39 ผลลัพธ์ สำหรับ *ความหนืด*
หรือค้นหา: ความหนืด, -ความหนืด-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ความหนืด(n) viscosity, Example: เวลาที่ใช้งานได้หลังจากเปิดเครื่องยังมากอยู่เพราะมีความหนืดในการหมุนแผ่นดิสก์ให้เร็วเป็นพันๆ รอบต่อนาที

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
VI (viscosity index)วีไอ (ดรรชนีความหนืด) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscometer; viscosimeterมาตรความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosimeter; viscometerมาตรความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosityความหนืด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
viscosityความหนืด [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
viscosityความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosity index (VI)ดรรชนีความหนืด (วีไอ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosity ratingค่าประเมินความหนืด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Viscosityความหนืด, Example: หน่วยวัดความต้านทานภายในของการไหลของของเหลวหรือก๊าซ ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น [ปิโตรเลี่ยม]
Viscosityความหนืด [TU Subject Heading]
Viscosityความหนืด, Example: หน่วยวัดความต้านทานภายในของการไหลของของเหลว หรือแก๊ส ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น [สิ่งแวดล้อม]
ดัชนีความหนืดดัชนีความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นเป็นตัวบ่งชี้ว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้จะมี ความหนืดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิอย่างไร ถ้าน้ำมันหล่อลื่นมีค่าดัชนีความหนืดมาก แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงน้อยเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ในขณะที่น้ำมันหล่อลื่นที่มีค่าดัชนีความหนืดต่ำ แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนั้น ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน น้ำมันที่มีดัชนีความหนืดสูงจะเป็นน้ำมันคุณภาพดี สามารถใช้งานได้ดี แม้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก [ปิโตรเลี่ยม]
Constant viscosity rubberยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง]
Field or Fresh latexน้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง]
Liquid natural rubberยางธรรมชาติเหลวได้จากการนำยางธรรมชาติมาทำให้โมเลกุลของยางเกิดการ สลายตัวตรงตำแหน่งพันธะคู่หรือเป็นกระบวนการตัดสายโซ่โมเลกุลของพอลิไอโซพรี นที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงให้มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำลง จนกระทั่งยางมีความหนืดต่ำ สามารถไหลได้ที่อุณหภูมิห้องหรือที่อุณหภูมิต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง]
Masticationขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง]
Mooney viscometerเครื่องมือวัดความหนืดของยางคอมพาวด์หรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการ คงรูป นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเพื่อควบคุมสมบัติการไหลของยางคอมพาวด์ ค่าความหนืดที่วัดได้จะเรียกว่าความหนืดมูนนี่ Mooney viscosity) วิธีการวัดค่าความหนืดมูนนี่ได้แสดงไว้ในมาตรฐาน ISO 289-1, ASTM D 1646, BS 1673: Part 3 [เทคโนโลยียาง]
Mooney viscosityความหนืดของยางดิบหรือยางคอมพาวด์ ทดสอบด้วยเครื่องวัดความหนืด Mooney viscometer ซึ่งเครื่องวัดดังกล่าวมีจานโลหะหมุนอยู่ในห้องใส่ยางภายใต้อุณหภูมิและความ ดันตามที่กำหนดไว้ การหมุนของจานโลหะในยางทำให้เกิดแรงบิด (torque) ขึ้น และจะขับให้สปริงรูปตัวยูเกิดการเคลื่อนที่ ใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาดการเคลื่อนที่ให้ออกมาเป็นมาตรที่เรียกว่า Mooney Viscosity เช่น 50 ML 1+4 (100C) 50 หมายถึง ค่าความหนืดที่วัดได้ในหน่วยมูนนี่ M หมายถึง Mooney L หมายถึง จานหมุนขนาดใหญ่ (ถ้าใช้จานหมุนขนาดเล็กให้ใช้อักษร S) 1 หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการอุ่นยางก่อนทดสอบ เป็นนาที 4 หมายถึง เวลาที่ใช้ในการทดสอบ เป็นนาที 100 degree C หมายถึง อุณหภูมิที่ใช้ในการทดสอบ [เทคโนโลยียาง]
