คลอง | (n) canal, See also: waterway, watercourse, Syn. ลำคลอง, Example: คลองแสนแสบเดี๋ยวนี้ไม่เหมือนเมื่อก่อน, Count Unit: สาย, คลอง |
ลำคลอง | (n) canal, See also: course of a canal, Syn. คลอง, Example: อุบัติเหตุจมน้ำมักเกิดขึ้นกับผู้ซึ่งมีที่อยู่อาศัยใกล้แม่น้ำลำคลองหรือเดินทางทางเรือเป็นส่วนใหญ่ |
ปากคลอง | (n) mouth of a canal, See also: entrance to a canal, Example: หอนาฬิกาตั้งตระหง่านอยู่ปากคลองบริเวณสถานีบางกอกน้อยซึ่งเป็นเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญที่ญี่ปุ่นใช้เคลื่อนย้ายทหารและเชลยศึกไปสร้างทางรถไฟ, Count Unit: แห่ง |
ปากคลอง | (n) mouth of a canal, See also: entrance to a canal, Example: หอนาฬิกาตั้งตระหง่านอยู่ปากคลองบริเวณสถานีบางกอกน้อยซึ่งเป็นเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญที่ญี่ปุ่นใช้เคลื่อนย้ายทหารและเชลยศึกไปสร้างทางรถไฟ, Count Unit: แห่ง |
ท้องคลอง | (n) canal bed, See also: river bed, Example: ท้องคลองแห่งนี้ยังคงสงบเงียบเหมือนเดิม, Thai Definition: พื้นใต้น้ำของลำคลอง |
ฝั่งคลอง | (n) canal bank, Syn. ฝั่ง, Example: เขานั่งยองสูบยาอยู่บนฝั่งคลอง ตรงร่มเงาของต้นมะพร้าว, Count Unit: ฝั่ง, Thai Definition: ที่ดินริมน้ำเป็นขอบเขตลำคลอง |
คลองส่งน้ำ | (n) canal, See also: waterway, watercourse, Example: ก.ท.ม.จะขุดรอกคลองส่งน้ำเร็วๆ นี้, Count Unit: สาย, คลอง |
คลองเลื่อย | (n) the passage made by a saw, Thai Definition: ร่องไม้ที่เลื่อยเลื่อยเข้าไป |
น้ำนอนคลอง | (n) swelling canal water, Example: คลองใหญ่บางคลองแถวนี้ยังพอมีน้ำนอนคลองเหลืออยู่บ้าง, Thai Definition: น้ำในคลองซึ่งไหลลงไม่หมด เหลือน้ำอยู่มาก เพราะมีน้ำหนุนขึ้นมา |
คลองระบายน้ำ | (n) water-distribution canal, Example: การระบายน้ำบนผิวดินสามารถทำได้ โดยการระบายน้ำด้วยคลองระบายน้ำ เพื่อนำน้ำออกไปจากพื้นที่โดยตรง, Thai Definition: คลองที่ถ่ายเทน้ำจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เพื่อมิให้มีปริมาณน้ำมากเกินไป |
แม่น้ำลำคลอง | (n) river, Syn. น้ำ, แม่น้ำลำคลอง, Count Unit: สาย |
ทำนองคลองธรรม | (n) ethics, See also: moral, righteousness, path of justice, moral behavior, Syn. แบบ, แบบอย่าง, ทาง, Example: คนที่ประพฤติผิดทำนองคลองธรรม จะได้รับการติเตียน |
ถอยหลังเข้าคลอง | (v) be retrogressive, See also: move backwards, be decadent, turn back the wheel of, Syn. ตกต่ำ, หวนกลับ, เสื่อมลง, Example: หากเรายังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเหล่านี้ก็จะทำให้ประเทศถอยหลังเข้าคลอง, Thai Definition: หวนกลับไปหาแบบเดิม |
คลอง | (คฺลอง) น. ทางนํ้าหรือลำนํ้าที่เกิดขึ้นเองหรือขุดเชื่อมกับแม่นํ้าหรือทะเล |
คลอง | ทาง, แนว, เช่น คลองธรรม. |
คลองเลื่อย | น. ร่องไม้ที่เลื่อยเลื่อยเข้าไป, แนวฟันของเลื่อย. |
คลองส่งน้ำ | น. ลำนํ้าที่ขุดขึ้นเพื่อใช้ในการชลประทาน. |
คัดคลองเลื่อย | ก. ดัดฟันเลื่อยให้เบนออกจากแนว โดยดัดฟันหนึ่งเว้นฟันหนึ่งจนตลอดทั้งตัวเลื่อยแล้วจึงดัดฟันที่เว้นไว้ให้เบนออกทางด้านตรงข้ามกับฟันที่ได้ดัดไว้แล้ว. |
