กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
ความโลภ | (n) greed, See also: eagerness, avarice, cupidity, Syn. ความละโมบ, ความอยากได้, ความมักมาก, Ant. ความมักน้อย, Example: ความโลภจะว่าเป็นความชั่วของมนุษย์ก็ไม่ถนัดนัก ด้วยว่ามันแฝงอยู่ในมนุษย์ทุกรูป |
มโนทุจริต | (มะโนทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความโลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความพยาบาท ๑ ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ๑. |
วีต- | (วีตะ-) ว. ไปแล้ว, หมดแล้ว, ปราศจาก, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น เช่น วีตราคะ ว่า หมดราคะ วีตโลภะ ว่า หมดความโลภ. |
หุนหันพลันแล่น | ก. ด่วนทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งลงไปโดยไม่ยั้งคิดด้วยความโกรธ ความโลภ เป็นต้น. |
อภิชฌา | (อะพิดชา) น. ความโลภ, ความอยากได้. |
avidity | ความโลภ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Avarice | ความโลภ [TU Subject Heading] |
ความโลภ | [khwām lōp] (n) EN: greed FR: avidité [ f ] |
avarice | (n) ความโลภ, See also: ความเห็นแก่ได้, ความละโมบ, Syn. cupidity |
cupidity | (n) ความโลภ, Syn. greed, avidity |
greed | (n) ความโลภ, See also: ความละโมบ, Syn. hunger, appetite, Ant. satiety, fulness |
money-grubbing | (int) ความละโมบ, See also: ความโลภ, Syn. money-grabbing |
rapaciousness | (n) ความโลภ |
rapacity | (n) ความโลภ, Syn. avarice, covetousness |
voraciousness | (n) ความโลภ, Syn. greediness |
voracity | (n) ความโลภ, ความตะกละ, Syn. greediness |
avarice | (แอฟ'วะริส) n. ความโลภ, Syn. greed |
cupidity | (คิวพิด'ดิที) n. ความอยากได้, ความโลภ, Syn. avarice, Ant. generosity |
greed | (กรีด) n. ความตะกละ, ความโลภ, ความอยากได้, Syn. avidity, Ant. generosity |
stoical | (สโท'อิเคิล) adj. ปลงตก, ปราศจากตัณหาราคะ, ปราศจากความโลภหลง., Syn. resigned, impassive, patient |
voracity | (โวแรส'ซิที) n. ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ, ความไม่รู้จักพอ, ความไม่รู้จักอิ่ม, ความหิวกระหาย, Syn. greed |
avarice | (n) ความตระหนี่, ความโลภ, ความงก |
avidity | (n) ความละโมบ, ความโลภ, ความอยาก, ความต้องการ, ความมักได้, ความปรารถนา, ความงก |
avidly | (adv) อย่างมักได้, ด้วยความโลภ, ด้วยความละโมบ, ด้วยความงก |
covetousness | (n) ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้, ความปรารถนา |
cupidity | (n) ความโลภ, ความละโมบ, ความตะกละ, ความอยากได้ |
greed | (n) ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้ |
greediness | (n) ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้ |
hunger | (n) ความหิว, ความอยาก, ความกระหาย, ความตะกละ, ความโลภ |
itch | (n) ความคัน, ความกระหาย, โรดหิด, ความโลภ, ความปรารถนา |
rapacity | (n) ความงก, ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ |
กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
Habgier | (n) |die, nur Sg.| ความโลภ, ความละโมบ, ความตะกละ, ความอยากได้, See also: Related: habgierig, Syn. die Habsucht |