตรฐาน, ค่าที่บอกให้ทราบว่า ความแตกต่างระหว่างค่าของข้อมูลนั้น ๆ กับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้นเป็นกี่เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Zi [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Grades, Letter | ให้คะแนนเป็นตัวอักษร [การแพทย์] |
Interval, Equal | ช่วงคะแนนเท่ากัน [การแพทย์] |
Mean | ค่าเฉลี่ย, ค่าของตัวกลาง, คะแนนเฉลี่ย, ค่าเฉลี่ยเลขคณิต, มัชณิมเลขคณิต, ค่ามัชฌิม [การแพทย์] |
บัตรลงคะแนน | [bat long khanaēn] (n, exp) EN: ballot ; voting slip ; ballot paper FR: bulletin de vote [ m ] |
ช่วงคะแนน | [chūang khanaēn] (n, exp) EN: interval |
ให้คะแนน | [hai khanaēn] (v, exp) EN: mark ; rate |
ให้เป็นคะแนน | [hai pen khanaēn] (v, exp) FR: accorder les points ; accorder le panier |
หัวคะแนน | [hūakhanaēn] (n) EN: canvasser ; election canvasser ; election campaigner FR: militant [ m ] |
จำนวนคะแนน | [jamnūan khanaēn] (n, exp) EN: margin |
จำนวนผู้ออกมาลงคะแนน | [jamnūan phū øk mā long khanaēn] (xp) EN: turnout FR: taux de participation (électorale) [ m ] |
การให้คะแนน | [kān hai khanaēn] (n, exp) EN: rating |
การลงคะแนนเสียง | [kān long khanaēnsīeng] (n, exp) EN: voting FR: vote |
การสำรวจความคิดเห็นจากประชาชนที่เพิ่งลงคะแนนเสร็จสด ๆ ร้อน ๆ | [kān samrūat khwām khithen jāk prachāchon thī phoeng longkhanaēn set sot-sot røn-røn] (xp) EN: exit poll FR: sondage effectué à la sortie des bureaux de vote [ m ] |
คะแนน | [khanaēn] (n) EN: mark ; score ; grade ; points ; vote ; tally FR: point [ m ] ; note [ f ] ; voix [ f ] ; mention [ f ] |
คะแนนเสียง | [khanaēnsīeng] (n) EN: vote ; ballot FR: vote [ m ] ; scrutin [ m ] |
คะแนนเสียงชี้ขาด | [khanaēnsīeng chīkhāt] (n, exp) EN: casting vote |
คะแนนเสียงข้างมาก | [khanaēnsīeng khāngmāk] (n, exp) EN: majority vote |
คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด | [khanaēnsīeng khāngmāk detkhāt] (n, exp) EN: absolute majority FR: majorité absolue [ f ] |
คะแนนเสียงข้างน้อย | [khanaēnsīeng khāng nøi] (n, exp) EN: minority vote |
คะแนนสุดท้าย | [khanaēn sutthāi] (n, exp) EN: final score FR: score final [ m ] |
ลงคะแนน | [longkhanaēn] (v) EN: vote ; ballot ; elect ; cast a ballot FR: voter ; élire ; exprimer son suffrage |
ลงคะแนนเลือกตั้ง | [longkhanaēn leūaktang] (v) EN: vote ; ballot FR: voter |
ลงคะแนนเสียง | [long khanaēnsīeng] (v, exp) EN: vote for ; elect ; cast one's vote ; ballot ; opt FR: voter pour ; élire ; choisir |
ไม่ลงคะแนน | [mai long khanaēn] (v, exp) EN: cast a blank vote FR: voter blanc ; ne pas exprimer de vote |
นับคะแนน | [nap khanaēn] (v, exp) EN: count votes FR: dépouiller un scrutin ; faire le compte des suffrages |
ออกเสียงลงคะแนน | [øksīeng longkhanaēn] (v, exp) FR: voter |
ออกไปลงคะแนน | [pai longkhanaēn] (v, exp) EN: go to the polls FR: aller voter ; se rendre aux urnes |