จระเข้ขวางคลอง ๑ | น. ผู้ที่ชอบกันท่าหรือขัดขวางไม่ให้ผู้อื่นทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้สะดวก เหมือนจระเข้ที่ขึ้นมาขวางคลองทำให้เรือผ่านไปมาไม่สะดวก. |
จระเข้ขวางคลอง ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
จระเข้ขวางคลอง ๒ | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. |
จระเข้คับคลอง | น. ผู้ที่ชอบวางตัวใหญ่โตเกินไปย่อมมีอุปสรรคในการดำรงตนในสังคม. |
ถอยหลังเข้าคลอง | ก. หวนกลับไปหาแบบเดิม. |
ถอยหลังเข้าคลอง | น. ชื่อกลอักษร |
ถอยหลังเข้าคลอง | ชื่อเพลงไทยอัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ |
ถอยหลังเข้าคลอง | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. |
น้ำนอนคลอง | น. นํ้าในคลองซึ่งไหลลงไม่หมด เหลือนํ้าอยู่ติดก้นคลองเป็นห้วง ๆ. |
เรือใหญ่คับคลอง | น. คนที่เคยรุ่งเรืองหรือเป็นใหญ่เป็นโต เมื่อตกตํ่าลงก็วางตัวอย่างคนสามัญไม่ได้. |
หัวคลองท้ายคลอง | ว. ทั่วทั้งคลอง. |
ก้น | ส่วนล่างของภาชนะ เช่น ก้นหม้อ, ส่วนสุดของห้วงหรือแอ่ง เช่น ก้นบ่อ ก้นเหว ก้นคลอง, ตรงข้ามกับ ปาก |
กบ ๔ | น. เครื่องมือช่างไม้สำหรับไสไม้ ขูดปอกหน้าไม้เพื่อลบคลองเลื่อยให้เรียบ ให้เป็นราง หรือลอกบัว มีมากชนิดด้วยกัน เช่น กบกระดี่ กบบังใบ กบบัว |
กรด ๓ | (กฺรด) น. ชื่อไม้เถาชนิด Combretum tetralophum C. B. Clarke ในวงศ์ Combretaceae มักขึ้นในที่นํ้าท่วม เช่น ตามฝั่งนํ้าลำคลอง ใบโดยมากออกรอบข้อ ๒ หรือ ๓ ใบ ใบอ่อนสีม่วงดำ เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเขียว ผลมีสันแข็งเป็น ๔ ครีบ, เถาวัลย์กรด ก็เรียก |
กรวย ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. ในวงศ์ Myristicaceae ขึ้นตามฝั่งนํ้าลำคลอง ใบเป็นมันคล้ายใบจำปี แต่เรียวและนิ่มกว่า ดอกสีเหลือง ผลกลมเป็นพวงคล้ายมะไฟ, กรวยบ้าน ก็เรียก. |
กระไดลิง ๒ | น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Bauhinia scandens L. var. horsfieldii (Miq.) K. Larson et S.S. Larsen ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้นทั่วไป และตามริมแม่นํ้าลำคลอง เถาแบนยาว งอกลับไปกลับมาคล้ายขั้นบันได ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง เปลือกเหนียวใช้แทนเชือก เถาใช้ทำยาได้, กระไดวอก มะลืมดำ บันไดลิง หรือ ลางลิง ก็เรียก. |
กระทิง ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Mastacembelus วงศ์ Mastacembelidae ลำตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย ปลายจะงอยปากบนเรียวแหลมคล้ายปลาหลด แต่มีครีบหลังและครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหาง สีสดสวยกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า อาศัยอยู่ในแม่นํ้าลำคลองและที่ลุ่ม ที่พบทั่วไปในประเทศไทย เช่น ชนิด M. armatus (Lacepéde), M. favus Hora, และกระทิงไฟ ( M. erythrotaeniaBleeker) ซึ่งมีขนาดยาวได้ถึง ๘๐ เซนติเมตร. |
กระทุง | น. ชื่อนกนํ้าขนาดใหญ่ชนิด Pelecanus philip-pensis Gmelin ในวงศ์ Pelecanidae ตัวขนาดห่าน ขนสีขาวหรือสีเทา ปากยาวใหญ่ ระหว่างขากรรไกรล่างมีลักษณะเป็นถุงขนาดใหญ่สำหรับจับปลาทีละมาก ๆ อาศัยอยู่ตามแม่นํ้าลำคลองและชายทะเล. |