Non-reinforcing or inert fillerสารตัวเติมไม่เสริมแรงหรือสารตัวเติมเฉื่อย คือ สารตัวเติมที่เติมลงไปในยางแล้วทำให้ความหนืดของยางเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ทำให้สมบัติเชิงกลต่างๆ ของยางคงรูปด้อยลงหรือเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย ตัวอย่างสารตัวเติมไม่เสริมแรง ได้แก่ ทัลคัม แคลเซียมคาร์บอเนต และดินขาว [เทคโนโลยียาง]
Peptizerสารช่วยในกระบวนการผลิตที่เติมลงไปในยางเพื่อลดความหนืดของยาง โดยการย่อยหรือตัดโมเลกุลของยางโดยทางเคมี (chemical scission) ในขั้นตอนการบดยาง (mastication) ช่วยลดเวลาในการบดยางและทำให้ประหยัดพลังงานในกระบวนการผสมมากขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Processing aidสารช่วยในกระบวนการผลิต คือ สารตัวเติมที่ใส่ลงไปในยางเพื่อช่วยให้กระบวนการผลิตในขั้นตอนต่างๆ เช่น การผสม (mixing) หรือการขึ้นรูป (shape forming) เป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น สารบางตัวในกลุ่มนี้ช่วยลดความหนืดของยางคอมพาวด์ ทำให้ยางไหลได้ง่ายยิ่งขึ้น จึงลดระยะเวลาและพลังงานที่ใช้ในการผลิต [เทคโนโลยียาง]
Softenerสารทำให้ยางนิ่ม คือ วัสดุที่เติมลงไปในยางปริมาณเล็กน้อยแล้วทำให้ความแข็งของยางผสมหรือยางคง รูปลดลงหรือทำให้กระบวนการผลิตเป็นไปได้ง่ายขึ้น (ปรับความหนืดของยางให้ลดลง ทำให้ยางไหลได้ง่ายขึ้น) หรือทำให้สารตัวเติมสามารถเข้าไปผสมกับยางได้ง่ายยิ่งขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Storage hardeningปรากฏการณ์ที่ความหนืดของยางดิบหรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านการคงรูปเพิ่ม ขึ้นระหว่างการเก็บ เนื่องจากหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group) ที่มีอยู่ในยางธรรมชาติเข้าไปทำปฏิกิริยาควบแน่นกัน เกิดเป็นโครงสร้างสามมิติที่มีการเชื่อมโยง (crosslink) ระหว่างโมเลกุลยางมีผลทำให้ยางแข็งขึ้น [เทคโนโลยียาง]
Styrene-butadiene rubberยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง]
Blood Viscosityเลือด, ความหนืด;ความหนืดของเลือด [การแพทย์]
Capillary Viscometersเครื่องวัดความหนืดชนิดอาศัยการไหลของของเหลวผ่าน [การแพทย์]
Coefficient of Viscosityสัมประสิทธิ์ของความหนืด [การแพทย์]
Falling Drop Testการทดสอบความหนืด [การแพทย์]
kinematic viscositykinematic viscosity, ความหนืดจลน์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
viscosimeterviscosimeter, เครื่องวัดความหนืด [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
Gelling Agentsสารเพิ่มความหนืด [การแพทย์]
Inertial Workงานจากความหนืด [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Viscosity, elasticity, and tensile strength. ความหนืด, ความยืดหยุ่น และความหนาแน่น Reality Bites Me (2010)
Wrapped over this is the part called the mantle. มันเป็นหิน แต่ร้อนและความหนืด The Lost Worlds of Planet Earth (2014)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความหนืด[khwām neūt] (n) EN: viscosity  FR: viscosité [ f ]

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
viscosity(n) ความเหนียว, See also: ความหนืด, หน่วยวัดความหนืด, Syn. thickness, consistency
viscousness(n) ความเหนียว, See also: ความหนืด, Syn. thickness, consistency

Hope Dictionary
viscosity(วิสคอส'ซิที) n. ความเหนียว, ความหนืด, หน่วยวัดความหนืด

Time: 0.0332 seconds, cache age: 6.095 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/