แพ้คะแนน | [phaē khanaēn] (v, exp) EN: lose on points |
แพ้คะแนนเสียง | [phaē khanaēnsīeng] (v, exp) EN: be outvoted |
ผู้ลงคะแนน | [phū long khanaēn] (n) EN: voter FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] ; votant [ m ] ; votante [ f ] |
ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนน | [phū mī sit longkhanaēn] (n, exp) EN: constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | [phū mī sit long khanaēnsīeng leūaktang] (xp) EN: elector ; qualified voter ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
ผู้ที่มีคะแนนนำ | [phū thī mī khanaēn nam] (n, exp) EN: front-runner |
ตัดคะแนน | [tat khanaēn] (v, exp) EN: lose points ; downgrade ; lower one's marks |
ยกเลิกคะแนน | [yokloēk khanaēn] (v, exp) EN: cancel score |
abstain | (vi) ไม่ลงคะแนนเสียง, See also: นอนหลับทับสิทธิ์ |
ace | (n) การเสิร์ฟลูกได้คะแนน (โดยที่คู่ต่อสู้ไม่มีโอกาสสัมผัสลูกบอลสำหรับกีฬาวอลเล่ย์บอลหรือเทนนิส) |
ballot | (n) วิธีลงคะแนนเสียงแบบลับ, Syn. election |
ballot | (vi) ลงคะแนน, See also: ออกเสียงลงคะแนน, จับสลาก, Syn. vote |
ballot box | (n) หีบหรือกล่องใส่บัตรลงคะแนน, Syn. polling place, polling booth |
ballot paper | (n) ใบลงคะแนน |
basketball | (n) บาสเกตบอล, See also: กีฬาชนิดหนึ่งทำคะแนนได้โดยการโยนลูกบอลลงในตะกร้าของฝ่ายตรงข้าม |
birdie | (n) การได้คะแนนในกีฬากอล์ฟ |
ballot for | (phrv) ออกเสียงให้, See also: ลงคะแนนเสียงให้ |
card | (vt) บันทึกคะแนน (ในสกอร์การ์ดในกีฬากอล์ฟ), See also: จดแต้ม |
casting vote | (n) การลงคะแนนตัดสินโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการประชุมเนื่องจากแต่ละฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน |
caucus | (n) การประชุมของสมาชิกหรือกลุ่มผู้นำของพรรคการเมืองเพื่อลงคะแนนเลือกหรือวางแผนทางการเมือง |
champion | (n) ผู้ชนะเลิศ, See also: ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดในการแข่งขัน, สิ่งที่ได้รับคะแนนสูงสุดในการแข่งขัน คน, สัตว์, พืช, Syn. conqueror, master, paragon, title holder, vanquisher, victor, winner, Ant. loser |
elect with | (phrv) ได้รับเลือกด้วย (คะแนนหรือคะแนนเสียง), Syn. return with |
demerit | (n) การถูกหักคะแนน, Syn. bad mark |
drop | (vt) ทำคะแนน, See also: ทำแต้ม |
eagle | (n) 2 คะแนนต่ำกว่าพาร์ในกีฬากอล์ฟ |
eagle | (vt) ทำ 2 คะแนนต่ำกว่าพาร์ในกีฬากอล์ฟ |
electioneer | (vi) ใช้อิทธิพลหรือวิธีการที่ไม่ซื่อสัตย์เพื่อได้คะแนนเสียงมา |
electoral vote | (n) คะแนนเสียงที่ผู้แทนรัฐลงให้เพื่อเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิดีของสหรัฐอเมริกา |
equalize | (vi) ทำคะแนนเท่ากัน (กีฬา), See also: ทำคะแนนเสมอกัน |
flunk | (vt) ให้คะแนนการสอบต่ำ, See also: กดคะแนน |
flunk | (vt) สอบตก, See also: ทำคะแนนไม่ผ่าน, Syn. fail, Ant. pass |
flunk | (n) การสอบตก, See also: การทำคะแนนไม่ผ่าน, Syn. failure |