กระสา ๓ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Broussonetia papyrifera (L.) Vent. ในวงศ์ Moraceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ตามริมแม่นํ้าลำคลอง ใบใหญ่เท่าฝ่ามือหรือกว่านั้นบ้าง รูปไข่ปลายแหลม ขอบใบเป็นจัก ๆ หรือเว้าเป็น ๓ แฉก มีขนทั้ง ๒ ด้าน เปลือกใช้ทำกระดาษได้ เรียก กระดาษสา, พายัพเรียก สา. |
กราด ๓ | (กฺราด) น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง ใช้ประกอบกับเรือ, บางถิ่นเรียกว่า กรีด หรือ เรือกรีด, เวลาจับสัตว์นํ้าใช้แจวไปตามฝั่งคลองหรือแม่นํ้า โดยให้ไม้สำหรับกรีดนั้นระไปในนํ้า. |
กลัด | (กฺลัด) น. สวะที่ติดขวางคลองแน่นอยู่. |
กลั้วเกลี้ย | ว. มีเล็กน้อย, พอมีอยู่บ้าง, จวนหมด, เช่น นํ้ากลั้วเกลี้ยคลอง แกงมีนํ้ากลั้วเกลี้ย |
กะวะ ๑ | น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง สำหรับใช้ไสรุนกุ้งรุนเคยตามชายฝั่งแม่นํ้า ลำคลอง หรือทะเล รูปคล้ายสวิง มีถุงตาข่ายอย่างละเอียด. |
กุระ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Shirakiopsis indica (Willd.) Esser ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นตามที่ลุ่มนํ้าขังและริมคลองนํ้ากร่อย ทุกส่วนมียางขาว ผลกลม แก่จัดแยกออกเป็น ๓ ซีก, สมอทะเล ก็เรียก. |
ขอด ๒ | ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่ออกมาด้วยอาการอย่างขูด เช่น ขอดเกล็ดปลา, เหลืออยู่น้อยจนถึงกับต้องขูดเอา เช่น น้ำขอดคลอง น้ำขอดโอ่ง ข้าวขอดหม้อ. |
ข่อย | น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลางชนิด Streblus asper Lour. ในวงศ์ Moraceae มักขึ้นตามป่าตํ่าและริมแม่นํ้าลำคลอง ใบเล็ก สากคาย ใช้ขัดถูได้ เปลือกใช้ทำกระดาษ เรียกว่า กระดาษข่อย ใบ เปลือก เนื้อไม้ และเมล็ดใช้ทำยาได้. |
เขิน ๒ | ว. ตื้นสูงเป็นเนินขึ้นมา (ใช้แก่พื้นที่ในแม่นํ้า ลำคลอง หนอง บึง เป็นต้น), มักใช้ว่า ตื้นเขิน เช่น แม่นํ้าตื้นเขิน |
คร่อม | (คฺร่อม) ก. ยืนหรือนั่งแยกขาให้ของอยู่ใต้หว่างขา, ยงโย่ให้ของอยู่ใต้ตัว เช่น เอาตัวคร่อมไว้ นอนคร่อม, เอาสิ่งของเช่นโต๊ะเก้าอี้ตั้งในอาการเช่นนั้น เช่น วางโต๊ะคร่อมกองหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลูกเรือนคร่อมตอ สร้างสะพานคร่อมคลอง นั่งคร่อม ๒ ตำแหน่ง. |
คลื่น | (คฺลื่น) น. นํ้าในทะเลหรือแม่นํ้าลำคลองเป็นต้น ซึ่งบางส่วนมีอาการเคลื่อนไหวนูนสูงกว่าระดับโดยปรกติแล้วลดลงและแลเห็นเคลื่อนไปเป็นระยะยาวหรือสั้นบนผิวนํ้า, โดยปริยายใช้แก่สิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลื่นเสียง คลื่นมนุษย์ ผมดัดเป็นคลื่น ถนนเป็นคลื่น. |
คัดชุน | น. เครื่องมือคัดคลองเลื่อย. |
คับ | ก. มีลักษณะหรือปริมาณเกินพอดี เช่น จระเข้คับคลอง ลิ้นคับปาก ฝูงคนคับถนน เสียงคับบ้าน ข้าวคับหม้อ. |
แง้ม | น. ริม, ข้าง, เช่น ปากคลองบางกอกน้อยแง้มขวา. |
จุกช่อง | ก. อารักขาพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมวงศ์ที่สำคัญ ตามช่องทางเสด็จพระราชดำเนินเมื่อเสด็จไปนอกพระราชวัง โดยจัดเจ้าหน้าที่ให้รักษาการณ์อยู่ตามช่องทาง เช่น ตรอก ซอย ปากคลอง. |
ชรแร่ง | (ชะระ-) ก. แบ่ง, แยก, เช่น ฟ้าชรแร่งหกคลอง ช่วยดู (แช่งนํ้า). |
