Anxiety | ความวิตกกังวล [TU Subject Heading] |
Dental anxiety | ความวิตกกังวลต่อทันตกรรม [TU Subject Heading] |
Speech anxiety | ความวิตกกังวลในการพูด [TU Subject Heading] |
Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Antianxiety | ยาระงับความวิตกกังวล [การแพทย์] |
Antianxiety Drugs | ยาที่ใช้ระงับความวิตกกังวล, ยาต้านวิตกกังวล [การแพทย์] |
Anxiety | ความกังวล, ความวิตกกังวล, กังวล, กระวนกวาย, วิตกกังวล, ความกังวลใจ [การแพทย์] |
Anxiety Disorders, Generalized | ความวิตกกังวลกระจายไปทั่ว [การแพทย์] |
Anxiety Neuroses | ความวิตกกังวล [การแพทย์] |
Anxiety, Apisodic | ความวิตกกังวลเกิดเป็นช่วงๆ [การแพทย์] |
Anxiety, Avoiding Increased Patient | หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย [การแพทย์] |
Anxiety, Characteristic | ความวิตกกังวลที่เป็นลักษณะเฉพาะ [การแพทย์] |
Anxiety, Chronic | ความวิตกกังวลเรื้อรัง [การแพทย์] |
Anxiety, Communication of | การสื่อความวิตกกังวล [การแพทย์] |
Anxiety, Episodic | ความวิตกกังวลเกิดเป็นช่วง ๆ [การแพทย์] |
Anxiety, Free-Floating | ความวิตกกังวลมีลักษณะลอยตัวเป็นอิสระ [การแพทย์] |
Anxiety, Generalized | ความวิตกกังวลที่กระจายทั่วไป [การแพทย์] |
Anxiety, Intense | ความวิตกกังวลอย่างรุนแรง [การแพทย์] |
Anxiety, Morbid | ความวิตกกังวลที่ผิดปกติ [การแพทย์] |
Anxiety, Neurotic | ความวิตกกังวลเชิงโรคประสาท [การแพทย์] |
Anxiety, Normal | ความวิตกกังวลปกติ [การแพทย์] |
Anxiety, Objective | ความวิตกกังวลเชิงวัตถุวิสัย [การแพทย์] |
Anxiety, Organic | ความวิตกกังวลจากโรคทางกาย [การแพทย์] |
Anxiety, Overwheiming | ความวิตกกังวลอย่างท่วมท้น [การแพทย์] |
Anxiety, Pathological | ความวิตกกังวลที่มีพยาธิสภาพ [การแพทย์] |
Anxiety, Patient, Avoiding Increased | หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย [การแพทย์] |
Anxiety, Persistent | ความวิตกกังวลคงอยู่นาน [การแพทย์] |
Anxiety, Rebound | ความวิตกกังวลที่สะท้อนกลับ [การแพทย์] |
Anxiety, Situational | ความวิตกกังวลแบบเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์ [การแพทย์] |
Anxiety, Trait | แนวโน้มวิตกกังวล, ความวิตกกังวลซ่อนเร้น [การแพทย์] |
Anxiolytics | ยาลดกังวล, กลุ่มยาคลายความวิตกกังวล, ยาต้านวิตกกังวล, ยาคลายกังวล, ยาระงับอาการทางประสาท, ยาคลายความวิตกกังวล [การแพทย์] |
Anxiousness, Extreme | ความวิตกกังวลเกินกว่าเหตุ [การแพทย์] |
Attitude, Over-Anxiety | ทัศนคติแบบความวิตกกังวลหวาดกลัวมากเกินกว่าเหตุ [การแพทย์] |
Child, Anxious | เด็กที่มีความวิตกกังวล [การแพทย์] |
Conversion Reaction | โรคเสแสร้งสำออย, โรคประสาทฮิสทีเรีย, กลไกทางจิตที่เปลี่ยนความวิตกกังวลเป็นอาการทางร่างกาย [การแพทย์] |
anxiety | (n) ความวิตกกังวล, See also: ความกังวล, ความวิตก, ความห่วงใย, Syn. worry, concern, uneasiness, Ant. relief |
desensitise | (vt) ทำให้ตอบสนองต่อ (บางสิ่ง เช่น ความวิตกกังวล, ความเจ็บปวด) น้อยลง, See also: บรรเทา, ทำให้แพ้น้อยลง, Syn. dull, deaden, numb, Ant. sensitize |
desensitize | (vt) ทำให้ตอบสนองต่อ (บางสิ่ง เช่น ความวิตกกังวล , ความเจ็บปวด) น้อยลง, See also: บรรเทา, ทำให้แพ้น้อยลง, Syn. dull, deaden, numb, Ant. sensitize |
flap | (n) ความตื่นเต้น (แสลง), See also: ความวิตกกังวล, ความสับสน, Syn. commotion, agitation, Ant. calmness, tranquility |
in fear and trembling | (idm) ด้วยความวิตกกังวล, See also: เพราะความกลัว |
issue | (n) ปัญหา, See also: ความวิตกกังวล, Syn. problem, worry |
midlife crisis | (n) ความวิตกกังวล, See also: ความผิดหวัง |
nerves | (n) ความเครียด, See also: ความวิตกกังวล, ความตื่นกลัว |
quell | (vt) ปลอบ (อารมณ์, ความวิตกกังวล), See also: ปลอบโยน, ทำให้สงบ, Syn. silence |
beeswax | (sl) ภาระ, See also: ความวิตกกังวล, ความห่วงใย |
heebie-jeebies | (sl) ความกลัวสุดขีด, See also: ความวิตกอย่างมาก |
heeby-jeebies | (sl) ความกลัวสุดขีด, See also: ความวิตกอย่างมาก |
willies | (sl) ความกลัว, See also: ความวิตก |
seriousness | (n) ความเคร่งขรึม, See also: ความจริงจัง, ความวิตก, Syn. earnestness, solemnity, thoughtfulness, Ant. fun, gaiety |
suspense | (n) ความวิตกกังวล, See also: ความกระวนกระวายใจ, Syn. anxiety, worry |
sweat | (n) ความวิตกกังวล, See also: ความกังวล, ความตึงเครียด, Syn. anxiety, worry, strain |
worriment | (n) ความทุกข์ (คำโบราณ), See also: ความยุ่งยาก, ความกังวลใจ, ความวิตกกังวล, Syn. anxiety |
worry | (n) ความวิตกกังวล, See also: ความวิตก, ความกังวล, ความกลุ้มใจ, ความเป็นทุกข์, Syn. anguish, anxiety, apprehension, Ant. calm, serenity, tranquillity |
worry | (n) สาเหตุของความวิตกกังวล, See also: สิ่งที่ทำให้วิตกกังวล |