go to the polls | (idm) ลงคะแนนเสียง |
graduate with | (phrv) ได้รับปริญญาพร้อมกับหรือด้วย (เกียรตินิยม, คะแนน, รางวัล) |
game | (n) แต้มคะแนนที่ทำให้ชนะการแข่งขัน |
goalless | (adj) ซึ่งไม่สามารถทำประตู (คะแนน) ได้ (กีฬา) |
grade | (n) ระดับ, See also: ระดับคะแนน, เกรด, Syn. class, category, rank, standard |
grade | (vt) แบ่งระดับ, See also: แบ่งชั้น, ทำเป็นชั้นๆ, ให้คะแนน, ให้ตำแหน่ง, Syn. rate, mark, score |
grade point average | (n) คะแนนเฉลี่ย (คำย่อคือ GPA), Syn. grade point index |
grader | (n) ผู้ให้คะแนนในการสอบ |
show of hands | (idm) ลงคะแนน |
vote of confidence | (idm) ผลการสำรวจที่แสดงฐานคะแนนเสียง |
knock up | (phrv) พยายามหาคะแนนเสียง (การเลือกตั้ง) |
mark down | (phrv) ลดคะแนน, See also: ให้คะแนน, Syn. mark up |
mark up | (phrv) จุดแต้ม, See also: เขียนคะแนน, Syn. write up |
mark up | (phrv) เพิ่มคะแนนของ (นักเรียน), Syn. mark down |
make | (vt) ทำคะแนน (กีฬา), Syn. score |
mark | (n) คะแนน, See also: แต้ม, Syn. tick |
mark | (vt) ให้คะแนน, See also: ให้แต้ม, Syn. score, tick |
marker | (n) ผู้ทำเครื่องหมาย, See also: คนจดแต้ม, ผู้จดคะแนน |
marksman | (n) ผู้ยิง, See also: คนเตะประตู, คนยิงประตู, ผู้ทำคะแนน, ผู้ทำประตู, Syn. shooter, archer |
match play | (n) การแข่งขัน, See also: การนับคะแนนของกีฬากอล์ฟ |
match point | (n) คะแนนสุดท้ายที่ผู้แข่งขันฝ่ายที่เหนือกว่าต้องการเพื่อได้ชัยชนะ, See also: โดยเฉพาะกีฬาเทนนิสหรือกีฬาต้องใช้ racket ตี |
meld | (vi) ประกาศ (โดยการนับคะแนนไพ่ในมือ), See also: บอกแต้ม |
meld | (vt) ประกาศ (โดยการนับคะแนนไพ่ในมือ), See also: บอกแต้ม |
outpoint | (vt) ทำคะแนนมากกว่า, See also: ชนะด้วยคะแนนมากกว่า |
outvote | (vt) ชนะคะแนน, Syn. vote down |
par | (n) คะแนนมาตรฐานสำหรับการตีลูกลงหลุมแต่ละครั้ง (กีฬากอล์ฟ), See also: พาร์, Syn. score |
absentee vote | การลงคะแนนของผู้ไม่อยู่ (ทางไปรษณีย์) -absentee voter., n. |
abstain | (แอบสเทน') vt. ละเว้น, ไม่ลงคะแนนเสียง, ไม่ฟุ่มเฟือยในการกินและดื่ม, อดเหล้า, สละสิทธิ์ -abstainer n., Syn. forbear, desist |
application program | โปรแกรมประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน |
application software | ซอฟต์แวร์ประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือโปรแกรมทำคะแนนมีความหมายเหมือน application program |
audit | (ออ'ดิท) n. การตรวจสอบบัญชี, บัญชี, การไตร่สวนคดี. -vt. ตรวจสอบบัญชี, เข้าฟัง (วิชาที่ไม่เอาคะแนน), Syn. examine, check |
auditor | (ออ'ดิเทอะ) n. ผู้ตรวจสอบบัญชี, ผู้ฟัง, นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาที่ไม่เอาคะแนน |
ballot | (แบล'เลิท) n. บัตรเลือกตั้ง, จำนวนผู้ลงคะแนน, รายชื่อคนลงคะแนน vi. ลงคะแนนด้วยบัตรลับ, จับฉลาก, See also: balloter n. |
basket | (บาส'คิท) n. ตะกร้า, กระจาด, กระเช้า, เข่ง, สิ่งที่อยู่ในตะกร้า, คะแนนของบาสเกตบอล (ที่หย่อนเข้าแต่ละครั้ง), Syn. pannier |