ชลาลัย | น. น้ำ, ห้วงน้ำ, เช่น ปางเสด็จประเวศด้าว ชลาลัย (กาพย์เห่เรือ), น้ำใจนางเปรียบอย่างชลาลัย ไม่เลือกไหลห้วยหนองคลองละหาน (กากี). |
ซอย ๒ | ลักษณนามเรียกถนนหรือทางที่แยกจากถนนใหญ่ เช่น ถนนสายนี้มีหลายซอย. ว. เรียกทางย่อยหรือทางแยกจากทางใหญ่ เช่น ถนนซอย คลองซอย. |
ด้วน | ว. เรียกสิ่งที่มีรูปยาว ๆ ที่ตอนปลายขาดหายไป เช่น แขนด้วน ขาด้วน เจดีย์ยอดด้วน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลองด้วน แม่นํ้าด้วน. |
ตลิ่ง | (ตะหฺลิ่ง) น. ส่วนของฝั่งริมแม่นํ้าลำคลอง. |
ตะพาน | น. สิ่งที่สร้างหรือทำขึ้นสำหรับข้ามแม่นํ้าลำคลองเป็นต้น, สิ่งที่สร้างหรือทำยื่นลงไปในนํ้าสำหรับขึ้นลง, สะพาน ก็ว่า. |
ตั้ง | ทรง, ดำรง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม |
ตื้น | ว. ตํ่าลงไปจากขอบน้อยกว่าปรกติ เช่น ชามก้นตื้น, หยั่งลงไปได้ไม่ไกลจากผิวหน้าหรือขอบบน เช่น นํ้าตื้น คลองตื้น, เข้าไปไม่ไกลจากขอบเป็นต้น เช่น ตรอกตื้น |
เต่าหวาย | น. ชื่อเต่านํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Heosemys grandis (Gray) ในวงศ์ Emydidae หัวสีน้ำตาลมีลายจุดสีส้ม กระดองสีนํ้าตาลแดงอาศัยอยู่บนบกใกล้บึงและแม่นํ้าลำคลอง ผสมพันธุ์ในน้ำ ปัจจุบันพบน้อยในถิ่นธรรมชาติ. |
ท่า ๑ | เรียกนํ้าในแม่นํ้าลำคลอง ว่า นํ้าท่า, คู่กับ นํ้าฝน. |
ทำนอง | น. ทาง, แบบ, แบบอย่าง, เช่น ทำนองคลองธรรม ทำนองเดียวกัน |
ที่ดิน | พื้นที่ดินทั่วไป และหมายความรวมถึง ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำนํ้า ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลด้วย. |
Dental pulp cavity | คลองรากฟัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
pollution | มลพิษ, มลภาวะ, มลพิษ - พิษเกิดจากความมัวหมองหรือความสกปรก <p>มลภาวะ - ความมัวหมอง หรือความสกปรก ไม่แสดงว่ามีพิษ เป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดความเสียหาย น้ำตามลำคลองหรืออากาศโดยทั่ว ๆ ไปก็สกปรกแต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสียหาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Canals | คลอง [TU Subject Heading] |
Canals, Interoceanic | คลองเชื่อมมหาสมุทร [TU Subject Heading] |
Dental pulp cavity | คลองรากฟัน [TU Subject Heading] |
Ditches | คลองส่งน้ำ [TU Subject Heading] |
Endodontics | ศาสตร์คลองรากฟัน [TU Subject Heading] |
Irrigation canals and flumes | คลองชลประทานและสะพานน้ำ [TU Subject Heading] |
Panama Canal (Panama) | คลองปานามา (ปานามา) [TU Subject Heading] |
Root canal filling materials | วัสดุอุดคลองรากฟัน [TU Subject Heading] |
Root canal irrigants | น้ำยาล้างคลองรากฟัน [TU Subject Heading] |
Root canal preparation | การจัดเตรียมคลองรากฟัน [TU Subject Heading] |
Root canal therapy | การรักษาคลองรากฟัน [TU Subject Heading] |
Suez Canal (Egypt) | คลองสุเอซ (อียิปต์) [TU Subject Heading] |
Syzygium syzygioides | แดงคลอง [TU Subject Heading] |
Oxidation Ditch | คูวนเวียน, คลองวนเวียน, Example: ระบบเอเอสที่ถังเติมอากาศมีลักษณะเป็นวงรี มีเกาะกั้นกลางน้ำที่ถูกบำบัด ไหลเวียนวนอยู่ในถัง ใช้เครื่องเติมอากาศแบบแปรง [สิ่งแวดล้อม] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Ancillary Canals | คลองรากฝอย [การแพทย์] |
Barbed Broached | เครื่องมือขยายคลองรากฟัน [การแพทย์] |
right of way | right of way, เขตคู, เขตคลอง หรือ เขตถนน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
canal | canal, คลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
feeder canal | feeder canal, คลองชักน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
irrigation canal | irrigation canal, คลองชลประทาน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
lateral | lateral, คลองซอย [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
lateral canal | lateral canal, คลองซอย [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
secondary canal | secondary canal, คลองซอย [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
lined canal | lined canal, คลองดาด [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
earth canal | earth canal, คลองดิน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
branch canal | branch canal, คลองแยก [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
sub-lateral | sub-lateral, คลองแยกซอย [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
inundation canal | inundation canal, คลองรับน้ำนอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
cutoff | cutoff, คลองลัด, ลำน้ำลัด [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
main canal | main canal, คลองส่งน้ำสายใหญ่, คลองส่งน้ำสายหลัก [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
primary canal | primary canal, คลองส่งน้ำสายใหญ่, คลองส่งน้ำสายหลัก [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
right main cannel | right main cannel, คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
left main canal | left main canal, คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งซ้าย [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
bed width | bed width, ความกว้างท้องคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
bed level | bed level, ระดับท้องคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
overchute | overchute, รางน้ำข้ามคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
bed slope | bed slope, ลาดท้องคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
tail regulator | tail regulator, อาคารบังคับน้ำปลายคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
head regulator | head regulator, อาคารบังคับน้ำปากคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
offtake regulator | offtake regulator, อาคารบังคับน้ำปากคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
offtake structure | offtake structure, อาคารบังคับน้ำปากคลอง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