bat | (แบท) 1. { batted, batting, bats } n. กระบองสั้น, ไม้ตีลูกบอล, การตี, แผ่นอิฐ, ก้อนดินเหนียว, ความเร็ว, ก้าว, ค้างคาว, โสเภณี vt. ตีด้วยไม้, ได้คะแนนตีถูกลูก, พิจารณาหรืออธิบายอย่างละเอียด vi. ตีด้วยไม้, ถึงตาตีลูก 2. ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มคำสั่งรวม หรือที่เรียกว่า batch file เช่น autoexec.bat ดู batch file ประกอบ |
booby | (บู'บี) n. คนโง่, คนเซ่อ, คนที่เล่นเลวที่สุดในทีม, คนที่ได้คะแนนน้อยที่สุด, Syn. dunce |
chalk | (ชอล์ก) n. ชอล์ก, ปูนขาว -vt. เขียนด้วยชอล์ก -Phr. chalk up ทำคะแนน, ได้รับ |
cloture | (โคล'เชอะ) { clotured, cloturing, clotures } n. วิธีการปิดการอภิปรายและให้มีการลงคะแนนเสียงทันที vt., vi. ปิดการอภิปราย |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
decathlon | (ดิแคธ'ลอน) n. การแข่งขันกรีฑา 10 ประเภท ผู้ที่ได้คะแนนรวมมากที่สุดเป็นผู้ชนะเลิศ |
deuce | (ดูซฺ) n. ไพ่ 2 แต้ม, เต๋า2แต้ม, คะแนนเสมอกันที่ชนะได้ด้วยการทำคะแนนนำติดต่อกัน2เกม, ปีศาจ, ผี, ผีสาง adj., Syn. devil, dickens |
electoral vote | คะแนนเสียงที่ลงโดยผู้แทนรัฐ (electoral college) ในการเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา |
goose egg | คะแนน "ศูนย์" |
kick | (คิค) { kicked, kicking, kicks } v. เตะ, ถีบ, ตีกลับ, เตะฟุตบอล ได้คะแนน, เลิก, ต่อต้าน, ตีกลับ, มีกำลังวังชา n. การเตะ, การเตะลูกออกนอกเส้น, การไล่ออกจากงาน, การถีบกลับ (ของปืน) , ข้อขัดแย้ง, การบ่น, พลังงาน, กำลัง, ความตื่นเต้น (อย่างมีความสุข) , ความสนใจที่รุนแรงแต่ชั่วคราว, ล |
landslide | (แลนด'สไลดฺ) n. แผ่นดินถล่ม, แผ่นดินทลาย, การได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมทัน. vi. ถล่มลงมา, พังทลายลงมา, Syn. rockfall |
majority | (มะจอ'ริที) n., adj. ส่วนใหญ่, ส่วนมาก, คะแนนเสียงข้างมาก, ตำแหน่งพันตรี, นิติภาวะ. |
mark | (มาร์ค) n. คะแนน, เครื่องหมาย, หมาย, แกงได, รอย, จุด, แต้ม, เป้า, เป้าหมาย, สัญลักษณ์, มาตรฐาน, ความสำคัญ, ชื่อเสียง, เส้นเริ่มออกวิ่ง, พรมแดน, หน่วยเงินตราของเยอรมน vt. ทำเครื่องหมาย, ทำรอย, ทำให้เป็นแผลเป็น, เป็นมลทิน, ทำให้เป็นจุด, ชัด, กะ, แสดงให้ปรากฎชัด, เพ่งเล็ง, มุ่งหมาย, บันทึก, ระวัง, สังเกต |
meld | (เมลดฺ) vt., vi. ประกาศและแสดงคะแนน, รวมกัน, ผสม |
one up | ได้เปรียบ, นำคู่ต่อสู้เพียงหนึ่งคะแนน, แต่ละ |
one-up | (วัน'อัพ) vt. ทำให้ดีกว่า, ทำให้ได้เปรียบทำให้ได้คะแนนนำหนึ่งคะแนน, อยู่เหนือ |
pentathlon | (เพนแทธ'ลอน) n. การกรีฑา5ประเภท, คนที่ได้คะแนนรวมสูงสุดเป็นผู้ชนะ |
plebiscite | (เพลบ'บิไซทฺ) n. การลงคะแนนเสียงโดยประชาชนทั่วไป, See also: plebiscitary adj. |
point | (พอยทฺ) n. จุด, จุดประสงค์, จุดเครื่องหมาย, จุดทศนิยม, สิ่งที่มีปลายแหลม, สถานที่, ตำแหน่ง, ทิศทาง, ขั้น, ตอน, สิ่งที่สำคัญที่เข้าใจ, ประเด็น, จุดสำคัญ, เอกลักษณ์, ข้อแนะ, ข้อคำขำ, หน่วย, หน่วยวัด, ขีด, คะแนน, การชี้, vt., vi. ชี้, เล็ง, แจ้ง, ทำให้แหลม, เสริม, ใส่จุดทศนิยม -Phr. (inpoint เข้าประเด็น ทำได้, เกี่ยวข้อง) |