diversion dam | เขื่อนทดน้ำ, สิ่งก่อสร้างขวางแม่น้ำหรือทางน้ำเพื่อกักน้ำให้มีระดับสูงต่ำตามความต้องการที่จะส่งน้ำลงสู่คลองส่งน้ำไปยังทุ่งนา สิ่งก่อสร้างนี้มีประตูปิดเปิดให้น้ำไหลผ่านไปตามแม่น้ำหรือทางน้ำสายเดิมได้ เช่น เขื่อนเจ้าพระยา จังหวัดชัยนาท เขื่อนวชิราลงกรณ์ จังหวัดกาญจบุรี เ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
diversion irrigation | การทดและส่งน้ำ, การจัดสรรน้ำจากแหล่งกักเก็บน้ำเข้าสู่นา ไร่ ทางคลองส่งน้ำ เพื่อใช้ในการเพาะปลูก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
irrigation | การชลประทาน, การพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตร เช่น การสร้างเขื่อนฝาย คูคลองส่งน้ำ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Inguinal Canal | คลองขาหนีบ, ช่องขาหนีบ, ทางผ่านตามแนวขาหนีบ, ช่องบริเวณขาหนีบ [การแพทย์] |
Inguinal Canal Region | บริเวณคลองขาหนีบ [การแพทย์] |
เขตคลองสามวา | [Khēt Khløng Sām Wā] (n, prop) EN: Khlong Sam Wa district |
เขตคลองสาน | [Khēt Khløng Sān] (n, prop) EN: Khlong San district |
เขตคลองเตย | [Khēt Khløng Toēi] (n, prop) EN: Khlong Toei district |
คลอง | [khløng] (n) EN: canal ; waterway; watercourse ; khlong FR: canal [ m ] ; klong = khlong [ m ] ; bras (d'un ncours d'eau) [ m ] |
คลองช่องนนทรีย์ | [Khløng Chøngnonthrī] (n, prop) EN: khlong Chongnonthee |
คลองชลประทาน | [khløng chonlaprathān = khløng chonprathān] (n, exp) EN: irrigation canal FR: canal d'irrigation [ m ] |
คลองมหาสวัสดิ์ | [Khløng Mahā Sawat] (n, exp) EN: Maha Sawat canal |
คลองแสนแสบ | [Khløng Saēn Saēp] (n, prop) EN: Khlong Saen Saeb ; Saen Saeb |
คลองเตย | [Khløng Toēi] (n, prop) EN: khlong Thoei ; Khlong Toei FR: klong Thoei |
ลำคลอง | [lamkhløng] (n) EN: canal ; course of a canal |
แม่น้ำลำคลอง | [maēnām lamkhløng] (n, exp) EN: river |
เรือนจำกลางคลองเปรม | [Reūoenjam Klāng Khløng Prēm] (n, prop) EN: Klong Prem Central prison |
ริมคลอง | [rim khløng] (x) EN: waterside FR: au bord du canal |
ตลาดคลองถม | [Talāt Khløng Thom] (n, prop) EN: Klong Thom Market ; Khlong Thom Market |
ทำนองคลองธรรม | [thamnøng khløng tham] (n, exp) EN: ethics ; moral ; righteousness ; path of justice ; moral behavior ; path of justice |
ถอยหลังเข้าคลอง | [thøilangkhaokhløng] (adj) EN: reactionary ; retrograde ; retrogressive FR: rétrograde ; réactionnaire |
canal | (n) คลอง |
canal boat | (n) เรือที่มีลักษณะแคบและยาวใช้แล่นในคลอง, Syn. barge |
creek | (n) คลองเล็ก, See also: ลำธาร, Syn. stream, spring |
decency | (n) ความประพฤติที่ถูกทำนองคลองธรรม, See also: ความเหมาะสม, มารยาท, ความสุภาพ, Syn. decorum, propriety |
decently | (adv) อย่างเหมาะสม, See also: อย่างสมควร, อย่างถูกทำนองคลองธรรม, Syn. proprely, seemly |
dredge | (n) เครื่องจักรขุดลอกแม่น้ำหรือลำคลอง |
embank | (vt) สร้างเขื่อนไปตามถนน, คลองหรืออาณาบริเวณอื่น, See also: สร้างทำนบรอบถนน, คลองหรืออาณาบริเวณอื่น, Syn. dam |
go astray | (phrv) ดำรงชีวิตอย่างผิดทำนองคลองธรรม, See also: ไม่ถูกต้อง, Syn. lead astray |
gondola | (n) เรือกอนโดลา, See also: เรือพายที่ใช้แจวในคลองเมืองเวนิส |
hanky-panky | (n) ความประพฤติที่ไม่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, See also: นิสัยที่ไม่ดี, Syn. mischief, monkey business, trick |
immoral | (adj) ซึ่งผิดทำนองคลองธรรม, See also: ผิดศีลธรรม, ผิดศีล, ซึ่งไม่เหมาะสม, ซึ่งไม่ซื่อสัตย์, ซึ่งขัดกับหลักคำสอน, Syn. sinful, unethical, wicked, Ant. moral, pious, pure |
immorality | (n) การผิดศีลธรรม, See also: การผิดทำนองคลองธรรม, Syn. sin, vice, wickedness, Ant. morality |
keep on the straight and narrow path | (idm) ประพฤติอย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม |
legitimate | (adj) ตามหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่ตั้งไว้, See also: ตามทำนองคลองธรรม, Syn. sanctioned |
morally | (adv) อย่างถูกทำนองคลองธรรม, See also: อย่างดีงาม, อย่างมีศีลธรรม, อย่างถูกศีลธรรม, Syn. honestly, honorably, uprightly, Ant. wrongly, dishonorably |
narrowboat | (n) เรือยาวและแคบใช้แม่น้ำลำคลอง, Syn. canalboat |
Panama Canal | (n) คลองปานามา (เชื่อมมหาสมุทรแอตแลนติกกับแปซิฟิก) |
retrogression | (n) การถอยหลัง, See also: การเสื่อมทราม, การถอยหลังเข้าคลอง, Syn. regression, relapse |
riverside | (n) ริมแม่น้ำ, See also: ริมตลิ่ง, ริมคลอง, Syn. riverbank, shore |
seaway | (n) ร่องน้ำลึกสำหรับเรือเดินสมุทร, See also: คลองน้ำลึกหรือแม่น้ำลึกสำหรับเรือเดินสมุทร, Syn. waterway |
sluice | (n) ประตูน้ำปิดเปิดบังคับการไหลของน้ำในคลอง, See also: ประตูระบายน้ำ, Syn. conduit, floodgate, watergate |
Suez | (n) คลองสุเอซ |
unjust | (adj) ไม่ซื่อสัตย์, See also: ผิดศีลธรรม, ผิดทำนองคลองธรรม, Syn. dishonest, Ant. honest |
waterway | (n) ทางน้ำ เช่น แม่น้ำ คลอง, See also: ลำน้ำที่สัญจรทางเรือได้ |
affair | (อะแฟรฺ') n. ธุรกิจ, เรื่อง, ราชการ, เหตุการณ์, เรื่องรัก ใคร่, เรื่องส่วนตัว, เรื่องรักที่ไม่ถูกทำนองคลองธรรม, งานชุมนุม, Syn. event, incident, party, liaison, romance |
backwater | (แบค'วอเทอะ) n. น้ำไหลกลับ, กระแสที่ไหลกลับ, ห้วย, หนอง, ลำคลองที่ติดกับแม่น้ำสายใหญ่ |
bund | n. ทางริมแม่น้ำลำคลอง |
canal | (คะแนล') { canalled, canalling, canals } n. คลอง, ช่องทาง, ทางน้ำ, คู, หลอด, ท่อ, ช่อง. vt. ทำทางน้ำผ่าน |
canaller | n. เรือบรรทุกที่ใช้แล่นบนคลอง |
creek | (ครีค) n. ลำคลอง, ลำธาร, อ่าวเล็ก ๆ , ทางแคบระหว่างช่องเขา -Phr. (up the creek อยู่ในภาวะที่ลำบาก), Syn. streamlet, stream |
crick | (คริค) n. อาการกล้ามเนื้อเกร็งและปวด, โดยเฉพาะที่คอและหลัง) , ลำธาร, ลำคลอง vt. บิด, Syn. spasm |
duct | (ดัคทฺ) n. ท่อ, หลอด, ทางไหล, โพรง, คู, อกคลอง, ท่อสายเคเบิล, Syn. tube, passage |
due | (ดิว) adj. เหมาะสม, สมควร, พอเพียง, พอควร, ครบกำหนด, ถึงกำหนด, ถูกต้อง, ถูกทำนองคลองธรรม, ตรง, หลีกเลี่ยงไม่ได้. n. สิทธิที่ควรได้รับ, หนี้, เงินที่พึงชำระ, ค่าธรรมเนียม, ความยุติธรรม. -adv. โดยตรง, แน่นอน. -Phr. (due to เนื่องจาก, เนื่องด้วย, เพราะ) ., See also: d |