pointless | (พอยทฺ'เลส) adj. ไร้จุด, ทื่อ, ไร้กำลัง, ไร้ความหมาย, ไม่ได้คะแนน, ไม่ได้แต้ม., See also: pointlessness n. |
poll | (โพล) n. การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, บุคคลที่ปรากฎในรายชื่อ, การสำรวจความคิดเห็นของคนจำนวนมาก -vi., vi. ได้รับคะแนนเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, สำรวจความคิดเห็น, |
popular vote | คะแนนเสียงจากผู้มีสิทธิออกเสียง (ต่างจาก electoral vote ซึ่งเป็นคะแนนเสียงจากผู้แทน) |
referendum | (เรฟฟะเรน'ดัม) n. ประชามติ, การลงประชามติ, คะแนนเสียงที่ประชาชนลง pl. referendums, referenda |
score | (สคอร์) n. รอยบาก, รอยขีด, รอยแผล, รอย, บาก, เส้นขีด, หมาย, รายการบัญชี, บัญชีหนี้สิน, ประเด็น, คะแนน, ยี่สิบ, เหตุผล, มูลเหตุ, การนับแต้ม, จำนวนมากมาย, กระทง, โน๊ตเพลง vt., vi. ทำคะแนน, ทำแต้ม, ประเมินผล, ทำรอยบาก, ขีด, จดคะแนน, นับแต้ม, ลงบัญชีหนี้สิน, มีชัย, ตำหนิ. |
scoreboard | n. กระดานจดคะแนน, ป้ายบอกคะแนน |
scoring | (สคอ'ริง) n. การทำคะแนน, การทำแต้ม, การให้คะแนน, การจดคะแนน, การทำรอยบาก, การขีดเส้น, โน๊ตเพลง, การเขียนโน๊ตเพลง |
suffrage | (ซัฟ'ฟริจฺ) n. สิทธิในการออกเสียง, คะแนนเสียง, การสวดมนต์, การอธิษฐาน |
tally | (แทล'ลี) n. ไม้เครื่องหมาย, ติ้ว, ป้ายเครื่องหมาย, ขีดหรือบากเครื่องหมายสำหรับนับ, การบันทึก, บัญชี, คะแนนนับ, คะแนนเปรียบเทียบ, ตัวฉลากหรือเครื่องหมายสำหรับนับจำนวน, หน่วยนับ, สิ่งที่ใช้นับ. vt. นับ, ตรวจนับ, ทำเครื่องหมายนับ, บันทึก, ลงบัญชี, ทำให้ตกลง. vi. สอดคล้อง |
tell | (เทล) vt., vi. บอก, แจ้ง, เล่า, พูด, บรรยาย, เปิดเผย, จำแนกความแตกต่าง, แสดงผล. นับคะแนน, ทำนาย, ทำให้เกิดผลชัดเจนหรือรุนแรง, tell off กล่าวหาอย่างรุนแรง ประณาม ด่า, -Phr. (tell on พูดมาก พูดไม่เป็นสาระ), See also: tellable adj. -S... |
teller | (เทล'เลอะ) n. ผู้บอก, ผู้เล่า, พนักงานธนาคารที่มีหน้าที่รับหรือจ่ายเงิน, ผู้นับ คะแนนเสียง, See also: tellership n., Syn. raconteur |
tie | (ไท) vt. (ใช้เชือกหรือสายอื่น ๆ) ผูก, มัด, ต่อ, รัด, โยง, จำกัด, ทำคะแนนเท่ากัน, ผูกพันเป็นสามีภรรยา vi. ผูก, มัด, ต่อ, รัด, โยง, ทำคะแนนเท่ากัน, -Phr. (tie down ทำให้ลดน้อยลง, จำกัด) , -Phr. (tie up มัดแน่น ผูกแน่น ขัดขวาง สกัด หยุดยั้ง จอดเรือ ยุ่งมาก) n. สิ่งที่ใช้ผูก |
votable | (โว'ทะเบิล) adj. ลงคะแนนได้, มีสิทธิเลือกตั้ง, นำไปลงมติได้. |
votaless | (โวท'ลิส) adj. ไม่มีคะแนนเสียง, ไม่มีสิทธิออกเสียง, ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง |
vote | (โวทฺ) n. การออกเสียง, การเลือกตั้ง, คะแนนเสียง, บัตรคะแนนเสียง, สิทธิการออกเสียง, จำนวนคะแนนเสียง, มติ vt., vt. ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง, เลือกตั้ง, ลงมติ, เสนอ |
voter | (โว'เทอะ) n. ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
write-in | (ไรทฺ'อิน) n., adj. การลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ใช่คนเดิมในรายชื่อ |
yea | (เย) adv. ใช่, จ้ะ, จริง ๆ , ไม่ใช่แต่เพียงแค่นี้ ยังมี. n. การตอบรับ, การยืนยัน, ผู้ตอบรับ, คะแนนสนับสนุน |