gondola | (กอน'ดาละ) n. เรือแจวโดยสารท้องแบนลำตัวยาวในลำคลองกรุงเวนิส |
graceless | (เกรส'ลิส) adj. ขาดความงดงาม, ไม่รู้ทำนองคลองธรรม. |
illegitimate | (อิลลิจิท'ทิเมท) adj. ผิดกฎหมาย, (ลูก) นอกกฎหมาย, ผิดปกติ, ผิดทำนองคลองธรรม, ผิดหลักการ. vt. ทำให้ผิดกฎหมาย. n. ลูกนอกกฎหมาย, บุคคลนอกกฎหมาย., See also: illegitimateness n. illegitimation n., Syn. unlawful, bastard, illogical |
immoral | (อิมอ'เริล) adj. ผิดศีลธรรม, ผิดทำนองคลองธรรม, เลว, ชั่ว. |
immorality | (อิมอแรล'ลิที) n. การผิดศีลธรรม, การผิดทำนองคลองธรรม, Syn. dishonesty |
kerf | (เคิร์ฟ) n. รอยตัด, รอยผ่า, คลองเลื่อยความกว้างของรอยตัดหรือรอยผ่า.n. ตัด, ผ่า, เลื่อย |
legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี |
legitimate | (ลิจิท'ทะเมท) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ถูกต้องสมควร, มีสิทธิตามกฎหมาย, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี, โดยการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย vt.ทำให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย, ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย, มอบอำนาจ., See also: legitimateness n. ดูlegitimate legitimation n. ดูlegimate, Syn. lawful, legal, licit |
navigator | (แนฟ'วิเกเทอะ) n. ผู้เชี่ยวชาญการเดินหรือขับเครื่องบิน, ผู้สำรวจทะเล, คนขุดดินสร้างถนน หนทาง หรือคลอง, กรรมกร |
panama canal | n. คลองปานามา |
perverse | (เพอเวิร์ซฺ') adj. ตรงกันข้าม, ผิดเหตุผล, ออกนอกลู่นอกทาง, ผิดปกติ, ประหลาด, วิปลาส, วิปริต, ชั่ว, ไม่ถูกต้อง, ไม่ถูกทำนองคลองธรรม, ดื้อรั้น, หัวแข็ง., See also: perverseness n., Syn. contrary, obstinate, abnormal, wicked, corrupt |
regress | (รี'เกรส) n. การถอยหลัง, การถอยกลับ, การถอยหลังเข้าคลอง, การเสื่อมถอย vi. (รีเกรส') ถอยหลัง, ถอยกลับ, เสื่อมถอย, หวนกลับสู่ภาวะเดิม, See also: regression n. regressor n. |
respectability | (รีสเพค'ทะบิล'ลิที) n. ความน่านับถือ, ความน่าเคารพ, ความน่ายำเกรง, ความมีหน้ามีตา, บุคคลที่มีหน้ามีตา, ความสูงต่ำ, ความเหมาะสม, ความถูกต้องสมควร, See also: respectabilities n. สิ่งที่ถูกต้องสมควร, สิ่งที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม |
respectable | (รีสเพค'ทะเบิล) adj. น่านับถือ, น่าเคารพ, น่ายำเกรง, มีหน้ามีตา, สูงส่ง, สมควร, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, มีศักดิ์ศรี, มากมาย, See also: respectableness n. respectably adv., Syn. admirable, proper, appreciable |
riparian | (รีแพ'เรียน) adj. เกี่ยวกับการอาศัยอยู่บนฝั่งแม่น้ำหรือลำคลอง |
suez | (ซูเอซ') n. เมืองท่าในอียิปต์ ใกล้ปลาย คลองสุเอซด้านใต้, |
trunk | (ทรังคฺ) n. ลำต้น, ลำตัว, หีบขนาดใหญ่, งวงช้าง, สายโทรศัพท์, สายใหญ่, เส้นทาง (รถไฟ, ถนน, คลอง) , กระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่, รางล้างแร่, ทางอุโมงค์ adj. เกี่ยวกับลำต้น, เกี่ยวกับลำตัว, Syn. body, torso |